Our community 21

Page 1


สานสัมพันธ์ด้วยรัก พัฒนาชุมชนด้วยใจ จุลสารฉบับนี้ขอต้อนรับทุกท่านด้วยรอยยิ้มและความอบอุ่นจากกิจกรรมดีๆ ที่ เครือไทยออยล์ให้ความสำ�คัญและดำ�เนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ มุง่ ส่งเสริมให้พนี่ อ้ งชุมชน รอบโรงกลั่นมีความเป็นอยู่และมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างแท้จริง สำ�หรับเนื้อหาสาระภายในฉบับนี้ เริ่มต้นจาก เรื่องจากปก นำ�เสนอเกี่ยวกับโครงการ สร้างบ่อเก็บน้�ำ ประปาให้โรงเรียนวัดแหลมฉบัง ซึง่ เครือไทยออยล์รว่ มกับคูค่ า้ ได้แก่ บริษทั แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้�ำ ภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) พร้อมด้วยพนักงานจิตอาสา ครู นักเรียนโรงเรียนวัดแหลมฉบังและพี่น้องชุมชนใน พื้นที่ เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตด้านสาธารณสุขให้ดีข้ึน โดยเฉพาะน้องๆ นักเรียนได้มี น้�ำ สะอาดไว้ใช้ มาต่อกันด้วยคอลัมน์ CSR โฟกัส ตามไปดูงานกับชาวคณะ อสม. ทีโ่ รงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภูเบศร และหมู่บ้านดงบัง สร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทย และอิ่มบุญกันต่อ ด้วยการไปกราบบูชาพระพิฆเนศทีอ่ ทุ ยานพระพิฆเนศ และหลวงพ่อปากแดงทีว่ ดั พราหมณี เรียกได้ว่าได้รับทั้งความรู้และความอิ่มเอมใจ มุ่งมั่นสามัคคีเพื่อนำ�ความรู้มาพัฒนาชุมชน ของเราให้เข้มแข็ง ตามติดข่าวสุขภาพในคอลัมน์ สกู๊ปพิเศษ นำ�เสนอกิจกรรมที่เครือไทยออยล์ร่วมกับ โรงพยาบาลศิรริ าช โรงพยาบาลแหลมฉบัง และเทศบาลนครแหลมฉบัง ร่วมวิจยั โรคเลือดจาง ธาลัสซีเมีย และตรวจคัดกรองโรคเพือ่ เก็บฐานข้อมูลไว้เป็นการป้องกันและควบคุมโรคเลือดจาง ธาลัสซีเมียให้กับพี่น้องในชุมชนต่อไป

สารบัญ 3 เรื่องจากปก 5 ตามรอยพ่อ 6 สกู๊ปพิเศษ 8 รอบรั้วไทยออยล์ 11 บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ 12 เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ AEC 14 เรียนภาษาอังกฤษกับครูแนน 15 ก้าวทันโลก 16 เคล็ดลับสุขภาพ 18 ปลอดภัยใกล้ตัว 19 CSR โฟกัส 22 ปราชญ์ชุมชน 24 ของดีบ้านเรา 26 รักษ์สิ่งแวดล้อม 28 เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน 30 ธรรมะ 31 ลับสมองลองเล่นเกม

สุดท้ายแต่ไม่ท้ายสุดนี้ ทีมงานวารสารชุมชนของเรา ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ติดตาม และเป็นกำ�ลังใจให้เสมอมา ทีมงานขอสัญญาว่าจะมุง่ มัน่ คัดสรรเรือ่ งราวและสาระดีๆ มาฝาก พ่อแม่พี่น้องให้ได้รับข่าวสารข้อมูลและความเคลื่อนไหวของกิจกรรมต่างๆ กันแบบเต็มอิ่ม อีกแน่นอน... และพบกันใหม่ในฉบับหน้านะคะ กองบรรณาธิการ จุลสารชุมชนของเรา เจ้าของ : บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) จัดทำ�โดย : แผนกบริหารงานชุมชน และ แผนกกิจการเพื่อสังคมและภาพลักษณ์องค์กร สำ�นักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 000, 0 2797 2999 โทรสาร 0 2797 2974 โรงกลั่น : เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตำ�บลทุ่งสุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : 0 3840 8500, 0 3835 9000 โทรสาร 0 3835 1554, 0 3835 1444 ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน : เลขที่ 163/84 หมู่ที่ 7 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตำ�บลทุ่งสุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3835 5028-31

2 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556


ไทยออยล์จับมือคู่ค้าธุรกิจและชุมชน

เรื่องจากปก

โดย กองบรรณาธิการ

สร้างบ่อเก็บนํ้าประปาให้โรงเรียนวัดแหลมฉบัง "ซีเอสอาร์" หรือการดำ�เนินกิจการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม ถือเป็นกระแสความใส่ใจ ในการดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืนทีอ่ งค์กรส่วนใหญ่ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมาก สำ�หรับเครือไทยออยล์ เราได้พฒ ั นาเริม่ จากภายในองค์กรสร้างการมีสว่ นร่วมของพนักงานจิตอาสาและดำ�เนินโครงการ และกิจกรรมทัง้ ในองค์กร ชุมชนรอบๆ โรงกลัน่ จนถึงการทำ�โครงการระดับประเทศ เพือ่ เชือ่ มโยง เป้าหมายทางธุรกิจ การดูแลสิง่ แวดล้อม และการพัฒนาสังคมด้วยความสมดุลและยัง่ ยืน...

โครงการหนึง่ ซึง่ สะท้อนให้เห็นความมุง่ มัน่ คือการเข้าร่วม “โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้มคี วามรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมี ส่วนร่วม หรือ CSR-DIW” ของสำ�นักงานส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มาตัง้ แต่ปี 2551 ในปีนี้ ทางบริษัทฯ ได้เข้าโครงการ CSR-DIW Advance ระดับ 5 เพื่อร่วมพัฒนา สังคมให้ดียิ่งขึ้น โดยร่วมมือกับคู่ค้าทางธุรกิจ คือ บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำ�กัด และ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) พร้อมด้วยชุมชนในพืน้ ที่ จัดสร้างบ่อ เก็บนํ้าประปาขนาด 13 ลูกบาศก์ เมตร ให้กับโรงเรียนวัดแหลมฉบัง ซึง่ เป็นไปตามเจตนารมณ์ทตี่ อ้ งการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ โดยเฉพาะเด็กรอบๆ ชุมชนทีม่ คี วาม เป็นอยูอ่ ย่างยากลำ�บากให้มชี วี ติ ทีด่ ี ยิง่ ขึน้ จากความมุ่งมั่นในการดำ�เนินโครงการมาอย่างต่อเนือ่ งนัน้ ส่งผลให้ เครือไทยออยล์ได้รบั รางวัลโครงการส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรม ทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคมให้ยกระดับสูว่ ฒ ั นธรรม และ เครือข่ายสีเขียวอย่างยัง่ ยืนและต่อเนือ่ งจากกระทรวง อุตสาหกรรม ถึง 2 รางวัล คือรางวัล CSR-DIW ใน ฐานะองค์กรทีส่ ามารถปฏิบตั ติ ามเกณฑ์มาตรฐาน อย่างต่อเนือ่ ง และรางวัล CSR-DIW Advance 5

หรือ CSR-DIW in Supply Chain สร้างความ ภาคภูมใิ จให้แก่บริษทั ฯ เป็นอย่างยิง่ ทีส่ �ำ คัญโครงการนี้ ได้สะท้อนให้เห็นถึงการอยูร่ ว่ มกันอย่างยัง่ ยืนระหว่าง บริษัทฯ คู่ค้าและชุมชน

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 3


คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผูจ้ ดั การ แผนกบริหารงานชุมชน ซึง่ เป็นหัวเรือใหญ่ กล่าวถึงโครงการนีว้ า่ “ทางแผนกบริหารงาน ชุมชนได้ลงพืน้ ทีส่ �ำ รวจปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมของชุมชน พบว่า โรงเรี ย นวั ด แหลมฉบั ง ประสบปั ญ หา ด้ า นสาธารณสุ ข พื้ น ฐาน คื อ นํ้ า ประปาไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการใช้ ทำ � ให้ ค รู แ ละนั ก เรี ย นกว่ า 400 คน เดือดร้อนเป็นอย่างมาก ในครั้งนี้นอกจากการก่อสร้าง บ่อเก็บนาํ้ ประปาขนาด 13 ลูกบาศก์เมตรแล้ว ยังได้ตดิ ตัง้ เครื่องปั๊มนํ้าและอุปกรณ์ด้วย” ขณะที่ผู้อำ�นวยการโรงเรียน วัดแหลมฉบัง คุณวีรภัทร สงวนทรัพย์ กล่าวเสริมว่า “โรงเรียนแห่งนีต้ ง้ั อยู่ ในเขตพืน้ ทีเ่ วนคืนทีด่ นิ จึงไม่ได้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เด็กส่วนใหญ่เป็นเด็กด้อยโอกาส ฐานะยากจน อีกทั้งยังตั้งอยู่ปลายชุมชน จึงมีปัญหาด้าน ระบบสาธารณูปโภคโดยเฉพาะเรือ่ งนํา้ ช่วงกลางวันทีเ่ ด็ก มีความจำ�เป็นต้องมีนํ้าไว้ดื่มและใช้ กลับเป็นช่วงที่ไม่มี นํ้าประปาใช้ ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขอนามัย” “การที่ โ รงเรี ย นได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ในครั้ ง นี้ จะทำ�ให้ทางโรงเรียนเก็บกักนา้ํ สำ�รองไว้ในช่วงเวลากลางคืน เพื่อนำ�มาใช้ในเวลากลางวันได้ ขนาดของบ่อเก็บนํ้าที่ บริษัทฯ ได้จัดสร้างให้จะช่วยสำ�รองนํ้าไว้ให้นักเรียนใช้ได้ 1-2 วัน ถือเป็นการแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด นอกจากนี้ ยังเป็นประโยชน์ต่อชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียงอีกด้วย” ผอ.กล่าวทิ้งท้าย ลองมาฟังเสียงเด็กๆ กันบ้าง ว่ า รู้ สึ ก อย่ า งไร เราได้ คุ ย กั บ ด.ญ.พัชรินทร์ สุยอย ชั้น ป.5 กล่าวว่า “ถึงแม้ว่าที่โรงเรียนจะมี เครือ่ งกรองนา้ํ แต่นา้ํ ประปาไม่ไหล ก็ ไ ม่ มี นํ้ า ดื่ ม เลย จึ ง ต้ อ งซื้ อ นํ้ า จากข้างนอกหรือนำ�มาจากบ้าน

4 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

ทำ�ให้เป็นภาระของครอบครัวเพิ่มมากขึ้น ถ้าวันไหนลืมก็ไม่มดี ม่ื เพราะ ทีโ่ รงเรียนไม่มนี า้ํ ขาย แต่ถงึ แม้วา่ ตอนนีจ้ ะมีนาํ้ ดืม่ นาํ้ ใช้อย่างเพียงพอแล้ว ก็ต้องช่วยกันประหยัดไม่ใช้อย่างฟุ่มเฟือย อย่างต้นไม้ภายในโรงเรียน วางแผนไว้วา่ จะใช้นาํ้ จากบ่อปลามารดแทนการใช้นาํ้ ประปา จะได้ประหยัด และเก็บนํ้าไว้ใช้ในเวลาจำ�เป็นจริงๆ” คราวนีล้ องมาฟังเสียง ด.ญ.โชติกา แสงทอง ชั้น ม.2 กันบ้างว่ารู้สึกอย่างไร ซึ่งน้องบอกว่า “ดีใจทีจ่ ะมีนาํ้ สะอาดใช้ ทีผ่ า่ นมาขาดแคลนนํา้ มาก บางครัง้ นํา้ ไหลแต่กไ็ ม่สะอาด มีตะกอนขุน่ ไม่กล้าดืม่ เวลาเล่นกีฬามาเหนือ่ ยๆ ไม่มนี าํ้ ดืม่ ต้องออกไปซือ้ ข้างนอกโรงเรียน และแย่งกันดืม่ ทำ�ให้เราท้อ ตอนนีเ้ วลาหิวเมือ่ ไร จะได้ดมื่ ทันที ไม่ต้องรอ ไม่ต้องอดแล้ว ในช่วงที่สร้างบ่อเก็บนํ้าพวกเพื่อนๆ ที่ห้องก็ ช่วยขนปูนไปเทที่บ่อ ไปกันทั้งห้อง อยากสร้างให้เสร็จเร็วๆ” ด้าน คุณธรรมนูญ ทองปาน ผูจ้ ดั การโรงงาน บริษทั แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำ�กัด ในฐานะ ตัวแทนจากบริษทั คูค่ า้ กล่าวว่า “ตอนแรกทีไ่ ด้รบั การชักชวนรู้สึกสนใจมาก ก่อนเริ่มโครงการได้ มีการประชุมและเสวนากับผู้แทนหลายฝ่าย ทำ�ให้ได้รับรู้ปัญหาของชุมชนว่ามีอยู่ 3 เรื่อง ที่ต้องได้รับการแก้ไข คือนํ้าประปาไหลน้อย ไฟฟ้าตกบ่อยครั้ง เรื่องโทรศัพท์และปัญหาสัญญาณอินเทอร์เน็ต เมื่อ รับทราบปัญหาทางบริษทั และคูค่ า้ จึงคิดว่าต้องแก้ปญ ั หาเรือ่ งนํา้ ประปาก่อน โดยสร้างบ่อกักเก็บนํ้าใต้ดินเพื่อเก็บนํ้าประปาให้เพียงพอต่อการใช้งาน ของครู นักเรียน และชาวบ้าน ถือว่ามีความจำ�เป็นเร่งด่วนที่สุด ซึ่งอยู่ใน ขอบเขตอำ � นาจและศั ก ยภาพที่ จ ะดำ � เนิ น การได้ ในส่ ว นของบริ ษั ท แอร์ ลิควิดเอง ยังได้ให้การสนับสนุนเครื่องกรองนํ้าเพิ่มด้วย” นี่ คื อ อี ก หนึ่ ง ความภู มิ ใจของเครื อ ไทยออยล์ แ ละคู่ ค้ า ทั้งบริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำ�กัด และบริษัทจัดการ และพัฒนาทรัพยากรนา้ํ ภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) ทีม่ ี ส่วนช่วยให้เด็กๆ คณะครูโรงเรียนวัดแหลมฉบังและชาวบ้าน ในชุมชนรอบๆ มีนํ้าสะอาดไว้ดื่ม เป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิต ด้านสาธารณสุขชุมชนที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง


ตามรอยพ่อ

โดย ลูกคนเล็ก

ในหลวง...ห่วงใยนํ้า ห่วงใยชีวิต "...นํ้าคือชีวิต หลักการสำ�คัญว่า ต้องมีนํ้าบริโภค นํ้าใช้เพื่อการ เพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีนํ้าคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีนํ้าคนอยู่ ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้า ไม่มีนํ้าคนอยู่ไม่ได้..." พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ พระตำ�หนัก จิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2529 นับจากทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรง ครองราชย์ พระองค์ได้เสด็จฯ ไปยังภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศเพือ่ เยีย่ มเยียนราษฎรของพระองค์ ทีส่ ว่ นใหญ่มอี าชีพเกษตรกร อาศัยน้�ำ หล่อเลีย้ ง ชีวติ โดยสำ�คัญ แต่ผลผลิตกลับไม่สมบูรณ์ เพราะขาดน้�ำ ต้องรอสายฝนเพียงเท่านัน้ ไม่มกี ารกักเก็บน้�ำ ทีถ่ กู ต้อง ด้วยความ เป็ น ห่ ว งทุ ก ข์ สุ ข ของทวยราษฎร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรง ทุม่ เทพระวรกายในการศึกษาวิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับทรัพยากรน้�ำ จัดหาแหล่งน้ำ� การเก็บกัก การ ระบาย การควบคุม การทำ�น้�ำ เสีย ให้เป็นน้ำ�ดี ตลอดจนการแก้ไขปัญหา น้�ำ ท่วม กระทัง่ ก่อเกิดโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริทเ่ี กีย่ วกับการพัฒนาแหล่งน้�ำ มากกว่า 2,000 โครงการ จาก 4,000 กว่าโครงการ ดังเช่น พระราชอัจฉริยภาพในการจัดการทรัพยากรน้�ำ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทีเ่ ป็นทีป่ ระจักษ์ และยอมรับจากนานาประเทศ เช่น การทำ� ฝนหลวง กังหันน้�ำ ชัยพัฒนา และการแก้ไขปัญหา น้�ำ ท่วมด้วยทฤษฎีแก้มลิง จนได้รบั สมัญญานาม ว่าเป็น "ปราชญ์แห่งการบริหารจัดการน้�ำ " จากความตอนหนึง่ ในหนังสือ "พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั กับคณะองคมนตรี" จัดทำ�โดยมูลนิธิ ชัยพัฒนา นายสวัสดิ์ วัฒนายากร องคมนตรี เล่าให้ฟงั ว่า เมือ่ ครัง้ ทีย่ งั เป็นอธิบดีกรมชลประทาน ได้มีโอกาสตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารอยู่หลายครั้ง ครัง้ หนึง่ พระองค์เสด็จฯ ไปที่ อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ เพือ่ ศึกษาเรือ่ งชลประทานโดยประทับเฮลิคอปเตอร์ ผ่านลำ�น้�ำ ลำ�พะยัง บ้านกุดตอแก่น ทรงเห็นว่า บริเวณนี้น่าจะทำ�ประตูเก็บน้ำ�ให้ราษฎรไว้ใช้ใน หน้าแล้งได้ จึงมีพระราชดำ�ริให้เจ้าหน้าทีต่ ามเสด็จ ไปทีล่ �ำ น้�ำ ลำ�พะยัง เพือ่ เข้าไปดูจดุ ซึง่ เป็นหุบเหว ลึกทีส่ ดุ พระองค์ทรงขับรถยนต์พระทีน่ ง่ั ด้วยพระองค์เอง โดยมีรถเจ้าหน้าทีน่ �ำ ทางไปตามแผนที่ ด้วยเพราะ

ไม่ชนิ เส้นทาง บรรยากาศมืดสนิท แม้จะมีชาวบ้าน เป็นมัคคุเทศก์น�ำ ทาง ก็พาหลงไปทางเกวียนขรุขระ จนสุดชายป่า พระองค์ทรงรับสัง่ ด้วยอารมณ์ขนั ว่า "อธิบดีจะพาฉันไปดิสโก้ทไ่ี หน" (ทางขรุขระ มาก) แต่กก็ ลับรถกันอย่างทุลกั ทุเลวิง่ กลับไปจน สุดเส้นทาง พระเจ้าอยูห่ วั ทรงลงจากรถ และทรงพระดำ�เนิน ท่ามกลางความมืดไปในทุง่ นาตะปุม่ ตะปํา่ โดยมี แค่ไฟฉายส่องทาง สักครูก่ ม็ าถึงสระบัวของราษฎร มีร้ัวลวดหนามกั้นอยู่ ซึ่งจะผ่านไปได้ต้องตัด รัว้ ลวดหนาม แต่พระเจ้าอยูห่ วั ทรงห้ามไม่ให้ตดั รัว้ ลวดหนาม และให้เจ้าหน้าทีถ่ า่ งลวดหนาม แล้ว ทรงมุดรัว้ ลวดหนามเข้าไป

และวางโครงการ ณ ที่น้ันเอง ซึ่งปัจจุบันคือ อ่างเก็บน้�ำ ลำ�พะยังตอนบน สร้างเสร็จในปี 2538 และอุโมงค์ผนั น้�ำ จากห้วยไผ่ขา้ มลุม่ น้�ำ มา อ.เขาวง สร้างเสร็จในปี 2549 เป็นการผันน้�ำ ข้ามลุม่ น้�ำ โดย อุโมงค์แห่งแรกในประเทศไทย ทัง้ หมดเกิดขึน้ ในคืน วันที่ 25 พฤศจิกายน 2535 นัน้ เอง สิ่ง เหล่ า นี้ค นรุ่น หลั ง อาจจะไม่ เ คยได้ รับ รู้ มาก่อนว่า กว่าทีป่ ระชาชนคนไทยจะมีน�ำ้ กิน น้�ำ ใช้ อย่างอุดมสมบูรณ์ กว่าทีป่ ระเทศไทยเราจะมีระบบ จัดการน้�ำ ทีไ่ ด้มาตรฐานอย่างทุกวันนี้ หลายโครงการ เกิดจากแรงผลักดันของพระเจ้าอยูห่ วั ทีท่ รงเสียสละ ความสุขส่วนพระองค์ ทุ่มเทพระวรกายอย่าง ไม่เห็นแก่ความยากลำ�บาก เพียงเพือ่ ต้องการมอบ "ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม" ของพระองค์ ทัง้ แผ่นดิน วันนีแ้ ม้พระเจ้าอยูห่ วั จะไม่ได้เสด็จฯ ไปเยีย่ ม ราษฎรดัง่ เดิมแล้ว แต่พระองค์ยงั คงห่วงใยทุกข์สขุ ของราษฎรอยูเ่ สมอ ทรงให้ค�ำ แนะนำ�เรือ่ งโครงการ พัฒนาแหล่งน้ำ� รวมถึงแนวทางป้องกันน้ำ�ท่วม อย่างยัง่ ยืน และคงไม่มวี นั ใดทีพ ่ ระเจ้าอยูห่ วั จะ "...ความรู้สึกของผมขณะนั้นบอกไม่ถูก ทรงหยุดห่วงใยราษฎรของพระองค์ เพราะ นึกรำ�พึงในใจว่า จะมีพระเจ้าแผ่นดินหรือ พระองค์คือ “พ่อของแผ่นดิน” พ่อที่รักและ พระประมุขของประเทศไหนหนอในโลกนี้ ห่วงใยลูกทุกคนอยูเ่ สมอนัน่ เอง ทีจ่ ะทรงตรากตรำ�พระวรกายจนถึงทรงมุดรัว้ ลวดหนาม เพือ่ จะเสด็จฯ ไปทรงหาน้�ำ ให้ราษฎร อ้างอิง: มูลนิธชิ ยั พัฒนา, หนังสือ "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กับคณะองคมนตรี" ยิ่งกว่านั้นพระองค์ท่านยังทรงหันกลับมามี พระราชดำ�รัสเตือนว่า อธิบดี อย่าลืมซ่อมรัว้ ให้เขานะ..." ครั้นชาวบ้านทราบข่าวการเสด็จฯ ได้มา รอเฝ้ า ฯ อยู่ข้า งกองรวงข้ า วที่เ พิ่ง เก็ บ เกี่ย ว พระเจ้าอยูห่ วั ทรงหยิบรวงข้าวมาทอดพระเนตร รวงข้าวมีเมล็ดข้าวลีบๆ อยูส่ ห่ี า้ เมล็ด ทรงถาม ด้วยพระพักตร์ทห่ี ม่นหมองว่า ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนี้ ราษฎรกราบทูลตอบว่า “ปีนแ้ี ล้งมาก ข้าวตาย เกือบหมด ต้องปักดำ�ไปในหลุมแห้งๆ ข้าวทีร่ อด ก็อาศัยน้�ำ ค้าง ไม่พอกิน ปีนอ้ี ดอยากกันทัว่ ” ระหว่างทางเสด็จฯ กลับ พระเจ้าอยูห่ วั ทรง กางแผนทีใ่ ห้เจ้าหน้าทีใ่ ช้ไฟฉายส่อง ทรงกำ�หนด

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 5


สกู๊ปพิเศษ

เครือไทยออยล์ ร่วมกับ โรงพยาบาลศิริราช-โรงพยาบาลแหลมฉบัง-เทศบาลนครแหลมฉบัง วิจัย “โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย” ลึกถึงระดับดีเอ็นเอ ครั้งแรกในประเทศไทย ศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์ เพือ่ ชุมชน ร่วมกับศูนย์ธาลัสซีเมีย โรงพยาบาล ศิรริ าช โรงพยาบาลแหลมฉบัง และเทศบาล นครแหลมฉบัง พลิกโฉมการวินิจฉัยโรค เลือดจางธาลัสซีเมียครัง้ ใหญ่ ในโครงการ วิจยั "ไทยออยล์-อ่าวอุดมโมเดล" ศึกษา วิจัยโรคเลือดจางธาลัสซีเมียลึกถึงระดับ ดีเอ็นเอ ครัง้ แรกในไทย ซึง่ มีความรวดเร็ว เทีย่ งตรงแม่นยำ� เป็นการป้องกันและควบคุม เชิงรุกของโรคนีแ้ ละเกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ นับเป็นโอกาสอันดีทพี่ วกเราชุมชนรอบโรงกลัน่ ไทยออยล์ ได้รบั การสนับสนุน การตรวจคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมียแนวใหม่ ในประชากรวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-35 ปี ตัง้ แต่กอ่ นแต่งงานทัง้ หญิงและชายทีศ่ นู ย์สขุ ภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน โดยร่วมกับศูนย์ธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลแหลมฉบั ง และเทศบาลนครแหลมฉบั ง เป็ น การบู ร ณาการ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อตรวจคัดกรองโรค เลือดจางธาลัสซีเมียให้กับชุมชนเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย เป็นโรคทางพันธุกรรมทีพ่ บมากทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือและภาคเหนือ จากสถิตพิ บว่าคนไทยร้อยละ 40-50 เป็นพาหะหรือ เป็นโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ลักษณะความรุนแรงของโรคนี้มีหลากหลาย แตกต่างกัน บางคนรุนแรงมากถึงขัน้ ส่งผลให้เด็กเสียชีวติ ตัง้ แต่ในครรภ์ บางคน รุนแรงน้อยจะมีอาการซีด ทำ�ให้เกิดภาวะเลือดจางเรือ้ รัง และเกิดภาวะแทรกซ้อน อื่นๆ ตามมา เช่น นิ่วในถุงนํ้าดี ร่างกายเจริญเติบโตช้า มีภาวะธาตุเหล็กเกิน หัวใจและตับทำ�งานผิดปกติ และโรคเบาหวาน โดยผูป้ ว่ ยจะมีอาการเรือ้ รังตัง้ แต่ เด็ก รักษาไม่หายขาด ยกเว้นจะได้รับการรักษาด้วยการปลูกถ่าย ไขกระดูกหรือเซลล์ต้นกำ�เนิดเม็ดเลือด ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงมาก แพทย์หญิงวิลาสลักษณ์ ทะนงศักดิส์ กุล กุมารเวช โรงพยาบาลแหลมฉบัง กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า กระทรวง สาธารณสุขให้ความสำ�คัญในการควบคุมและป้องกัน โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย โดยกำ�หนดให้สถานบริการ สาธารณสุขทุกแห่งตรวจคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย สำ�หรับสตรีที่เข้ามาฝากครรภ์ฟรีทุกราย พญ.วิลาสลักษณ์ ทะนงศักดิ์สกุล

6 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

แต่ปัจจุบันพบว่า มีผู้ป่วยที่เป็นโรคเลือดจาง ธาลัสซีเมียจากพ่อแม่เดียวกันอย่างต่อเนื่อง และ เป็นโรคทางพันธุกรรมที่พบมากที่สุด จึงมีคำ�ถาม ตามมาว่าเพราะเหตุใดจึงไม่สามารถควบคุมและ ป้องกันโรคนี้ได้ ดังนั้น ศูนย์ธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลแหลมฉบัง และเครือไทยออยล์ จึงได้ ร่วมกันศึกษาวิจยั การควบคุมและป้องกันโรคนีด้ ว้ ย วิธีการคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมียแนวใหม่ใน ประชากรวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-35 ปี สำ�หรับ ขัน้ ตอนจะเริม่ ต้นจากการตรวจคัดกรองและวินจิ ฉัย ในขัน้ ตอนเดียวไปถึงในระดับสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) รวมถึงการตรวจระดับธาตุเหล็กที่ให้ความแม่นยำ� สูงมาก


วิธีการดังกล่าวจะช่วยให้ควบคุมและป้องกันโรคเลือดจางธาลัสซีเมียได้ ซึ่งเครือไทยออยล์ โดยศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน ได้ทำ�การตรวจคัดกรองไปแล้ว 2 ชุมชน คือ ชุมชนบ้านอ่าวอุดม และชุมชน บ้านทุง่ พบว่าประชากรมีพาหะและเป็นโรคเลือดจางธาลัสซีเมียอยูถ่ งึ ร้อยละ 50 ซึง่ เป็นตัวเลขทีส่ ูงมากกว่าค่าเฉลี่ยในระดับประเทศ โดยคนไข้แจ้งว่าได้รับการ ตรวจในช่วงตั้งครรภ์แต่ผลการตรวจไม่พบว่าเป็นโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการแผนกบริหาร งานชุมชน เครือไทยออยล์ กล่าวว่า “การตรวจคัดกรอง โรคเลือดจางธาลัสซีเมียหรือ FAP-4 เป็นหนึง่ ในสีโ่ ครงการ หลักของงานเวชศาสตร์ชุมชนโดยศูนย์สุขภาพและ การเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน ซึ่งได้ตรวจ คัดกรองมาแล้ว 3 ชุมชนและจะทยอยตรวจ ให้ครบทุกชุมชนรอบโรงกลั่นไทยออยล์ภายใน 2-3 ปีข้างหน้านี้ คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ข้อมูลการตรวจคัดกรองเหล่านีจ้ ะถูกนำ�ไปบันทึกเป็นฐานข้อมูลของชุมชน และข้อมูลของศูนย์ธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลศิรริ าช และโรงพยาบาลแหลมฉบัง ที่จัดทำ�ขึ้นโดยเฉพาะ รวมถึงตัวคนไข้เองสามารถนำ�ข้อมูลนี้ไปใช้รักษาตัวได้ ทุกแห่ง ทำ�ให้สถานพยาบาลทุกแห่งสามารถให้ข้อมูลและวางแผนครอบครัว แก่คู่สมรส เพื่อควบคุม ป้องกัน และลดความเสี่ยงของการเกิดโรคได้เร็วขึ้น” ด้าน รศ.ดร.นพ.วิปร วิประกษิต ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ และศูนย์ ธาลัสซีเมีย คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว เพิม่ เติมอีกว่า การตรวจคัดกรองตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข ในปัจจุบัน มีข้อจำ�กัดในเรื่องเวลา มีกระบวนการตรวจคัดกรอง ยืนยัน และติดตามหลายขัน้ ตอน ในขณะทีก่ ารวินจิ ฉัยโรคเลือดจาง ธาลัสซีเมียสำ�หรับสตรีทตี่ งั้ ครรภ์ จะต้องตรวจให้เสร็จก่อนอายุ ครรภ์ 20 สัปดาห์ ซึ่งปัญหาที่พบมากคือคนไข้ส่วนใหญ่เข้า มาฝากครรภ์ช้า และการตัง้ ครรภ์ขณะยังไม่พร้อมของวัยรุน่ ทำ�ให้กว่าจะพบว่าเป็นโรคนี้ ก็ไม่สามารถยุติการตั้งครรภ์ ของคนไข้ได้ จึงทำ�ให้ไม่สามารถควบคุมและป้องกันโรค ธาลัสซีเมียได้ รศ.ดร.นพ.วิปร วิประกษิต

ทางโรงพยาบาลศิริราชจึงได้คิดสร้างโมเดลใหม่ซึ่งลด ขั้นตอน ที่เรียกว่า ไทยออยล์-อ่าวอุดมโมเดล นี้ขึ้นมา โดยสามารถตรวจ คัดกรองและวินจิ ฉัยได้ภายในขัน้ ตอนเดียว ทำ�ให้การคัดกรองและวินจิ ฉัยเร็วขึน้ ป้องกันการเกิดโรคได้อย่างมีประสิทธิผล คุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข และช่วยลดอุบัติการณ์ของโรคนี้ได้

ขณะเดียวกันทางโรงพยาบาลศิริราชได้ตรวจหา สารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) กับทุกคนในกลุ่มตัวอย่าง เพือ่ นำ�ไปพัฒนาตรวจหาความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด และชนิดของเฮโมโกลบิน อันจะนำ�ไปสู่การพัฒนา โมเดลในการแปรผล โดยในอนาคตจะนำ�ไปสูก่ ารวิจยั ระดับประเทศ

ฐานข้อมูลดีเอ็นเอที่ได้จากโครงการนี้ จะ เป็นประโยชน์ในเรื่องของการตรวจวินิจฉัยโรค พันธุกรรมชนิดใหม่ในอนาคต เนื่องจากกลุ่ม ตัวอย่างที่ได้รับการตรวจในครั้งนี้ พบว่ามียีน บางตัวทำ�ให้เกิดโรคทางพันธุกรรมชนิดใหม่ ที่ ยังไม่มีใครรู้จักมาก่อน เช่นเดียวกับที่ได้ค้นพบ จากคนไข้ทมี่ ารักษาที่ รพ.ศิรริ าช คาดว่าสาเหตุ มาจากการกลายพันธุข์ องยีนตัวหนึง่ ในร่างกาย หลังจากนี้ ทาง รพ.ศิริราชจะเฝ้าติดตามกลุ่ม ตัวอย่างที่พบความผิดปกติของยีน ซึ่งจะนำ�ไป สู่ข้อสรุปของโรคนี้ได้ อย่างไรก็ตาม การติดตามคนไข้จากฐานข้อมูล เชิงรุกนี้ จะเป็นประโยชน์กับประเทศในภาพรวม ตัวอย่างเช่น สมมุตวิ า่ หากตรวจคนไข้พบว่ามี 10 คน มียนี ทีม่ ผี ลต่อการเป็นมะเร็งลำ�ไส้ ส่วนคนกลุม่ ทีเ่ หลือ ไม่มียีนตัวนี้เลย ในขณะที่คน 2 กลุ่มนี้เหมือนกัน ทุกอย่าง เราจะใช้โมเดลนีต้ ดิ ตามคนกลุม่ นีไ้ ปอีก 5 ปี ข้างหน้าว่าจะเป็นอย่างไร ข้อมูลแบบนี้ประเทศไทย ยังไม่มีการทำ�วิจัย เราจะทำ�จากโมเดลนี้ เพราะมี ฐานข้อมูลแล้ว "เราจะติดตามกลุม่ เป้าหมายทีต่ รวจพบโรคในพืน้ ที่ แหลมฉบังถึงความเปลีย่ นแปลงทางกายภาพในอนาคต การศึ ก ษาที่ แ น่ ชั ด จะนำ � มาสรุ ป ได้ ว่ า มี พั น ธุ ก รรม บางอย่างทีร่ ะบุวา่ ถ้าเวลาผ่านไป 10 ปี 20 ปี จะทำ�ให้ เกิดโรคอะไรได้บ้าง ซึ่งในปัจจุบันไทยยังไม่มีข้อมูล ทางระบาดวิทยาเหมือนในต่างประเทศ และไม่สามารถ นำ � มาใช้ ร่ ว มกั บ คนไทยได้ เพราะมี พั น ธุ ก รรมที่ ต่างกัน” รศ.ดร.นพ.วิปร กล่าวทิ้งท้าย

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 7


รอบรั้วไทยออยล์ โดย หน่วยกลั่นข่าว

คัดกรองโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชุมชนบ้านทุ่ง เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2556 เครือไทยออยล์ โดยแผนกบริหารงานชุมชนร่วมกับศูนย์ธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลแหลมฉบังและเทศบาลนครแหลมฉบัง ทำ�การตรวจคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย (FAP-4) ให้กบั ผูท้ ม่ี อี ายุ 15 – 35 ปี ในชุมชนบ้านทุง่ ซึง่ การสำ�รวจพาหะ หรือโรคธาลัสซีเมียนีไ้ ด้ท�ำ การตรวจถึงระดับดีเอ็นเอ ซึง่ นับว่าเป็นประโยชน์อย่างมากต่อ การดูแลสุขภาพ และการวางแผนครอบครัวในอนาคต ทัง้ นีศ้ นู ย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน มุง่ เน้นการดูแล สุขภาพเชิงรุกด้วยกระบวนการเวชศาสตร์ชมุ ชนและเวชศาสตร์ปอ้ งกัน สำ�รวจสุขภาวะชุมชนและพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

เครือไทยออยล์จัดอบรมทักษะกีฬา กระโดดเชือกขั้นกลาง ครั้งแรกในประเทศไทย

เมือ่ วันที่ 16 – 18 สิงหาคม 2556 เครือไทยออยล์ โดยแผนกบริหารงานชุมชน ร่วมกับมูลนิธิหัวใจแห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดอบรมทักษะกีฬา กระโดดเชือกขัน้ กลางครัง้ แรกในประเทศไทย ให้กบั คณะ ครูผสู้ อนของโรงเรียนต่างๆ ทัง้ 14 โรงเรียนรอบโรงกลัน่ โดยหวังให้ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมมีความเข้าใจ ทฤษฎี กฎ กติกากระโดดเชือก และคิดค้นเพิม่ ทักษะรวมทัง้ วิธี ฝึกสอนใหม่ๆ อันจะทำ�ให้กฬี ากระโดดเชือกพัฒนาได้ อย่างไร้ขดี จำ�กัด สามารถแข่งขันกับนานาชาติ โดยเฉพาะ ชาติในอาเซียน เพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ในอนาคตอั น ใกล้ นี้ และมุ่ ง หวั ง ให้ โรงเรี ย นรอบ เครือไทยออยล์น�ำ ความรูท้ ไ่ี ด้ในครัง้ นี้ ไปพัฒนานักกีฬา เพือ่ สร้างผลงานชิงแชมป์ระดับประเทศไทยต่อไป นอกจากนี้ ยังให้ค�ำ ปรึกษากับคณะครูผสู้ อนและ อบรมวิธกี ารตัดสินเพิม่ เติมเพือ่ เตรียมความพร้อม ทีจ่ ะเป็นคณะกรรมการตัดสินอีกด้วย

8 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

การจัดแข่งขันกระโดดเชือกมือใหม่ เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2556 เครือไทยออยล์ โดย แผนกบริ ห ารงานชุ ม ชน ให้การสนับสนุนนักกีฬา 8 โรงเรียนรอบเครือไทยออยล์ ได้แก่ โรงเรียนวัดมโนรม โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 โรงเรียน เทศบาลแหลมฉบัง 2 โรงเรียนวัดใหม่เนินพยอม โรงเรียน วัดบ้านนา โรงเรียนวัดแหลมฉบัง โรงเรียนบ้านชากยายจีน และโรงเรียนบุญจิตวิทยา เข้าร่วมการแข่งขันกระโดดเชือก “Rope Skipping Championships” ครั้งที่ 4 ประจำ�ปี 2556 (สำ�หรับมือใหม่) ซึ่งจัดโดยมูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ ณ อาคารกีฬาเวสน์ 2 ศูนย์เยาวชน กรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) เขตดินแดง ครั้งนี้มีโรงเรียน เข้าร่วมแข่งขันทัง้ หมด 36 โรงเรียน จากการแข่งขัน ทั้งหมด 36 รายการ 2 ประเภท คือ ประเภท พืน้ บ้านและประเภทมาตรฐาน เป็นทีน่ า่ ภูมใิ จที่ นักกีฬาจากโรงเรียนวัดใหม่เนินพยอมสามารถ คว้าถ้วยรวมประเภทพืน้ บ้าน และโรงเรียนเทศบาล แหลมฉบั ง 2 คว้ า ถ้ ว ยรวมประเภทมาตรฐาน โดยเยาวชนจากโรงเรียนต่างๆ ยังร่วมกันคว้าเหรียญ รางวัลจากการแข่งขันได้มากถึง 65 เหรียญ


สวดมนต์เย็น ชำ�ระใจ

เมือ่ วันที่ 18 กันยายน 2556 ซึง่ ตรงกับวันขึน้ 14 ค่�ำ ศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชนได้จัดกิจกรรม “สวดมนต์เย็น ชำ�ระใจ” เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนชุมชนรอบเครือไทยออยล์ผใู้ ฝ่ธรรมะได้เข้ามาร่วมสวดมนต์ และปฏิบตั ธิ รรม ภายใน หอพระ “พระพุทธรัตนมงคลสกลประชานาถมุนี” โดยผู้ที่มาร่วมสวดมนต์ ทุกคนได้เปล่งเสียง ตามบทสวดมนต์ที่มีตัวอักษรปรากฏบนจอภาพ และเสียงประกอบ ต่อหน้าพระพุทธรัตนมงคลสกลประชานาถมุนี โดยเน้นบทสวดมนต์หลักๆ ที่ทุกคนจดจำ�ได้ตั้งแต่สมัยวัยเยาว์ ทำ�ให้มี ส่วนร่วมกับการสวดนี้อย่างเต็มที่ สำ�หรับปี 2556 “สวดมนต์เย็น ชำ�ระใจ” ยังมี อีก 2 ครั้ง คือ วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน และวัน จันทร์ที่ 16 ธันวาคม หรือ จำ�ง่ายๆ คือ 16, 16 อย่าลืมมาร่วมสวดมนต์ช�ำ ระจิตใจกันนะครับ

เมือ่ วันที่ 25 กันยายน 2556 เครือไทยออยล์รว่ มกับกลุม่ บริษทั ปตท. องค์กร ธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TBCSD) พร้อมด้วยบริษัทสมาชิกของ TBCSD ร่วมกิจกรรม “TBCSD ร่วมแรงกายแรงใจ ช่วยเหลือพืน้ ทีป่ ระสบภัยนาํ้ ท่วม” โดยนำ�อาหารและสิ่งของจำ�เป็น เช่น นํ้าดื่ม บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป อาหารกระป๋อง ช่วยเหลือผู้ประสบภัยนํ้าท่วมในเขตเทศบาลตำ�บลกบินทร์บุรี อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ซึ่งสถานการณ์น้าํ ท่วมในครั้งนี้ สร้างความเดือดร้อนเสียหายต่อ บ้านเรือนและทรัพย์สินของชาวบ้านหลายร้อยครัวเรือน

เครือไทยออยล์ร่วมกับพันธมิตร ช่วยเหลือผู้ประสบภัยนํ้าท่วม

นอกจากนี้ เ ครื อ ฯ ยั ง ได้ ม อบนํ้ า ดื่ ม จำ�นวน 4,800 ขวด ให้กับเทศบาลนคร แหลมฉบัง เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนให้กบั ผู้ประสบภัยนํ้าท่วมในเขตพื้นที่แหลมฉบัง และอำ�เภอพนัสนิคม จ.ชลบุรี อีกด้วย

ออกหน่วยสร้างเสริมสุขภาวะเคลื่อนที่

ช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ทีเ่ ป็นช่วงฤดูฝน ทำ�ให้อาจเกิดปัญหาเรื่อง การแพร่ระบาดของไข้เลือดออก และปัญหาด้านสุขอนามัย เครือไทยออยล์ TCP และ GPSC ร่วมกับสำ�นักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาล นครแหลมฉบัง และคณะกรรมการชุมชน จัดกิจกรรมออกหน่วยสร้างเสริม สุขภาวะเคลือ่ นทีย่ อ่ ย ให้กบั ชุมชนตลาดอ่าวอุดม ชุมชนวัดมโนรม ชุมชน บ้านทุง่ และชุมชนบ้านอ่าวอุดม เพือ่ เสริมการดูแลด้านสาธารณสุขให้กบั ชุมชน

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 9


จิตอาสาเครือไทยออยล์ ร่วมมือ ร่วมใจ ทาสีวัดใหม่เนินพยอม เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2556 พนักงานใหม่เครือไทยออยล์ จำ�นวน 159 คน เข้าร่วมกิจกรรม ปฐมนิเทศ Be Together Be POSITIVE 2013 และร่ ว ม กิจกรรม CSR กับโรงเรียน วัดใหม่เนินพยอม โดยได้รับ การต้ อ นรั บ อย่ า งอบอุ่ น จาก ผอ. สนธยา นาคปฐม ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียน คณาจารย์ คุณสุนนั ท์ เสียงดัง ประธาน คณะกรรมการชุมชนบ้านอ่าวอุดมและผู้แทนจากชุมชน ใน งานนีพ้ นักงานใหม่และตัวแทนนักเรียนได้รว่ มกันทาสีก�ำ แพง โรงเรียน เพือ่ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้สวยงาม มากขึ้น ภายใต้บรรยากาศอันน่าประทับใจและเป็นกันเอง ด้วยความตั้งใจส่งมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้กับโรงเรียนและชุมชน ของเรา

แกนนำ�เยาวชน 7 ชุมชนรอบเครือไทยออยล์

เมื่อวันที่ 5 – 6 ตุลาคม 2556 เครือไทยออยล์ จัดกิจกรรมเครือข่าย เยาวชนรอบเครือไทยออยล์ เพื่อ ต่ อ ยอดโครงการแกนนำ � เยาวชน 7 ชุมชนรอบเครือไทยออยล์ ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกจากสมาชิก เยาวชน แต่ละชุมชน จำ�นวน 28 คน โดย เยาวชนกลุ่ ม นี้ ไ ด้ รั บ การอบรมทั้ ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ ด้านบทบาท และภาวะผู้นำ�เพื่อสร้างเครือข่าย เยาวชนทีเ่ ข้มแข็ง อันเป็นกำ�ลังพัฒนา กิจกรรมต่างๆ ในชุมชนต่อไป

ค่ายวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

เมือ่ วันที่ 12 ตุลาคม 2556 เครือไทยออยล์ โดยแผนกบริหารงานชุมชน จัดกิจกรรมโครงการ “เยาวชนสานฝัน สร้างสรรค์ชมุ ชน” ให้เยาวชน 7 ชุมชน ในเขตพื้นที่แหลมฉบัง เพราะเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของ กลุม่ เยาวชน ทีส่ ามารถสร้างและพัฒนาขึน้ มาเป็นผูน้ �ำ ชุมชนในอนาคต เพื่อเป็นกำ�ลังขับเคลื่อนกิจกรรมมวลชนระดับเยาวชนให้กับชุมชนได้ รวมถึ ง พั ฒ นาปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมและทั ศ นคติ เ ยาวชนเหล่ า นั้ น ให้เข้มแข็ง สามารถเป็นแกนนำ�เยาวชน และประสานกิจกรรมต่างๆ เพือ่ พัฒนาท้องถิ่นให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น

10 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556


เดือนตุลาคม – ธันวาคม

บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ โดย กองบรรณาธิการ

ศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน เทศบาลนครแหลมฉบัง โรงพยาบาลแหลมฉบัง ร่วมกับคณะกรรมการชุมชน และ อสม. ลงพื้นที่โครงการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก 3 ชุมชน ชุมชนบ้านชากยายจีน ได้รับความร่วมมือจากคณะ

พยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา ส่งนิสิตมาฝึกงานเวชศาสตร์ชุมชน โดยจะช่วยสำ�รวจสุขภาพและจัดทำ�แฟ้มสุขภาพของแต่ละครอบครัว ในครั้งนี้ น้องๆ จะลงพื้นที่รวม 4 รุ่น รุ่นละ 16 คน รุ่นที่ 1 : 14 ต.ค. – 1 พ.ย. 2556 รุ่นที่ 2 : 11 พ.ย. – 29 พ.ย. 2556 รุ่นที่ 3 : 9 ธ.ค. – 30 ธ.ค. 2556 รุ่นที่ 4 : 6 ม.ค. – 20 ม.ค. 2557 การเปิดแฟ้มสุขภาพชุมชนจะเป็นประโยชน์ตอ่ แต่ละครอบครัวเพราะจะช่วยให้ เทศบาล โรงพยาบาล และศูนย์สขุ ภาพฯ สามารถวางแผนงานส่งเสริมสุขภาพได้อย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ ง จึงขอความ ร่วมมือจากชาวชุมชนทุกท่านให้ขอ้ มูลแก่นอ้ งๆ นิสติ พยาบาลทีจ่ ะไปพบท่านถึงทีบ่ า้ นในครัง้ นี้ด้วย นะครับ

ชุมชนวัดมโนรม หลังจากชุมชนวัดมโนรม ได้รบั การตรวจนาํ้ ตาล

วัดความดันเลือด และตรวจระดับไขมันในเลือดไปแล้วเมือ่ วันที่ 8 กันยายน ที่ผ่านมา แล้วก็ถึงวันนัดฟังผลตรวจ คือ วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม เวลา 08.00 น. ณ ที่ท�ำ การชุมชนวัดมโนรม โดยได้รับความร่วมมือจาก น้องๆ นักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ชลบุรี มาช่วยจัด กิจกรรมให้ค�ำ แนะนำ� การดูแลตัวเอง เพื่อลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิต และไขมันในเลือด ที่สำ�คัญคือชาวชุมชนวัดมโนรม จะช่วยกันอย่างไร จะได้มรี า่ งกายทีแ่ ข็งแรง ดูแลตัวเองได้นานๆ พึง่ หมอ พึ่งยาให้น้อยลง

ชุมชนบ้านแหลมฉบัง ด้วยความร่วมมือจากศูนย์ธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลศิรริ าช ทีไ่ ด้ให้ความ

กรุณามาเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ซึ่งจะทำ�ให้ทราบว่าใครที่ไม่เป็นโรค แต่อาจเป็นพาหะทีส่ ามารถถ่ายทอดโรคนีไ้ ปสู่ลูกหลานได้ อยากจะบอกว่าการตรวจครั้งนี้เป็นโอกาส ที่หายาก เนื่องจากเป็นการตรวจที่แม่นยำ�ที่สุดในประเทศไทย พลาดโอกาสนี้แล้ว จะไม่มีโอกาสอีก แล้ว ขอเชิญชวนชาวชุมชนแหลมฉบังทีม่ อี ายุระหว่าง 15-35 ปี มารับการตรวจคัดกรอง ในวันอาทิตย์ ที่ 24 พฤศจิกายนนี้ ส่วนเวลาและสถานที่จะแจ้งผ่าน อสม. และกรรมการชุมชนต่อไป

โอกาสสำ�คัญของเด็กนักเรียนรอบโรงกลั่นไทยออยล์ กับ กีฬากระโดดเชือก

23 พฤศจิกายน 2556 : การแข่งขันไทยออยล์แชมเปี้ยนชิพ ครั้งที่ 3 จัดที่ศาลาประชาคม เทศบาลแหลมฉบัง จ.ชลบุรี การแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการซ้อมใหญ่ก่อนแข่งขันชิงแชมป์ประเทศไทย ที่ส�ำ คัญการแข่งขันครั้งนี้ จะมีโรงเรียนในพื้นที่ใกล้เคียง เข้าร่วมด้วย 18 ธันวาคม 2556 : การแข่งขันกระโดดเชือกชิงถ้วยพระราชทาน รายการกีฬาสำ�คัญ ทีม่ ถี ว้ ยพระราชทานจำ�นวนมากทีส่ ดุ ของ ประเทศไทย เด็กๆ คงต้องเตรียมฟิตซ้อม เพือ่ จะได้รบั คัดเลือกเป็นตัวแทนนักกีฬากระโดดเชือกของโรงเรียน สิง่ สำ�คัญไม่ได้อยูท่ ่ี ได้เหรียญหรือไม่ แต่เป็นโอกาสดีทจ่ ี ะได้เพิม่ สมรรถภาพร่างกาย ความยืดหยุน่ ความคล่องตัว สุขภาพหัวใจแข็งแรง และห่างไกลยาเสพติด

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 11


เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ AEC โดย ฐิติกร ทิพย์มณเฑียร

"เปิ บ เมนู ยอดนิยม อาเซียน"

ใกล้จะรวมกลุม่ ประชาคมอาเซียนกันอีกไม่นาน แน่นอนว่าการท่องเทีย่ วระหว่างกันคงมีมากขึน้ ในอนาคต ทีนี้เรื่องสำ�คัญนอกเหนือจากการ พักอาศัย การถ่ายรูป และการท่องเที่ยวไปใน สถานที่ สำ � คั ญ ต่ า งๆ ก็ คื อ อาหารการกิ น นีแ่ หละ ผมขอแนะนำ�เมนูเด็ดๆ ของ ชาติอาเซียนที่หากคุณได้ เดิ น ทางไปเยื อ น ประเทศเหล่านี้แล้ว ต้องลอง !!!

สิงคโปร์ “บักกุ๊ดเต๋” อาหารสิงคโปร์ ได้รบั อิทธิพลมาจากจีนค่อนข้างสูง นะครับ เขารวมชาติมาทีหลัง และ เปิดรับการลงทุนจากทัว่ โลก ทำ�ให้ มี พ่ อ ค้ า นั ก ธุ ร กิ จ ชาวจี น เข้ า มา อยูอ่ าศัยกันเยอะ อาหารเลยได้รบั อิทธิพลจากชาวจีนเสียส่วนใหญ่ อย่างบักกุ๊ดเต๋ก็เช่นกัน ที่สิงคโปร์มีหลายร้านครับ เพราะส่วนใหญ่ เขาเซ็ตเมนูใกล้เคียงกัน ส่วนใครชอบอาหารจีนเป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว ก็ไม่ควรพลาด “กระดูกหมูตุ๋นพริกไทย” เขาตุ๋นเนื้อหมู จนเปือ่ ย ทานสะดวก นํา้ ซุปเผ็ดร้อน และ กลมกล่อมครับ เช่นเดียวกับกระเพาะหมูที่ มีมาในนํา้ ซุปแบบเดียวกัน และขาไก่ ตุ๋นฟองเต้าหู้ เด็ดมากๆ ครับ อี ก เมนู ห นึ่ ง ที่ พ ลาดไม่ ไ ด้ “ข้าวมันไก่ออชาร์ด” มีหลายเจ้าให้เลือกหารับประทาน ตัง้ แต่ตกึ แถวจนถึงขึน้ เหลาตามโรงแรม ราคาแตะอยูท่ ่ี จานละ 700 บาทเลยทีเดียว!!!! ทีเด็ดของข้าวมันไก่ ออชาร์ดของสิงคโปร์อยูต่ รงเนือ้ อวบๆ ขาวๆ ของน้องไก่ แถมยังมีเนื้อที่หนานุ่ม เต็มคำ� (ไม่มีตบแปะเหมือน บ้านเรา) ส่วนนา้ํ จิม้ แบ่งออกเป็น 3 แบบครับ มีซอี ว๊ิ ดำ� พริกบด และนํ้าจิ้มขิง (เรื่องนํ้าจิ้มผู้เขียนแอบเชียร์ว่า ของบ้านเราเด็ดกว่า 555) ส่วนเรือ่ งข้าวทีส่ งิ คโปร์จะ มีความมันน้อยกว่าของบ้านเราครับ ทานแล้วละมุนลิน้ มาก เป็ น ข้ า วมั น ไก่ อี ก รสชาติ ห นึ่ ง ที่ ค วรลิ้ ม ลอง เมื่อไปเยือนสิงคโปร์ครับ

12 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

กัมพูชา “ขนมปังปาเต” เป็นอาหารทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากฝรัง่ เศสครับ ทีใ่ จกลางเมือง พนมเปญจะมีร้านขายขนมปังแบบนี้ เยอะมาก บางร้านเป็นรถเข็น บางเจ้า เป็นร้านอาหารแบบนัง่ ทานในร้านเลย ก็ม.ี ..ขนมปังฝรัง่ เศสจะกรอบนอกนุม่ ใน ทาด้วยเนย พร้อ มยัด ไส้ด้ว ยหมูยอ ชิ้นโต หมูสับปรุงรส แตงกวาดอง และ ผักอื่นๆ สนนราคาเป็นเงินไทยก็ตก ชิน้ ละ 60 บาทเท่านัน้ ครับ คนกัมพูชา เขาทานเป็ น กิ จ วั ต ร ทานได้ ทั้ ง วั น นักท่องเทีย่ วทีไ่ ปเยีย่ มชมวัดวาอาราม ในพนมเปญ ก็มักจะแวะไปลองลิ้ม ชิมรสกันครับ


เวียดนาม “แหนมเนืองเวียดนาม” ผมไปเยือนที่ฮานอยมาไม่นาน สาวๆ ที่นั่น หุน่ ดีมากครับ หาคนอ้วนได้นอ้ ยมาก (ขอชืน่ ชมความงามของสาวเวียดนาม ก่อนว่ากันเรื่องอาหาร) ซึ่งเวลาสาวๆ นุ่งชุดประจำ�ชาติท่ีเรียกว่า “อ่าวหญ่าย” ทีเ่ ป็นชุดค่อนข้างเข้ารูป เห็นส่วนสัด จึงทำ�ให้สาวๆ ดูสวยงามเซ็กซี่ เคล็ดไม่ลบั คือ การทานผักนัน่ เองครับ ชาวเวียดนาม ชอบทานผักมากๆ ครับ เมนูส่วนใหญ่จึงมีผักเป็นองค์ประกอบหลัก เมนูเด็ดที่ขอแนะนำ�ก็คอื แหนมเนืองแบบเวียดนามแท้ๆ ครับ รสชาติ อาจจะอ่อนกว่าบ้านเรา แต่แป้งจะบางกว่าครับ เขาจะทานกันแบบกรอบๆ ไม่ได้แช่นํ้าจนแป้งนุ่มแบบบ้านเรา ใส่เครื่องเคียงต่างๆ ตามไป ไม่ว่าจะเป็น แหนมซึง่ ก็คอื เนือ้ หมูปรุงรส ทานคูก่ บั ผักนานาชนิด ใครทีช่ อบทานแหนมเนือง อยู่แล้ว ต้องลองไปลิ้มรสชาติต้นตำ�รับดูบ้างครับ

สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ หรือ “พม่า” เมื่ อ ครั้ ง หนึ่ ง ได้ ไ ปเยื อ นกรุ ง มั ณ ฑะเลย์ ที่ นั่ น ดู จ ะวุ่ น วายเพราะจั ก รยานขวั ก ไขว่ ส่วนสามล้อรับจ้างที่เมืองเขาบีบแตรได้ตลอดทั้งวัน ผมเดินเท้าไปหา “หล่าเพ็ด” อาหาร ยอดนิยมของคนพม่า ยิ่งในงานประเพณีหรือโอกาสพิเศษ หากไม่มีหล่าเพ็ดขึ้นโต๊ะทำ�ให้ ขาดความสมบูรณ์ของงานเลยทีเดียว หล่าเพ็ดใช้ใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วคั่ว งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว พอได้เห็นหน้าตาจะคิดถึงเมี่ยงคำ� ของไทยเรานี่แหละครับ เพียงแต่ว่าฝืดคอไปหน่อยเท่านั้นเอง

ไทยแลนด์ แดนสยาม “ต้มยำ�กุ้ง” อาหารไทยได้ชื่อว่าเป็นอาหารถูกลิ้น ถูกปากของคนต่างชาติ เพราะรสชาติในภาพรวมนั้นกลมกล่อม มีทั้งเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม ครบเครื่องเทศเผ็ดร้อน จี๊ดจ๊าด นี่จากปากของคนไนจีเรีย นักฟุตบอลสมุทรปราการเอฟซี ที่นั่งรับประทานอาหาร อยู่กับผมในฐานะนักฟุตบอลด้วยกัน “ต้มยำ�กุ้ง อร่อยมากครับ” เขาเอ่ยปากชม ผมเลยถามว่า นอกจากนี้แล้ว ชอบทานอะไรอีก (หัวเราะ) “ส้มตำ�ครับ” “ไม่เผ็ดหรือ” ผมถาม เขาก็ตอบว่า “ไม่เผ็ด” เพราะคนไนจีเรีย กินเผ็ดอยู่แล้ว เขายังพูดถึงเพื่อนนักฟุตบอลชาวบราซิล กานา ว่า “อาหารไทย อร่อยมากๆ จนถึงขนาดติดอันดับโลกมาแล้วครับ” อ๊ะ! รูเ้ สียด้วยว่า CNN เขา จัดให้ “ต้มยำ�กุง้ ” ของไทยติดอันดับ 4 ของโลก อาหารไทยไม่เบาเลยครับ ด้วยเหตุผลนัน้ อยูท่ กี่ งุ้ ตัวโตๆ นุม่ ละมุนลิน้ ตามด้วยเครือ่ งเทศ พริกขีห้ นู ตะไคร้ ใบมะกรู ด ข่ า ตามด้ ว ยกะทิ ส ด ปรุ ง รสด้ ว ยมะนาว นํ้ า ตาล หวานอมเปรี้ ย ว เผ็ ด จี๊ ด จ๊ า ดเป็ น ที่ ติ ด ปากของคนไทย ทั่วทุกภาค และชาวต่างชาติมานานแล้วล่ะครับ

เป็นยังไงบ้างครับท้องเริ่มร้องกันหรือยัง แต่ละเมนูนี่ ผมลองชิมมาแล้วครับเลยมาบอกต่อ ขอบอกว่าถ้าคุณผูอ้ า่ น มีโอกาสได้ไปเยี่ยมเยือนประเทศเหล่านี้ ลองหาเวลาไป ลิ้มลองดูนะครับ รับรองไม่ผิดหวัง

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 13


ยนภาษาอังกฤษกับครูแนน ABC เรี โดย ครูแนน

What would you like to have?

คุณอยากรับประทาน อะไรดีคะ? อ่านคอลัมน์เตรียมพร้อมสู่อาเซียนแล้ว พาให้เกิดอาการนํ้าลายสอ อาหารทีน่ า่ กินจนยัว่ นํา้ ลาย เช่นนี้ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Mouthwatering Dish (เมาธ์-วอ-เทอ-ริง ดิช) คล้ายๆ ภาษาไทยเลยนะคะ

บทสนทนาที่ ช าวต่ า งชาติ นิ ย มหยิ บ ยกมาคุ ย กั น เพื่ อ ฆ่ า เวลา บนโต๊ะอาหาร คือ What is your favorite dish? (วอท ทิส ยัวร์ 'เฟ-เวอ-ริท ดิช) อะไรคืออาหารจานโปรดของคุณคะ โดยเปลีย่ น dish เป็น menu (เม-นู) รายการอาหาร แทนก็ได้ What kind of food do you like? (วอท ไคด์ ดอฟ ฟูด ดู ยู ไลค์) คุณชอบรับประทานอาหารประเภทไหน ซึง่ คำ�ตอบของทัง้ 2 คำ�นี้ สามารถพูดง่ายๆ ได้เหมือนกันเลยว่า My favorite dish is Chinese chicken rice. (มาย 'เฟ-เวอ-ริท ดิช ชีส 'ไช-นิส 'ชิค-เคินไรส์) จานโปรดของฉันคือข้าวมันไก่ คุณผู้อ่านลองฝึกด้วยตัวเองง่ายๆ ด้วยการเปลี่ยน My favorite dish is… เป็นเมนูต่างๆ ที่คุณชอบ เช่น Papaya salad หรือ ส้มตำ� ก็น่าจะเป็นอาหารโปรดของใครหลายๆ คน ถ้าหากคุณอยากเชิญชวนให้ผฟู้ งั ลิม้ ลองอาหารจานโปรดของคุณ บ้าง ก็พูดได้ง่ายๆ เลยว่า Would you like to taste it? (วูด ยู ไลค์ ทู เทสต์ ทิท) คุณอยากลองชิมนี่ดูหน่อยไหม ซึง่ ถ้าเขา อยากลอง ก็จะตอบกลับมาว่า Yes, please. (เยส, พลีซ) แต่ถา้ ไม่ไหวจะลอง ก็แค่บอกว่า No, thank you. (โน, แธงค คิว) ง่ายๆ เท่านี้เองค่ะ หากคูส่ นทนาของคุณเขาดูจะไม่ถกู ใจอาหารทีค่ ณ ุ แนะนำ� ก็กลับ มาที่ค�ำ ถามพื้นฐานที่เราใช้กันอยู่บ่อยๆ ว่า

14 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

What would you like to have? (วอท วูด ยู ไลค์ ทู แฮฟ) แล้วคุณอยากจะรับประทานอะไรล่ะ ตบท้ายมือ้ อาหาร สิง่ หนึง่ ทีน่ า่ รักมากๆ ทีค่ ณ ุ ไม่ควรจะพลาดเลย หากมี โ อกาสได้ ร่ ว มรั บ ประทานอาหารกั บ ชาวต่ า งชาติ คื อ การชื่นชมอาหาร ให้กำ�ลังใจ พ่อครัว หรือ Chef (เชฟ) ด้วย ประโยคหวานๆ เอาไว้หากินได้นานๆ อย่าง It is very delicious. (อิท ทิส เว-รี 'ดี-ลิ-เชิส) อร่อยมากๆ เลยค่ะ นอกจาก Delicious ('ดี-ลิ-เชิส) แล้วคุณผูอ้ า่ นอาจจะเปลีย่ นเป็น คำ�ง่ายๆ ทีพ่ บได้บอ่ ยๆ บนซองขนม อย่าง Tasty ('เทส-ที) หรือ Yummy (ยัม-มี) ก็ล้วนแปลว่า อร่อย ทั้งนั้นค่ะ อย่าปล่อยให้การไม่กล้าพูดภาษาอังกฤษของคุณ มาทำ�ลาย มื้ออาหารอันแสนโอชะไปอย่างน่าเสียดาย ลองเก็บประโยค หากินง่ายๆ เหล่านี้ไว้ใช้บนโต๊ะอาหาร ในยามที่ต้องร่วมวง กับชาวต่างชาติดูนะคะ ครูพี่แนน อริสรา ธนาปกิจ Enconcept E-Academy: English to the MAX by KruP’Nan! www.facebook.com/krupnan, www.twitter.com/krupnan


วินด์ฟางรงา์มนลม

นวัตกรรมพลั

เป็นที่รู้ๆ กันทั่วไปว่าพลังงานจากฟอสซิลอย่างนํ้ามัน ก๊าซธรรมชาติ หรือถ่านหิน นับวันยิง่ ร่อยหรอ มนุษย์จงึ พยายามคิดค้นพลังงานทดแทนอื่นๆ อย่างการสกัด นํ้ามันจากทรายนํ้ามันหรือสาหร่ายทะเล แต่ยังอยู่ในขั้น เริ่มต้น ยังต้องศึกษาความคุ้มค่าในเชิงพาณิชย์

แต่ทม่ี นุษย์คดิ ค้นมานานแล้วคือ “พลังงานหมุนเวียน” ทีไ่ ด้มาจากกระแสพลังงานทีต่ อ่ เนือ่ งไม่หมดไปและเกิดซ้�ำ ๆ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ� พลังงานชีวภาพ พลังงานชีวมวล หรือแม้แต่เศษอินทรีย์ และขยะมูลฝอย เป็นต้น ในปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนพัฒนาไป อย่างมาก ถึงขัน้ เปลีย่ นรูปให้เป็นพลังงานไฟฟ้า อาทิ ไฟฟ้าพลังน้�ำ ไฟฟ้าพลังงานลม เป็นต้น ประเทศไทยเราเองมีการใช้ประโยชน์จาก พลังงานลมกันมานาน แต่สว่ นมากจะใช้เพือ่ วิดน้�ำ เข้าสูพ่ น้ื ที่ เกษตรกรรม เช่น นาข้าว นาเกลือ เป็นต้น โดยเริม่ มีการนำ� พลังงานลมมาผลิตไฟฟ้าในบางพืน้ ที่

ก้าวทันโลก โดย ติมา

ทั้ ง นี้ มิ ไ ด้ ห มายความว่ า ที่ ไ หนมี ล มจะสามารถผลิ ต ไฟฟ้ า ได้ แต่ ต้อ งขึ้น อยู่กับ เงือ่ นไขหลายอย่าง เช่น ต้อง มีความเร็วลมสูง (ประมาณ ทุ่งกังหัน 8 เมตรต่อวินาที) กระแสลม ลมราห์อ ีนลีก ปร ะเทศไอ ไม่ แ ปรปรวน และพั ด อย่ า ง ร์แลนด์ ต่อเนื่อง สำ�หรับบ้านเรามีอัตราความเร็วลมปกติ อยูท่ ป่ี ระมาณ 1.7 - 3.1 เมตรต่อวินาที และมีอัตราความเร็วลม สูงสุดที่ 2.5 - 4.2 เมตรต่อวินาที ต่�ำ กว่าทีจ่ ะนำ�มาผลิตพลังงาน ทำ�ให้ตน้ ทุนการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากกระแสลมของเรามีตน้ ทุนสูง และสามารถผลิตได้ในพืน้ ทีใ่ กล้ทะเลบางแห่งเท่านัน้ ดังนั้นจึงมีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ท่ี เรียกว่า “ทุง่ กังหันลม” หรือโรงงานลมขึน้ เป็นพื้นที่ซ่งึ ตั้งกังหันลมไว้เป็นจำ�นวนมาก การผลิตกระแสไฟฟ้าจะได้มากหรือน้อย ขึน้ อยูก่ บั จำ�นวนกังหันทีต่ ง้ั อยู่ กังหันลมแต่ละ ้วยบง ังหันลมห ีมา ก ง ่ ุ ท ส ตัวผลิตไฟฟ้าได้ 700 กิโลวัตต์ ถึง 1.8 เมกะวัตต์ จ.นครราช มักจะตัง้ ในชนบททีเ่ ป็นพืน้ ทีโ่ ล่ง ลมพัดสม่�ำ เสมอ กังหันลมที่นิยมใช้ก็คือ กังหันลมแบบเพลานอน ที่มีขนาดเล็ก ไม่สง่ ผลกระทบต่อผูท้ อ่ี ยูอ่ าศัยในบริเวณใกล้เคียงนัก ทุ่งกังหันลมที่ใหญ่ท่สี ุดในโลกคือ ทุ่งกังหันลมราห์อีนลีก (Raheenleagh Wind Farm) ประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งมีจำ�นวน กังหันลม 200 ตัว ผลิตกำ�ลังไฟฟ้าได้รวม 520 เมกะวัตต์ รวมราคา การก่อสร้างอยูท่ ป่ี ระมาณ 24,000 ล้านบาท ส่วนในประเทศไทย ของเราเอง ทุง่ กังหันลมขนาดใหญ่แห่งแรกอยูท่ จ่ี งั หวัดนครราชสีมา ซึง่ มีก�ำ ลังการผลิตสูงสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หวังว่าเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมจะได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ลดต้นทุนการผลิต และช่วยให้มนุษย์โลก ได้ใช้พลังงานสะอาดทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมโดยเร็ววันนะคะ Permalink : http://www.oknation.net/blog/energyclinic

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 15


เคล็ดลับสุขภาพ โดย ปักเป้า

ภัยเงียบที่ต้องใส่ใจ จากรายงานของศูนย์ข้อมูลโรคติดเชื้อและพาหะนำ�โรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบภาวะเลือดจางธาลัสซีเมียมากทัง้ ในไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบผูป้ ว่ ยโรคนี้ และเป็นพาหะนำ�โรคถึงร้อยละ 40-50 คือประมาณ 20-25 ล้านคน ในจำ�นวนนี้มีทั้งผู้เป็นโรคและไม่เป็นโรค (เป็นพาหะ) และจากการตรวจคัดกรองโรคล่าสุด ในเขตพื้ น ที่ แ หลมฉบั ง จำ � นวน 2 ชุ ม ชน คื อ ชุ ม ชนบ้ า นอ่ า วอุ ด ม และชุ ม ชนบ้ า นทุ่ ง พญ.วิลาสลักษณ์ ทะนงศักดิ์สกุล กุมารเวช โรงพยาบาลแหลมฉบัง เผยว่า พบผู้ป่วย และผู้เป็นพาหะโรคเลือดจางธาลัสซีเมียเช่นกัน โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย คือ ภาวะทีร่ า่ งกายมีการสร้างเฮโมโกลบิน ซึง่ เป็นสารสีแดง ในเม็ดเลือดแดงลดน้อยลง ทำ�ให้เม็ดเลือดแดงมีลกั ษณะผิดปกติและแตกง่าย ก่อให้เกิด อาการซีด เลือดจางเรื้อรัง และมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา ผู้ที่เป็นโรคนี้ได้รับ การถ่ายทอดยีนควบคุมการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ผิดปกติจากทั้งพ่อและแม่ พญ.วิลาสลักษณ์ กล่าวว่า ผู้เป็นพาหะ คือ คนที่มียีนโรคเลือดจางธาลัสซีเมียแฝง จะมีรา่ งกายแข็งแรงและสุขภาพดีเหมือนคนทัว่ ไป มองภายนอกอาจไม่รเู้ ลยว่าเป็นพาหะ นอกจากจะตรวจเลือดเท่านัน้ โดยผูท้ เ่ี ป็นพาหะไม่จ�ำ เป็นต้องได้รบั ยาหรืออาหารเสริมใดๆ แต่ต้องใส่ใจเรื่อง การเลือกคู่และวางแผนครอบครัว เพราะสามารถถ่ายทอดโรค เลือดจางไปสู่ลูกหลานรุ่นต่อไปได้ ส่วนผูท้ เ่ี ป็นโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย คือ คนทีไ่ ด้รบั ยีนโรคเลือดจางธาลัสซีเมียจากทัง้ พ่อและแม่ ทำ�ให้มียีนผิดปกติทั้งสองข้าง เนื่องจากโรคเลือดจางธาลัสซีเมียที่พบในไทย มีหลายชนิด และก่อให้เกิดอาการแตกต่างกัน ดังนั้น บางรายอาจมีอาการน้อยมากจน ไม่ต้องรักษาเลย บางรายซีดมากจนต้องให้เลือดและพบแพทย์ประจำ�สม่ำ�เสมอ ซึ่งผู้ที่ เกี่ยวข้องใกล้ชิดทางสายเลือด เช่น บิดา มารดา พี่น้อง บุตร รวมทั้งคู่สมรสควรรับการ ตรวจเลือด เพื่อจะได้ทราบและเข้าใจการถ่ายทอดทางพันธุกรรม อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการวางแผนการรักษาผูป้ ว่ ย แต่ชนิดทีร่ นุ แรงมากจะทำ�ให้ทารกตายตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์ หรือหลังคลอดได้ไม่นาน วิธกี ารรักษา มีทง้ั แบบประคับประคองอาการ โดยกรณีทผ่ี ปู้ ว่ ยมีภาวะซีดมาก จะต้อง รักษาด้วย การถ่ายเลือดประจำ�ทุกเดือน พร้อมกับทำ�การขับธาตุเหล็กออกจาก ร่างกาย อีกวันละกว่า 10 ชั่วโมงไปตลอดชีวิต แต่ถ้าผู้ป่วยอายุน้อยที่ยังไม่มีการ เปลี่ยนแปลงลักษณะกระดูกหน้า และม้ามยังไม่โต การรักษาด้วยวิธีนี้จะทำ�ให้ผู้ป่วย แข็งแรง และมีการเจริญเติบโตแบบเด็กปกติ แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูงมาก เฉพาะค่ายา และค่ า เลื อ ดตกราวๆ หลั ก หมื่ น ต่ อ เดื อ น ทั้ ง นี้ ยั ง ไม่ ร วมค่ า รั ก ษาพยาบาล และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีก

16 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556


การรั ก ษาด้ ว ยการให้ เ ลื อ ดอาจเสี่ ย งกั บ โรค แทรกซ้อน เช่น การติดเชือ้ จากการให้เลือด ได้แก่ ตับอักเสบ เอดส์ (AIDS) มาลาเรีย เป็นต้น แม้ว่า ธนาคารเลือดจะคัดกรองเอาออกไปได้เกือบทัง้ หมด แล้วก็ตาม การแพ้เลือด ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง มีผนื่ คันหลังการได้รบั เลือด ซึง่ เกิดจากปฏิกริ ยิ าของ ร่างกายต่อเซลล์เม็ดเลือดขาว แพทย์มกั ให้ยาแก้แพ้ ป้องกันอาการก่อนให้เลือด ภาวะความดันโลหิตสูง หลั ง จากให้ เ ลื อ ด ผู้ ป่ ว ยจะมี อ าการปวดหั ว อาเจียน หากรุนแรงมากอาจมีเลือดออกในสมอง แพทย์จงึ ต้องวัดความดันให้ผปู้ ว่ ยก่อนและหลังการ ให้เลือดและให้ยาขับปัสสาวะก่อนให้เลือดเพือ่ ป้องกัน ภาวะเหล็กเกิน ผูป้ ว่ ยทีซ่ ดี เรือ้ รังจะมีการดูดซึมธาตุ เหล็กจากอาหารเพิม่ มากขึน้ (เม็ดเลือดแดง 1 มิลลิลติ ร มีธาตุเหล็ก 1 มิลลิกรัม) ธาตุเหล็กเหล่านี้จะตกค้าง ในร่างกายและสะสมในอวัยวะต่างๆ ดังนัน้ ในรายที่ ให้ เ ลื อ ดมากๆ จำ � เป็ น ต้ อ งให้ ย าขั บ ธาตุ เ หล็ ก ร่วมด้วย อีกทางเลือกหนึง่ ทีอ่ าจช่วยให้หายเร็วกว่า แต่มี ความเสี่ยงสูงและค่าใช้จ่ายแพงมาก คือ การปลูก ถ่ายไขกระดูก แต่ใช่ว่าทุกรายจะรักษาด้วยวิธีนี้ได้ เพราะโอกาสจะหาไขกระดูกได้ตรงกับผู้ป่วยนับว่า ยากมาก ทีส่ �ำ คัญ กระบวนการรักษายังไม่ปลอดภัย ร้อยเปอร์เซ็นต์ โอกาสติดเชื้อหรือร่างกายไม่รับ ไขกระดูกใหม่มีสูง ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่ผู้ป่วยและ ญาติๆ ต้องทำ�ใจ เพราะอาจถึงแก่ชีวิตเลยทีเดียว แผนการถ่ายทอดพันธุกรรมธาลัสซีเมีย

แม้วา่ โรคนีร้ กั ษาให้หายขาดได้ยาก แต่ผปู้ ว่ ยไม่ควรตืน่ ตกใจ การปฏิบตั ติ วั ทีถ่ กู ต้องจะทำ�ให้ผปู้ ว่ ยมีชวี ติ อยู่ได้ตามปกติ ดังนี้ • รับประทานผักสด โดยเฉพาะผักใบเขียวทีม่ โี ฟเลทซึง่ จำ�เป็นต่อการสร้างเม็ดเลือด ไข่ นม หรือนมถัว่ เหลืองมากๆ • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น เครื่องในสัตว์ โดยเฉพาะตับและเลือด กุ้ง หอยแมลงภู่ หอยนางรม และ สาหร่ายทะเลที่มีธาตุเหล็กสูงกว่าเนื้อสัตว์ 3-8 เท่า • ดื่มนํ้าชา นํ้าเต้าหู้ หรือนมถั่วเหลือง เพื่อลดการ ดูดซึมธาตุเหล็ก • ควรตรวจฟันทุก 6 เดือน เนื่องจากฟันผุง่าย • หลีกเลีย่ งการทำ�งานหนัก หรือ การเล่นกีฬาทีร่ นุ แรง เนื่องจากกระดูกเปราะหักง่าย • งดดื่มสุรา หรือของมึนเมา • ถ้ามีอาการปวดท้องที่บริเวณชายโครงขวาอย่าง รุนแรง มีไข้และตาขาวมีสีเหลืองมากขึ้น ควรไปพบแพทย์ • ห้ามซื้อวิตามิน แร่ธาตุ หรือผลิตภัณฑ์อาหารเสริม รับประทานเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์เด็ดขาด

เม็ดเลือดแดงของคนปกติ

เม็ดเลือดแดงของผูป้ ว่ ยธาลัสซีเมีย

ที่สำ�คัญคือทุกคนควรตรว คัดกรองว่าตนเปน็ โรคเลือดจ จเลือดเพื่อ าง หรือเป็นพาหะหรือไม่ จะได้ด ธาลัสซีเมีย ูแ วา งแ ผ น ค รอ บ ค รั ว ได้ อ ย่ า ลตนเองและ งถู ก ต้ อ งแ ละ เหมาะสมต่อไป

ที่มา : 1. ศูนย์ข้อมูลโรคติดเชื้อและพาหะนำ�โรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข http://www.thaiclinic.com/thalassemia.html http://health.kapook.com/view4164.html 2. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี th.wikipedia.org/wiki ทาลัสซีเมีย

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 17


ปลอดภัยใกล้ตัว โดย เซฟตี้เกิร์ล

ตั้งสติสักนิด..ก่อนคิดโอนเงิน คงได้ตดิ ตามข่าวจากสือ่ ต่างๆ กันบ้างเรือ่ งการระบาดหนัก ของ การหลอกลวงให้โอนเงินผ่านเอทีเอ็ม ซึง่ มีผตู้ กเป็นเหยือ่ ด้วยความรู้ ไม่เท่าทันจำ�นวนมาก จนธนาคารแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทยต้องออกแถลงการณ์เตือนประชาชน ให้ระมัดระวังตัว ภัยการถูกหลอกให้โอนเงิน ปัจจุบนั มีหลากหลาย รูปแบบ เช่น

• วิธกี ารโทรศัพท์มาหลอกให้โอน เงินกันดือ้ ๆ โดยอาจแต่งเรือ่ งว่าท่านได้ รับรางวัล แต่ตอ้ งเสียภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ก่อนอื่นต้องคิดก่อนว่า เราร่วมรายการ ชิงโชคเหล่านัน้ จริงหรือไม่ ปกติการแจ้ง ผลรางวัลต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อกั ษร และ การจ่ายภาษีเงินรางวัลต้องทำ� เมื่อท่านเดินทางไปรับรางวัลเท่านั้น ดังนัน้ ไม่ควรหวังเงินรางวัลทีม่ จิ ฉาชีพ ล่อลวงจนหลงเชื่อไปโอนเงินให้

• การโทรศัพท์มาแอบอ้างเป็น เจ้าหน้าทีธ่ นาคารจากฝ่ายบัตรเครดิต และแจ้งว่าท่านเป็นหนีบ้ ตั รเครดิต หรือ มีรายการใช้บตั รเครดิตทีห่ า้ งสรรพสินค้า ต่างๆ ขอให้ไปโอนเงินชำ�ระหนี้จำ�นวน นัน้ ๆ ผ่านเครือ่ งเอทีเอ็มหรือให้ฝากเงิน ผ่านเครือ่ งรับฝากเงินอัตโนมัติ ก่อนอืน่ ให้ตรวจสอบข้อมูลก่อนว่า เรามีบตั ร หรือเป็นสมาชิกของธนาคารแห่งนั้น หรือไม่ ถ้าไม่ได้เป็น แสดงว่าไม่ปกติ แล้ว อย่าได้หลงเชือ่ โอนเงินไปเด็ดขาด

• สมาคมธนาคารไทยขอแจ้งข้อ เท็จจริงว่า ธนาคารทุกแห่งไม่มนี โยบาย ในการโทรศั พ ท์ ไ ปแจ้ ง ข้ อ มู ล หรื อ สอบถามข้อมูลการเงินจากลูกค้า หรือ ให้ลกู ค้าไปทำ�รายการแก้ไขข้อมูลใดๆ ผ่านเครือ่ งเอทีเอ็ม หรือเครือ่ งฝากเงิน อั ต โนมั ติ เ ด็ ด ขาด ดั ง นั้ น หากได้ รั บ โทรศัพท์ในลักษณะดังกล่าว อย่าได้หลง เชื่อให้ข้อมูลหรือทำ�รายการใดๆ ตาม ข้อแนะนำ�ของกลุ่มมิจฉาชีพ

• บางรายโทรศัพท์มาหลอกโดยการ ให้ขอ้ มูล ชือ่ ทีอ่ ยู่ เลขทีบ่ ญ ั ชีของเรา อย่างถูกต้อง สิง่ เหล่านีท้ �ำ ให้ผตู้ กเป็นเหยือ่ หลงเชื่อ และจากนั้นก็แจ้งว่า ธนาคาร มีการโอนเงินเข้าบัญชีทา่ นผิด ขอให้ทา่ น ดำ�เนินการโอนเงินจำ�นวนนัน้ คืนธนาคาร ผ่านเครือ่ งเอทีเอ็ม หรือให้ฝากเงินผ่าน เครื่ อ งรั บ ฝากเงิ น อั ต โนมั ติ ซึ่ ง หาก เหตุการณ์เช่นนีเ้ กิดขึน้ จริง ขอให้ทราบว่า ทางธนาคารสามารถ ดำ�เนินการแก้ไขความ ผิดพลาดในการโอน เงินผิดได้เอง โดยทีเ่ รา ไม่ตอ้ งทำ�อะไรเลย

• นอกจากนี้ยังมีกลุ่มมิจฉาชีพทำ�การ ลักลอบคัดลอกข้อมูลบัตร และขโมยรหัส ในขณะทำ�รายการผ่านเครือ่ งเอทีเอ็ม ดังนัน้ เวลาที่ใช้บริการตู้เอทีเอ็ม ให้ใช้มือบังในขณะ กดรหัสทีต่ ู้ และควรเปลีย่ นรหัสบัตรเอทีเอ็มอยู่ เสมอ หากพบสิ่งผิดปกติหรือมีข้อสงสัยใดๆ ในขณะทำ�รายการผ่านเครือ่ งเอทีเอ็ม ควรเลิก การทำ�รายการทันทีและติดต่อสอบถามจาก Call Center ตามหมายเลขที่ติดอยู่บนหน้า เครื่องเอทีเอ็มของแต่ละธนาคาร ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย, สมาคมธนาคารไทย http://hilight.kapook.com/view/24126

18 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556


“ฝ่าสายฝน ยลแดนสมุนไพร ไหว้พระพิฆเนศ ละกิเลสทอดผ้าป่า เสน่หาธรรมชาติ” ฝนโปรยปรายเป็นบางช่วงเวลา ชุม่ ฉํา่ หัวใจกับทัวร์ อสม. เมือ่ วันที่ 21-22 กันยายน 2556 ที่ผ่านมา ก่อนหน้านีท้ งั้ สัปดาห์ฟา้ ฉาํ่ ฝนทัว่ ภาคตะวันออก แต่คณะ อสม.7 ชุมชนรอบเครือไทยออยล์ตดั สินใจ เดินหน้า ด้วยความคาดหวังว่าการ ไปศึกษาดูงานครัง้ นีจ้ ะเป็นประโยชน์ ในด้ า นสร้ า งเสริ ม ความรู้ ท าง สมุนไพรรวมทั้งเรียนรู้ชีวิตพี่น้อง ชุมชนบ้านดงบัง อีกอย่างหนึง่ ทำ�ให้ เกิดการเรียนรูจ้ ากการทำ�กิจกรรม ร่วมกันส่งผลต่อความผูกพันรัก สามั ค คี อั น เป็ น ประโยชน์ ต่ อ กิจกรรมของเรา

CSR โฟกัส

โดย อสม.เจ้าเก่า

ฉันเป็น อสม. คนหนึง่ ทีร่ ว่ มคณะดูงาน ที่ เ ครื อ ไทยออยล์ จั ด ขึ้ น เสมอ ครั้ ง นี้ เราไปทางปราจี น บุ รี แ ละนครนายก อันที่จริงชาว อสม. ในพื้นที่รับรู้เรื่อง สมุนไพรมาบ้าง เป้าหมายของเราอยูท่ ี่ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร และ หมูบ่ า้ นดงบัง ที่โรงพยาบาลฯ ฉันกับเพื่อน อสม. เข้าชม ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ซึ่งมีคุณค่าทั้งทาง สถาปัตยกรรมและประวัตศิ าสตร์ อาคารนีส้ ร้าง ตัง้ แต่ปี 2452 ปัจจุบนั เป็นสถานทีจ่ ดั แสดงพิพธิ ภัณฑ์ การแพทย์แผนไทย วิทยากรของโรงพยาบาล อธิบายให้ความรูเ้ กีย่ วกับสมุนไพรประเภทต่างๆ และสรรพคุณในการรักษาโรค คณะของเราได้รบั ความรูม้ ากมาย อาทิ ต้นเสลดพังพอนตัวเมียใช้ สำ�หรับรักษาโรคเริม ต้นมะระขีน้ กมีสรรพคุณแก้ โรคร้อนใน แก้ไข้ ลดระดับนา้ํ ตาลในเลือด เป็นต้น อีกสถานที่หนึ่งซึ่งให้ความรู้แก่ฉันและเพื่อน อสม. ในด้านสมุนไพร คือบ้านดงบัง ซึ่ง เป็นหมู่บ้านสมุนไพรที่เป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบสมุนไพรให้กับโรงพยาบาลฯ โดยใช้ความรู้ ด้านเกษตรอินทรีย์ มาเพาะปลูกจนได้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีคุณภาพ ปราศจากสาร ปนเปื้อน คนในชุมชนเล่าว่าความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์นี้เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลฯ เป็ น ผู้ ม าเริ่ ม ต้ น แนะนำ � ให้ ทำ � เป็ น ใช้ เ ป็ น และชุ ม ชนพั ฒ นาอย่างเป็นระบบจนได้รับ ความสำ�เร็จ วิถชี มุ ชนทีน่ า่ เรียนรูอ้ กี เรือ่ งหนึง่ ของดงบังคือ สามารถรวบรวมภูมปิ ญ ั ญาด้าน พื ช สมุ น ไพร สื บ ทอดจากบรรพบุ รุ ษ อย่ า งเป็ น ระบบและนำ �มาต่ อ ยอดได้ ปั จ จุ บั น ดำ�เนินการครบวงจรตั้งแต่การปลูกพืชสมุนไพรในแปลงปลูก การตากและอบ การบด

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 19


สถานที่เป็นมงคลที่คณะ อสม. ได้เข้าเยี่ยมชม ได้แก่ วัดพราหมณี อันเป็นวัดเก่าแก่ในนครนายก สร้างขึ้นใน รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รัชกาลที่ 5 พวกเรากราบบูชาหลวงพ่อปากแดง พระประธาน ศักดิส์ ทิ ธิซ์ งึ่ ขึน้ ชือ่ ว่าช่วยให้ผทู้ มี่ าขอพรประสบความสำ�เร็จ ในสิง่ ทีต่ อ้ งการ ฉันกราบขอพรหลวงพ่อขอโปรดดลบันดาล ให้พน่ี อ้ ง อสม. เครือไทยออยล์มคี วามสำ�เร็จในกิจการงาน ดังประสงค์ ฉันมีความเชือ่ มัน่ ว่าพวกเราทีเ่ ดินทางมาศึกษา งานร่วมกันนี้จะได้รับพรที่ดีจากหลวง พ่อปากแดงทุกคน

การแปรรูปสมุนไพรเพือ่ เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน นอกเหนือจากการส่งให้โรงพยาบาลฯ เสียดาย ที่การเข้าชมนี้ถูกรบกวนด้วยฝน ทำ�ให้ศึกษา งานได้ไม่ละเอียด ปัจจุบนั ดงบังกลายเป็นหมูบ่ า้ น ท่องเที่ยวโดยมีสมุนไพรเป็นจุดขาย ได้รบั ความรูด้ า้ นสมุนไพรเต็มอิม่ แล้ว คณะ อสม. มีโอกาสกราบบูชาพระพิฆเนศปูนปั้น ที่ใหญ่ที่สุดในโลกความสูง 9 เมตรที่ อุทยาน พระพิฆเนศ นครนายก ชมพระพิฆเนศปาง ต่างๆ รวม 108 ปางในพิพิธภัณฑ์ และหอ มหาเทพทัง้ 3 ได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ พุทธกับพราหมณ์นนั้ เป็นศาสนาทีใ่ กล้ ชิดกันในวัฒนธรรมความเชื่อ จึงไม่เป็นการ แปลกที่อุทยานนี้จัดสร้างโดยพระราชพิพัฒน์ โกศลหรือหลวงพ่อเณร เจ้าอาวาสวัดศรีสดุ ารา บางขุนนนท์ กทม.

การเดินทางทีจ่ ดั โดยเครือไทยออยล์ เที่ยวนี้นั้น นอกจากพี่น้อง อสม. รอบ เครื อ ไทยออยล์ แ ล้ ว ยั ง มี เจ้ า หน้ า ที่ สำ�นักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครแหลมฉบังทำ�งานเกีย่ วข้อง กั บ อสม. เจ้ า หน้ า ที่ โรงพยาบาล แหลมฉบัง และผูแ้ ทน อสม. จากชุมชน

บ้านนาเก่า ชุมชนบ้านห้วยเล็กและ ชุมชนบ้านแหลมทองร่วมด้วยเช่นเดียว กับสมาชิกสภาเทศบาลฯ ในพื้นที่ 7 ชุมชนบางท่าน ทำ�ให้การเดินทางต้อง ใช้รถบัสใหญ่ 4 คัน สถานทีพ่ กั ของเรา ได้แก่ บ้านป่าริมเขื่อน รีสอร์ท เขื่อน ในที่นี้ได้แก่ เขื่อนขุนด่านปราการชล บ้านท่าด่าน ตำ�บลหินตั้ง อำ�เภอเมือง นครนายก เป็นทีพ่ กั ท่ามกลางธรรมชาติ ของขุนเขา แมกไม้ใหญ่นอ้ ย หอมกลิน่ ดอกไม้ปา่ โชยมาเบาๆ ตามลม และเสียงนํ้าไหล ดังมีเสน่หเ์ ย้ายวน คณะของเราจัดกิจกรรมกลุม่ และบันเทิงร่วมกัน ณ สถานทีจ่ ดั กิจกรรม ของรีสอร์ทในคืนวันที่ 21 มีการตั้งกองผ้าป่าหนึ่งกองเพื่อนำ�ไปถวาย ณ วัดท่าด่าน ซึ่งอยู่ด้านหน้าเขื่อน การทำ�บุญทอดผ้าป่าทำ�ให้ทุกคนมีความสุขกับการเป็นผู้ให้และ ละจากกิเลสหม่นหมองขณะที่อยู่ ในขบวนแห่กองผ้าป่าและระหว่าง พิธกี าร ทัง้ นีส้ ามารถรวบรวมปัจจัย ถวายวัดได้ 40,409 บาท นำ�ไปสมทบ ทุนสร้างโรงครัว การมาศึกษาดูงานครัง้ นีค้ ณะ เราแบ่งกลุ่มลงแพล่องแก่งสร้าง ความใกล้ชดิ กลมเกลียวและเรียนรู้ ซึ่งกันและกันมากขึ้น

20 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556


กิจกรรมที่ฉันประทับใจที่สุดคือ คณะ อสม. ของเราได้แยกกลุ่มกัน ตามชุมชนที่ตนเองสังกัดแล้วสรุปการศึกษาดูงานในกลุ่มย่อย รวมทั้ง เสนอถึงการนำ�ความรูท้ ไี่ ด้จากการศึกษาดูงานครัง้ นีไ้ ปริเริม่ หรือต่อยอด การพัฒนาสุขภาวะในชุมชน โดยที่หลังจากประชุมกลุ่มย่อยเสร็จแล้ว จึ ง มี ก ารรวมกลุ่ ม ทั้ ง หมดและผู้ แ ทนกลุ่ ม ย่ อ ยออกมารายงานผล การประชุมในกลุ่มของตน ส่วนใหญ่ทุกกลุ่มได้รับความรู้ด้านสมุนไพร เป็นหลัก รวมทัง้ ได้เห็นแบบอย่างวิถชี มุ ชนของบ้านดงบังทีพ ่ ฒ ั นาความรู้ จากรุ่นปู่รุ่นย่ามาเป็นการปฏิบัติในปัจจุบัน ทั้งนี้กลุ่มต่างๆ แจ้งว่าได้ แนวทางในการนำ�สมุนไพรมาปรับใช้ด้านการสร้างสุขภาวะของชุมชน ในความรับผิดชอบของแต่ละกลุ่ม

การเดินทางทั้งขาไปและขากลับคณะ ของเราพบกับสายฝนเป็นพักๆ ทำ�ให้อากาศ ในรถหนาว แต่ฉันกลับรู้สึกอบอุ่นและมี ความสุขท่ามกลางเพือ่ น อสม. ฉันเชือ่ ว่า ทุกคนจะหลอมใจรวมกันสร้างสรรค์งาน อสม. ในพื้นที่ให้ก้าวรุดไปข้างหน้าจนประสบผล สำ�เร็จสมกับทีต่ งั้ คำ�ขวัญในการศึกษาดูงาน ครั้งนี้ไว้ว่า

“อสม. มุ่งมั่น ผูกพันพัฒนา สุขภาวะยั่งยืน”

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 21


ปราชญ์ชุมชน โดย คนชุ ฉมาร์มชน

คุณสมสิน สิทธิศรี “อสม.คนเก่ง ปราชญ์ชุมชนวัดมโนรม”

สุภาพสตรีร่างเล็ก ทำ�งานทั้งด้านอาสา สมั ค รสาธารณสุ ข ประจำ � หมู่ บ้ า น (อสม.) เป็ น เวลา 16 ปี และรองประธานชุ ม ชน วั ด มโนรมรวมทั้ ง ตำ � แหน่ ง อื่ น ในอดี ต รวม 19 ปี บ่ อ ยครั้ ง ที่ จ ะเห็ น เธอในชุ ด แต่ ง กาย เรี ย บง่ า ยทำ � กิ จ กรรมเพื่ อ สาธารณะไม่ ว่ า จะเป็ น งานรณรงค์ ป้ อ งกั น ไข้ เ ลื อ ดออกใน ชุมชน งานกิจกรรมให้ความรู้ต่างๆ ที่จัดขึ้น โดยเทศบาลนครแหลมฉบังหรือหน่วยงานอืน่ ทั้งภาคเอกชนและภาคราชการ บ่อยครั้งที่ ผูส้ มั ผัสกับเธอถามว่าคนรูปร่างเล็ก บอบบาง อย่างนีเ้ อาพลังมาจากไหน จึงสามารถทำ�งาน เพื่อประโยชน์ให้ผู้อื่นไม่ว่างเว้น เช้าวันนี้คุณ สมสิ น สิ ท ธิ ศ รี หรื อ ที่ ค นในชุ ม ชนเรียกว่า เจ๊สมสิน ตืน่ แต่หวั รุง่ จัดแจงอาบน้�ำ แต่งกายทะมัดทะแมง แล้ว จัดการงานบ้านอันเป็นกิจวัตรประจำ�วันโดยเร็ว จากนั้นออกไป ยังบ้านใกล้เรือนเคียงพบปะกับเพื่อนบ้านที่นัดหมายล่วงหน้า เพือ่ ให้เป็นผูแ้ ทนชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมประชาคมกับหน่วยงาน ภาคเอกชนแห่งหนึง่ เพือ่ นบ้านในชุมชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลเธอก็ใช้วธิ ี โทรศัพท์ตามเพื่อมิให้ตกหล่นตามเวลานัดหมาย 08.30 น. ซึ่ง รถบัสจะมารับ ณ ทีท่ �ำ การกรรมการชุมชนวัดมโนรม กว่าจะครบ 45 รายทำ�เอาเหงือ่ ตก แต่คณ ุ สมสินยังยิม้ แย้มแจ่มใสทักทายกับ ทุกคนอย่างสดชืน่ หลังจากปฏิบตั ภิ ารกิจส่งผูแ้ ทนชุมชนขึน้ รถสู่ งานกิจกรรมประชาคมเรียบร้อยแล้วคุณสมสินก็ขมี่ อเตอร์ไซค์ไป ประชุมที่เทศบาลฯ เรื่องการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่ปีนี้ชุกเป็นพิเศษ และในฐานะที่เป็น อสม. คุณสมสินพยายาม ปฏิบัติหน้าที่ให้ความรู้ รณรงค์ป้องกัน ร่วมมือทำ�ลายตัดวงจร ชีวิตการแพร่พันธุ์ของยุงลาย รวมทั้งประสานความร่วมมือกับ หน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล สถาบันศึกษาเพื่อนำ�สิ่งที่ดี มาสู่ชุมชน

22 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

คุ ณ สมสิ น ป้ า สมสิ น ของเด็ ก ๆ หรื อ เจ๊ ส มสิ น ของเพื่อนในชุมชน ปัจจุบันอายุ 61 ปี พักอาศัย อยู่ ใ นชุ ม ชนวั ด มโนรม แม้ ว่ า บุ ต รชาย 2 คนจะมี ครอบครัวแล้วแต่ยงั อบอุน่ ด้วยสายใยรัก มีความสุขกับ การดูแลติดตามการเรียนและกิจกรรมของหลานๆ ซึ่ง มีความใกล้ชดิ สนิทสนมกันอยูต่ ลอดเวลา บ่อยครัง้ จะ เห็นคุณสมสินไปเชียร์หลานชายซึง่ เป็นนักฟุตบอลของ ชุ ม ชนที่ ค ว้ า ถ้ ว ยรางวั ล ในการแข่ ง ขั น มาหลายใบ คุ ณ สมสิ น ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ที ม เปตองของชุ ม ชน วัดมโนรม โดยเป็นผู้เล่นร่วมในบางครั้งและบางทีก็ เป็นกองเชียร์ให้ก�ำ ลังใจนักกีฬาข้างขอบสนาม ความประทับใจทีม่ ตี อ่ คุณสมสิน สิทธิศรี คือพร้อม เป็นผู้ให้และพร้อมเป็นผู้ร่วมงานที่ดี ตัวอย่างที่ พบเห็นคือช่วงทีน่ สิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพาและนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี มาลงชุมชนวัดมโนรมเพื่อทำ�การสำ�รวจด้าน เวชศาสตร์นั้น คุณสมสินจะปฏิบัติงานประสานกับ อสม. ในพืน้ ที่ เพือ่ แบ่งสายนำ�นักศึกษาออกเดินสำ�รวจ โดยทำ�หน้าที่เป็นทั้งพี่เลี้ยง เป็นครูชาวบ้านให้กับ นักศึกษา ตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงสิ้นเดือนมกราคม ของปีถดั ไป โดยไม่เห็นแก่ความเหนือ่ ยยาก นับว่าเป็น แบบอย่างอันดียิ่ง ด้านการแสวงหาความรู้ คุณสมสินพร้อมเข้าอบรม ตามหลั ก สู ต รที่ สำ�นัก การสาธารณสุขและ


สิ่งแวดล้อมเทศบาลนครแหลมฉบังจัดขึ้น รวมทั้งการจัด ฝึกอบรมโดยหน่วยงานราชการอื่นๆ ทั้งระดับอำ�เภอและ จังหวัด และสามารถนำ�ความรู้มาพัฒนางาน อสม. ได้ เช่น การเจาะเลือดตรวจเบาหวาน เป็นต้น จึงเป็น อสม. ที่ได้ รับประกาศนียบัตรมากที่สุดคนหนึ่งในพื้นที่ นอกจากนี้ คุณสมสิน สิทธิศรี ยังมีความสนใจ การนวดแผนไทย จึง สมัครใจเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรดังกล่าวที่จัดขึ้น ณ โรงพยาบาลวัดญาณสังวรารามหลายปีกอ่ น ความสนใจต่อ สมุนไพรไทย ทำ�ให้คณ ุ สมสินมีความเข้าใจต่อการเลือกชนิด ของลูกประคบ ซึง่ เป็นเครือ่ งมือหนึง่ สำ�หรับการนวดแผนไทย ที่บางคนเรียกว่านวดแผนโบราณ ในส่วนนี้คุณสมสินให้ ความรู้เพิ่มเติมว่า การนวดแผนไทยแบ่งออกเป็น 2 สาย มาตั้งแต่โบราณ สายแรกเป็นสายราชสำ�นัก สำ � หรั บ นวดให้ เจ้ า นายในอดี ต ผู้ น ว ด จึ ง ต้ อ ง สำ � ร ว ม สุภาพเรียบร้อย มักใช้ การนวดด้ ว ยนิ้ ว มื อ และมือ อีกสายหนึง่ ชื่อว่าสายเชลยศักดิ์

สามารถใช้ศอก เข่า เพื่อช่วย ทุ่ น แรง คุ ณ สมสิ น สิ ท ธิ ศ รี ร่ำ � เรี ย นมาในสายเชลยศั ก ดิ์ คงจะเป็นเพราะเหมาะสมกั บ ตัวเองทีเ่ รือนร่างเล็ก อย่างไรก็ดี เนือ่ งจากภารกิจงานเพือ่ ชุมชน และงาน อสม. รัดตัว ทำ�ให้ คุณสมสินจะทำ�การนวดให้กับ ผู้ที่สมควรบำ�บัดด้วยการนวด แผนไทยจริงๆ ต้องนับถือจิตใจของคุณสมสินทีอ่ ทุ ศิ ตัวเองเพือ่ ประโยชน์สุขของผู้อื่นมาตลอด ด้วยความที่เป็นคนใฝ่รู้ เป็นนักประสาน นักกิจกรรม เป็นนักนวดแผนไทย นักจัดกิจกรรมโครงการ และอีกหลายๆ อย่างทำ�ให้ คุณสมสินไม่เคยหยุดนิง่ อยูเ่ ฉย ปัจจุบนั กำ�ลังเตรียมจัดฝึก กิจกรรมออกกำ�ลังกายด้วยฮูลาฮูบ กระบองและอืน่ ๆ เพือ่ เป็นทางเลือกสำ�หรับคนในชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพ ให้แข็งแรง นอกเหนือจากการออกกำ�ลังกายของผู้อาวุโส ในชุมชนที่ปัจจุบันเน้นที่การเล่นเปตอง

มี อสม. คนเก่งที่เข้มแข็งปานนี้ การทำ�ให้ชุมชน วัดมโนรมเป็นชุมชนสุขภาวะดีคงไม่ไกลเกินเอื้อม ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 23


ปลาหมึกนํ้าดำ�

วัฒนธรรมอาหารการกินบ้านอ่าวอุดม สำ�หรับคนไทยเรานั้นนอกจากข้าว ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอาหาร ในภาพรวมแล้ว กับข้าวของแต่ละพืน้ ทีย่ งั มีความแตกต่างกันตาม แต่ความชอบและวัตถุดบิ ทีม่ ี ชุมชนบ้านอ่าวอุดมเป็นชุมชนทีพ ่ นื้ ที่ ติดกับทะเล ดังนั้นอาหารการกินของคนในบ้านอ่าวอุดม จึงเป็น อาหารที่ประกอบจากสัตว์ทะเล ที่หามาได้จากท้องทะเลอ่าวอุดม แต่ทฉี่ นั ติดใจนักหนา เวลามาแถวชายฝัง่ ทะเลตะวันออกแถบชลบุรี ฉั น จะต้ อ งแวะเข้ า มาในชุ ม ชนบ้ า นอ่ า วอุ ด ม เพื่ อ รั บ ประทาน “ปลาหมึกนํ้าดำ�” รสชาติเฉพาะของบ้านอ่าวอุดม เที่ยวนี้ฉันมี เจ้าจุกมือถ่ายภาพพร้อมเจ้านัทเพื่อนซี้ร่วมทางมาด้วย เคยไปรับประทานต้มหวานปลาหมึก นํ้าดำ�แถวภาคใต้จะออกรสจัดกว่า ตามสไตล์ของคนใต้ แต่ “ปลาหมึก นํ้าดำ�” ที่บ้านอ่าวอุดมนั้นรสไม่จัด แม้จะมีรสหวานนำ� ก็แค่กลมกล่อม ถูกใจคนภาคกลางอย่างฉัน ร้านประจำ� ทีฉ่ นั ชอบมารับประทานเป็นร้านของ ป้าทัศนา สงวนรัตน์ แต่รู้จักกันว่า ร้านป้าพัด ต้องขับรถเข้าไปในบ้าน อ่าวอุดม พอสุดรั้ววัดใหม่เนินพยอม ติ ด กั บ ถนนสายหลั ก ก็ เ ลี้ ย วซ้ า ย ผ่านหน้าโรงเรียนวัดใหม่เนินพยอม ตาม ถนนซ้ายมือยังเป็นกำ�แพงวัดเกือบสุด กำ�แพงมองทางขวามือจะเห็นถนนแคบๆ มี ต้ น เลี ย บใหญ่ อ ายุ ห ลายร้ อ ยปี หากกังวลว่าจะไม่มีท่จี อดรถข้ า งล่ า ง สามารถจอดทิ้งไว้บริเวณนี้แล้วเดิน ลงไปประมาณ 30 เมตร จะถึงร้าน ที่ว่าอยู่ตรงหัวมุมซ้ายมือ

ต่างทำ�รับประทานในครอบครัว ตัวป้าทัศนาเองนัน้ ตัง้ แต่ยดึ อาชีพประกอบอาหารจำ�หน่ายก็เน้นอาหารทะเล โดยใช้ วัตถุดิบจากทะเลบ้านเราเป็นหลัก ที่ขาดไม่ได้ในรายการ อาหารคือ “ปลาหมึกนํ้าดำ�” ยกเว้นวันที่ ไม่มีปลาหมึก ในบ้านอ่าวอุดมมี เรือประมงพืน้ บ้านจำ�นวนหนึง่ ทีเ่ จ้าของเรือยังประกอบ อาชีพประมง สำ�หรับ ปลาหมึกกล้วย ปลาหมึ ก ที่ ใ ช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ นั้ น จะเป็ น ปลาหมึกกล้วย ลำ�ตัวยาวไม่เกิน 2.5 นิว้ บางทีกใ็ ช้ปลาหมึกกะตอย ซึ่งมีขนาดสั้นกว่าปลาหมึกกล้วย แต่ปลาหมึกกะตอยหาได้ยากกว่า

ป้าทัศนา สงวนรัตน์ เล่าว่าเป็น ชาว กทม. มาอยูท่ บี่ า้ นอ่าวอุดมตัง้ แต่ 20 ปีที่แล้ว “ปลาหมึกนํ้าดำ�” นี้เป็น อาหารของทุ ก ครั ว เรื อ นที่ ต่ า งบ้ าน

เคล็ดลับในการทำ�ปลาหมึกนํ้าดำ�ของ ป้าทัศนา สงวนรัตน์ นอกจากจะใช้ปลาหมึกสด ซึ่งรับจากเรือประมงพื้นบ้านในท้องถิ่น นำ�มาล้างนํ้าแบบเบามือ แล้วตั้งนํ้าต้มให้เดือด ใส่เครื่องปรุงเล็กน้อยตามสูตรประจำ�ตัว ใส่นํ้าตาลนิดหน่อยและเกลือ เพื่อให้พอมีรสเค็ม ปนหวานซึง่ เป็นความหวานของปลาหมึกสดเป็นหลัก ต้มเคีย่ วพอได้ท่ี ควบคุมไฟให้แรงพอเหมาะ

ตอนที่ฉันกับเพื่อนแวะร้านป้าทัศนา สงวนรัตน์ มีหนุ่ม (หล่อ) ชาวประมงลูกบ้านอ่าวอุดมอยูด่ ว้ ย เลยได้รบั ความรูเ้ พิม่ เติมมาว่า ปลาหมึกกล้วยจะรวมตัวเป็นฝูง ว่ายนํ้าได้เร็วโดยมีหนวดสิบเส้น แต่จะมีคู่หนึ่งที่ยาวกว่าเส้นอื่น ใช้สำ�หรับล่าเหยื่อซึ่งเป็นสัตว์นํ้าที่ เล็กกว่าเป็นอาหาร สามารถพบได้ไม่ไกลจากชายฝัง่ ความทีป่ ลาหมึกกล้วย ชอบแสงจากดวงไฟ จึงสามารถใช้ไฟล่อจับได้ทั้งฝูงที่ไปมาพร้อมกัน

24 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

ปลาหมึกกะตอย


ของดีบ้านเรา

โดย แม่ส้มเช้ง หลานป้าคนศรี

"...ภาคภูมใิ จในวัฒนธรรมอาหารของ บ้านอ่าวอุดมทีแ่ สดงออกแบบตรงไปตรง มาเปิดเผย เหมือนอย่างปลาหมึกนํา้ ดำ�ที่ อร่ อ ยถู ก ปาก โดยไม่ ต้ อ งโรยผั ก ซอย ลอยหน้าให้ดูงาม"

ก็ยกหม้อลงเตรียมเสิร์ฟได้ โดยไม่ใช้ต้นหอม หรือผักชีโรยหน้า ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ต้องเป็นปลาหมึกสด ขึน้ จากทะเลไม่ใช้ปลาหมึกแช่แข็งเพราะจะทำ�ให้ เหม็นคาวและไม่อร่อย สำ�หรับลูกค้าหากชอบ หวานสามารถเติ ม นํ้ า ตาลปรุ ง แต่ ง ได้ ต าม อัธยาศัย

อ ด ไ ม่ ไ ด้ ที่ จ ะ ถ า ม ถึ ง ที่ ม า ข อ ง ปลาหมึ ก นํ้ า ดำ � ว่ า ใครเป็ น ต้ น ตำ � รั บ ป้าทัศนาผูใ้ จดีตกั ปลาหมึกนาํ้ ดำ�และอาหาร ทะเลอืน่ ๆ พร้อมข้าวใส่จานให้ทมี งานฉัน ได้ชิมอร่อยลิ้นกันถ้วนหน้า รสชาติของ ปลาหมึ ก นํ้ า ดำ � เข้ า ขั้ น สุ ด ยอดอาหาร จนเจ้าจุกมือกล้องต้องตักข้าวชามที่สอง พี่ประมงหนุ่ม(หล่อ)ที่ไม่ยอมบอกชื่อ เสียงเรียงนามและไม่ยอมให้ถ่ายภาพ อธิบายเชิงวิเคราะห์วา่ น่าจะเป็นชาวประมง ที่ อ อกไปหาปลาเป็ น คนพบสู ต รนี้ จากการปรุงอาหารกินกันในเรือประมง พอได้ปลาหมึกมาก็ต้มนํ้าให้เดือด ใส่ เครื่องปรุงรสง่ายๆ เท่าที่มีในเรือ เช่น เกลือ นาํ้ ตาล หอม พริกไทย ปรากฏว่า กลายเป็ น อาหารที่ อ ร่ อ ย จึ ง เกิ ด การ เผยแพร่ออกไป เมือ่ เป็นอาหารขึน้ ชายฝัง่ คงจะมี ก ารลองผิ ด ลองถู ก ด้ ว ยการใช้ ปลาหมึกขนาดต่างๆ บ้าง ปลาหมึกแช่แข็ง บ้าง หรือบางที่อาจปรุงรสให้เข้มขึ้นบ้าง ทำ�ให้ได้ปลาหมึกนา้ํ ดำ�ตามสูตรของแต่ละ ท้องถิ่น สำ�หรับบ้านอ่าวอุดมของเรา ถ้า เป็นปลาหมึกนํ้าดำ�จะมีรสชาติประมาณ ร้านนี้ ฉันกับทีมงานขับรถออกจากบ้านอ่าวอุดมเวลาใกล้เที่ยง เจ้านัทเพื่อนซี้ของฉัน ดูจะถูกใจความเป็นกันเองของพี่ประมงหนุ่ม จนร่ำ�ลากันด้วยรอยยิ้มน้อยใหญ่ ส่วนเจ้าจุกช่างภาพเก็บรูปพอประมาณ แล้วบอกฉันว่าอร่อยกับปลาหมึกนํ้าดำ� จนชักจะจุกอยากนอนสักพักจุงเบย ลาก่อนนะทะเลอ่าวอุดม ลาก่อนค่ะคุณป้าทัศนา สงวนรัตน์ สุดยอด แม่ครัวผูใ้ จดี แล้วฉันจะกลับมาเยือนอีกเพื่อเรียนรูข้ องดี คนดีและคุณงาม ความดีในบ้านอ่าวอุดมของเรา...

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 25


รักษ์สิ่งแวดล้อม โดย คนนอกวัด

วัดศรีวนาราม

“แบบอย่างของการรักษ์สิ่งแวดล้อมในทางพุทธศาสนา” วัดศรีวนารามหรือวัดบ้านนาใหม่ ตัง้ อยูร่ มิ ถนนสุขมุ วิท ในชุมชนบ้านนาใหม่ เทศบาลนครแหลมฉบัง เป็นวัดพัฒนา ตัวอย่างของกรมการศาสนาและเป็นสถานปฏิบตั ธิ รรม วัดแห่งนีด้ แู ลทัศนียภาพภายในวัดได้อย่างสมดุลระหว่าง ถาวรวัตถุกบั ต้นไม้ ทำ�ให้เมือ่ ย่างเท้าเข้าสูบ่ ริเวณวัดแล้ว จะพบกับความสงบทีเ่ ย็นตา เย็นใจมีแต่ความสดชืน่ รืน่ รมย์ แท้จริงแล้วพุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม และธรรมชาติแยกกันไม่ออกมาตัง้ แต่พทุ ธกาล พระพุทธเจ้าจำ�พรรษา ณ สวนป่า ถ้�ำ ภูเขา หลายแห่งกว่าครึ่งของพระชนม์ชีพ อาทิ พรรษาที่ 1 ที่ ป่ า อิ สิ ป ตนมฤคทายวั น เมืองพาราณสี พรรษาที่ 6 ณ ภูเขามกุละ พรรษาที่ 8 ณ ป่าไม้สีเสียดแคว้นภัคคะ พรรษาที่ 10 ณ ป่าปาลิเลยยกะ แคว้นวังสะ พรรษาที่ 19 ณ ภูเขาจาลียะ นอกจากนี้ ขณะที่จำ�พรรษาในเมืองอื่นๆ ก็มักจะเป็น

บริเวณสวนป่าต่างๆ เช่น สวนป่าเวฬุวนาราม สวนป่ า เชตวั น เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยั ง มี บทบัญญัติทางวินัยสงฆ์อีกหลายเรื่องที่ ห้ามทำ�ลายธรรมชาติ เช่น ห้ามพรากของ เขียวออกจากต้น (ใบไม้) ห้ามถ่มนาํ้ ลายลง แม่นํ้าลำ�คลอง เป็นต้น พุทธศาสนาจึงเป็น ศาสนาที่มีส่วนในการรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

ความที่เป็นวัดกลางชุมชนใกล้เคียงแหล่งอุตสาหกรรม แหล่งศึกษา แหล่งท่องเที่ยว พระอาจารย์ค�ำ นึง บำ�รุงศิลป์ (พระครูนวิ ฐิ ศรัทธาคุณ) เจ้าอาวาสวัดศรีวนารามและ เจ้าคณะตำ�บลบางละมุงจึงมีความมุง่ มัน่ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและปฏิบตั ธิ รรม โดยค่อยๆ พัฒนาวัดเรื่อยมาตั้งแต่เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2528 ร่วมกับญาติโยมช่วยกันสร้าง ช่วยกันทำ� เน้นประโยชน์ให้ใช้งานได้จริง เรียบง่าย แต่สวยงามเหมาะจะเป็นแหล่งปฏิบตั ธิ รรมในอนาคต อันทีจ่ ริงท่านเริม่ รักษาการเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี 2525 หลังจากอุปสมบทได้ 2 พรรษา และเริ่มก่อสร้างพระอุโบสถตั้งแต่ปีนั้นจน มาเสร็จสิ้นในปี 2535 ทำ�พิธีผูกสีมาในปี 2537 จากนั้นลงมือสร้างพระธาตุเจดีย์ เพื่อ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่อัญเชิญมาจากประเทศศรีลังกา ต่อมาได้จัดสร้างถาวรวัตถุ กระทั่งเป็นวัดที่สมบูรณ์ในปัจจุบัน ครบถ้วนด้วยเขตพุทธาวาสอันประกอบด้วย อุโบสถ เจดีย์ เขตธรรมาวาส อันได้แก่ วิหาร ศาลาการเปรียญ เขตสังฆาวาส ประกอบด้วยกุฎี ที่อยู่พระสงฆ์ นอกจากนี้ยังมีลานธรรมและเรือนรับรองสำ�หรับผู้ปฏิบัติธรรมแยกชายหญิงเรือนละ 100 คน ในการก่อสร้างพระอาจารย์จะเน้นเรื่องการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ด้วยการจัด ภูมิทัศน์รายรอบบริเวณต่างๆ เพื่อให้ผู้เข้าวัดและผู้เข้าฝึกอบรมปฏิบัติธรรมมีความ สุขใจสุขกาย เห็นธรรมชาติและการอยู่ร่วมกันเป็นสิ่งรื่นรมย์อันเป็นสภาพแวดล้อมที่ดี เป็นแรงจูงใจให้สามารถปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ทั้ง กาย วาจา ใจ

26 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556


ก้าวแรกทีย่ า่ งผ่านประตูวดั จะเห็นลานธรรม ที่ร่มรื่น มีไม้ใหญ่ ก้อนหิน พระพุทธรูปจัดวาง อย่างลงตัว มองไปทางด้านซ้ายเห็นเสาหลัก พระธรรม ศาลาการเปรียญสองชั้นที่ใช้เป็น สถานที่ปฏิบัติธรรม มองไปทางด้านขวาเป็น อุโบสถ และพระธาตุเจดีย์ มีการจัดภูมิทัศน์ สวยงาม และมีการดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพ เรียบร้อยสวยงามตลอด ทราบจากญาติโยม ่ในวัดว่า เดี๋ยวนี้มีพุทธศาสนิกชนชาวไต้หวัน เข้ามาสักการะพระพุทธรูปและพระบรมสารีรกิ ธาตุ บ่อยๆ กิจกรรมสำ�คัญของวัดนอกเหนือจากการ ประกอบพิธีทางศาสนาทั่วไป ทางวัดยังมีการ จัดโปรแกรมปฏิบัติธรรมบ่อยครั้ง โดยทั่วไป ทุกวันอาทิตย์จะมีญาติโยมส่วนหนึง่ ในชุมชนเข้า มาปฏิบัติธรรมเป็นประจำ� ในวันธรรมสวนะ (วันพระ) นอกจากญาติโยมในชุมชนแล้ว ยังมี ญาติ โ ยมผู้ ศ รั ท ธาจากที่ อื่ น ๆ เข้ า มาร่ ว ม ปฏิบัติธรรมจำ�นวนมาก นอกจากนี้ยังมีการจัด อบรมปฏิบัติธรรมให้กับหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานเอกชนเป็นหลักสูตร 3 วัน 2 คืนตาม แต่องค์กรต่างๆ จะติดต่อเข้ามา ปัจจุบันทางวัดศรีวนารามได้ปลูกป่าเป็น สำ�นักปฏิบัติธรรมอีก 2 แห่งใน ต.ตะเคียนเตี้ย อ.บางละมุง เนือ่ งจากผูม้ จี ติ ศรัทธาเห็นความงาม

ของต้นไม้ในวัดและเล็งเห็นความสำ�คัญของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจึงถวาย ทีด่ นิ ให้วดั ซึง่ ทางวัดร่วมกับประชาชนทัว่ ไปและชุมชนช่วยกันปลูกต้นไม้เป็นรุน่ ๆ ในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ยังมีหลายบริษัทที่ประสงค์จะปลูกฝังจิตสำ�นึกรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดโครงการไปร่วมปลูกป่าเป็นประจำ� พระอาจารย์ ป ระยุ ท ธ์ ปยุ ต. โต ปราชญ์ แ ห่ ง พุ ท ธศาสนาเคยกล่ า วไว้ ว่ า “คนและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อยู่ภายใต้กฎของธรรมชาติอันได้แก่การเกิด แก่ เจ็บ และตาย ถ้าทุกชีวิตอยู่ด้วยกันอย่างผสานผสมกลมกลืน จะทำ�ให้ไม่เกิด การรบกวนสิทธิผอู้ นื่ ” และ “พระพุทธเจ้าสอนให้คนใช้ธรรมชาติในการพัฒนา จิตใจ พฤติกรรม และศีลธรรมของตนเอง ดังนัน้ คนต้องเรียนรูก้ ารใช้ทรัพยากร อย่างฉลาด” วัดศรีวนารามมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความลงตัวระหว่างสิ่งปลูกสร้างและต้นไม้ รายรอบ น่าลองไปปฏิบัติธรรมทำ�ตนผสมกลมกลืนกับสิ่งเหล่านั้น แล้วจะพบว่า ความสุขอยู่ไม่ไกลจากเราเลย

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 27


เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน โดย นํ้าค้าง

มนต์เสน่ห์ “ดงบัง” หมู่บ้านท่องเที่ยวสมุนไพร …ใครได้ ไปแล้วต้องไปอีก หากใครไม่คอ่ ยมีเวลาไปเทีย่ วไกลๆ หรืออยากจะเทีย่ วแบบสบาย ชิลๆ ในรัศมีไม่เกิน 200 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ แบบไปเช้าเย็นกลับ เดี๋ยวนี้มีแหล่งท่องเที่ยวหลายๆ ที่ ส่วนใหญ่จะเป็นตลาดนํา้ ตลาดโบราณแบบตลาด 100 ปี ทีม่ อี าหารการกินแบบย้อนยุค มาขาย แต่มีสถานที่หนึ่งที่อยากเชิญชวนให้ลองไปดู ไปแล้วนอกจากจะได้ความรู้ เรือ่ งสุขภาพแล้ว ยังจะได้ชมิ อาหารสุขภาพจากวัตถุดบิ ธรรมชาติปลอดสารพิษในท้องถิน่ ใครที่เคยไปแล้วยังบอกว่าอยากจะไปอีก เพียงชั่วเวลาไม่กี่ปี “ดงบัง” กลายเป็นที่รู้จัก ของคนทัว่ ไป เพราะแหล่งท่องเทีย่ วสมุนไพรเกษตร อินทรียน์ านาชนิดกลายเป็น “จุดขาย” ของหมูบ่ า้ น ทีเ่ กษตรกรทัว่ ประเทศต้องมาศึกษาดูงาน จากจุด เริ่มต้นในปี 2543 เพียงแค่ 5 ปี หมู่บ้านดงบัง สามารถยกระดั บ จากหมู่ บ้ า นธรรมดาๆ เป็ น “หมู่บ้านท่องเที่ยวสมุนไพร” ในปี 2548

หมูบ่ า้ นเล็กๆ แห่งนีช้ อื่ ว่าหมูบ่ า้ น “ดงบัง” ตัง้ อยูใ่ นตำ�บลดงขีเ้ หล็ก อำ�เภอ เมือง จังหวัดปราจีนบุรี ดงบังเป็นหมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วสมุนไพรทีเ่ กิดจากภูมปิ ญ ั ญา ของชาวบ้าน ซึ่งนำ�ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรสืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นปู่ ย่า ตา ยาย หลายชั่วอายุคนมาใช้ในการเพาะปลูกและแปรรูปสมุนไพร โดยได้นำ� ความคิดการปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์ ที่ได้รับคำ�แนะนำ�จากเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรมาใช้

28 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

หากใครมีโอกาสไปเยือน จะได้เห็นวิถชี วี ติ ของ ชาวบ้านในหมู่บ้านท่องเที่ยวสมุนไพร ได้เรียนรู้ ว่าทำ�อย่างไรพืชผักที่ปลูกโดยปราศจากสารเคมี ถึงได้ออกดอกออกผลเจริญงอกงาม ได้รู้และทึ่ง ในสรรพคุณต่างๆ ของสมุนไพรแต่ละตัวทีไ่ ม่เคยรู้ มาก่อน ชาวบ้านและไกด์ตัวน้อยๆ ที่เป็นลูกๆ หลานๆ จะพาทัวร์ไปรอบๆ หมู่บ้าน พาไปชม แปลงเพาะปลูกพืชผักสมุนไพรนานาชนิด ไปเรียนรู้ การปลู ก ไปดู โ รงตากและอบสมุ น ไพรที่ ใ ช้ ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ ไปดูโรงบด สมุนไพรก่อนที่จะนำ�ไปแปรรูป


ต่อด้วยการชมกระบวนการแปรรูป สมุ น ไพรให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ เช่น นํา้ พริกสมุนไพรหญ้าปักกิ่ง สะเดาอบแห้ง นํ้ามันเหลือง ลูกประคบสมุนไพรชนิดแห้ง ชุดสมุนไพรสำ�หรับอบตัว และโรงทำ�ปุย๋ หมัก เรียกว่าไปดูแบบครบวงจรกันทีเดียว

แต่ที่เป็นเสน่ห์ในการทัวร์บ้านดงบัง ที่ ทำ�ให้หลายคนไปแล้วติดใจจนไม่อยากกลับ เมือ่ ได้ชมิ เมนูเลิศรส ทีบ่ รรดาแม่ครัวหัวป่าก์ ซึง่ เป็นแม่บา้ นในหมูบ่ า้ น เอาพืชผักสมุนไพร มาปรุงเป็นอาหารจานเด็ดมาจำ�หน่ายให้ นักท่องเที่ยวได้ชิมกัน

นอกจากรสชาติอร่อยอย่างไม่น่าเชื่อ แล้ ว ยั ง เป็ น อาหารบำ � รุ ง สุ ข ภาพซึ่ ง มี คุณค่าทางโภชนาการ อย่างยำ�ผักกระสัง ซึง่ ไม่เพียงแต่อร่อยถูกปาก ยังมีคุณค่าทาง อาหารเหมาะกับคนทีต่ อ้ งการลดความอ้วน และมีสรรพคุณต้านอนุมลู อิสระ อีกเมนูท่ี ขึน้ ชือ่ ถูกปากนักชิมไม่แพ้กันคือ แกงไพล ม่วงกับปลาดุก รสชาติกลมกล่อม และยัง มีสม้ ตำ�ลูกยอ ยำ�ใบบัวบก แกงขีเ้ หล็ก นํา้ พริก ปลาทูสด เครือ่ งดืม่ สมุนไพรก็มหี ลากหลาย เช่น นํ้าหญ้าปักกิ่ง ชุมเห็ดเทศ มะตูม กระเจีย๊ บแดง กระชาย รางจืด อัญชัน และ ยังมีอีกหลายอย่างให้เลือกชิม เลือกซื้อ ตามใจชอบ

หากใครเดินชมรอบหมู่บ้านจนรู้สึกเมื่อยล้า ปวดแข้งปวดขา อยากพักผ่อนแบบ สบายๆ ทีน่ มี่ กี จิ กรรมหลายอย่างให้เลือก แต่อยากจะแนะนำ�บริการสปาเพือ่ สุขภาพ จะมีทั้งนวดฝ่าเท้า นวดแผนไทย อบตัว และประคบสมุนไพร ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ล้วนมาจากผลผลิตสมุนไพรในหมู่บ้าน หากอยากจะ ค้างคืนก็มโี ฮมสเตย์ไว้บริการ รับรองหากใครได้ไปสัมผัสจะหลงเสน่ห์ หมู่บ้านเล็กๆ แห่งนี้ ที่ไม่ได้มีแค่องค์ความรู้ ที่ใครไปจะได้มา จนแบกกลับไม่ไหว หรือเสน่หป์ ลายจวักของแม่ครัวหัวป่าก์เท่านัน้ แต่ยังจะประทับใจแบบไม่รู้ลืมกับนํ้าใจใสซื่อที่ชาวบ้านดงบัง มอบให้ผู้มาเยือนทุกๆ คน จนหลายคนต้องไปซ้ำ�แล้วซ้ำ�อีกชนิด ไม่รู้เบื่อแม้แต่นิดเดียว

แหล่งที่มา: http://www.yourhealthyguide.com/travel/tn-dongbang.htm

Welcome to Bandongbang

ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 29


คงคาคารวะ

ธรรมะ

โดย กองบรรณาธิการ

คนไทยมี ชี วิ ต ผู ก พั น อยู่ กั บ สายนํ้ า มาแต่ ค รั้ ง บรรพกาล โดยเฉพาะคนไทยทีอ่ าศัยอยูใ่ นแถบทีร่ าบลุม่ ภาคกลาง มีแม่นา้ํ ใหญ่ หลายสายเป็นเส้นเลือดหล่อเลีย้ งชีวติ ทัง้ เพือ่ การอุปโภค บริโภค และทำ�เกษตรกรรมซึง่ เป็นอาชีพหลักของคนไทยมาช้านาน

“นํ้า”

จึ ง เป็ น ปั จ จั ย สำ � คั ญ ของวิ ถี ชี วิ ต คนไทย ทั้ ง ในอดี ต ที่ ดำ � รงชี วิ ต ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมเป็ น หลั ก จนถึงปัจจุบนั ล้วนต้องพึง่ พานํา้ จากธรรมชาติ ชาวไทยจึงนับถือนํา้ เปรียบเสมือนแม่เสมอมา และยกย่อง เทิดทูนเป็นพระแม่คงคา ผู้ซึ่งมีคุณอเนกอนันต์ต่อทุกสรรพชีวิต

สังคมไทยของเราจึงมีขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วกับสายนาํ้ สืบต่อกันมาประเพณี ที่สำ�คัญคือ การบูชาและขอขมาพระแม่คงคา ใน วันเพ็ญเดือนสิบสองในประเพณีลอยกระทงทีก่ ระทำ� สืบต่อกันมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย โดยเป็นทีร่ กู้ นั ว่าประเพณี ลอยกระทงนี้ จัดขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค์สามประการ คือ ประการแรกเพื่อบูชาพระเกศแก้วจุฬามหาสวรรค์ ชัน้ ดาวดึงส์ ประการทีส่ องเพือ่ บูชารอยพระพุทธบาท ทีป่ ระดิษฐาน ณ ริมฝัง่ แม่นา้ํ นัมมทานที และประการ สุดท้ายเพือ่ บูชาต่อพระแม่คงคา ที่ให้เราได้อาศัยนํ้า ดื่ม กิน และชำ�ระล้างสิ่งสกปรก รวมทั้งเพื่อเป็นการ ขอขมาหากว่าเราได้กระทำ�การล่วงเกินทิ้งสิ่งปฏิกูล ต่างๆ ลงในแม่นํ้าลำ�คลอง นอกจากนี้ยังมีการขอพร ต่อพระแม่คงคาเพือ่ ให้สมหวังในสิง่ ทีป่ รารถนาอีกด้วย

นับแต่อดีตการบูชาและขอขมาต่อพระแม่คงคา จะใช้กระทงเป็นเครื่องบูชา ประดิษฐ์ขึ้นจากวัสดุ ธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วย ใบตอง และดอกบัว เป็นกระทงอย่างสวยงาม พร้อมด้วยเครื่องสักการะ บูชา ได้แก่ ธูป เทียน และดอกไม้ ในการขอขมา บางธรรมเนียมจะกล่าวบูชารอยพระพุทธบาทก่อน โดยกล่าวคำ�บูชา ดังนี้

30 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

“มะยัง อิมนิ า ปะทีเปนะ อะสุกายะ นัมมะทายัง นะทิยา ปุลเิ น ฐิตงั ปาทะวะลัญชัง อภิปูเชมะ อะยัง ปะทีเปนะ มุนิโน ปาทะวะลัญชัสสะ ปูชา อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ” ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาซึ่งรอยพระพุทธบาท ที่ตั้งอยู่เหนือหาดทรายใน แม่นํ้าชื่อนัมมทานทีด้วยประทีปนี้การบูชารอยพระพุทธบาทด้วยประทีปนี้ ขอจงเป็นไปเพือ่ ประโยชน์และความสุขแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย ตลอดกาลนานเทอญ จากนัน้ จึงกล่าวบูชาและขอขมาต่อพระแม่คงคาทีไ่ ด้ยงั ประโยชน์ตอ่ ชีวติ และ ขอขมาในสิง่ ทีล่ ่วงเกิน พร้อมขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคล สำ�หรับชาวบ้านที่มีวิถีผูกพันอยู่กับสายนํ้าโดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวเกษตรกรในแถบภาคกลาง การลอยกระทง ถือเป็นพิธสี �ำ คัญทีจ่ ะละเว้นเสียมิได้ เพราะการได้บชู าและ ขอขมาต่อนํา้ ทีห่ ล่อเลีย้ งให้ได้มีกินมีใช้นั้น ถือเป็น เรื่องยิ่งใหญ่อันแสดงให้เห็นถึงความเคารพ ในธรรมชาติ ที่ ไ ด้ เ อื้ อ ประโยชน์ ต่ อ ชี วิ ต ทัง้ หลายให้สามารถดำ�รงอยูไ่ ด้ และด้วย ความเคารพนบนอบต่อธรรมชาติ นี้ มนุษย์จึงอาศัยอยู่กับธรรมชาติอย่าง สมดุลและใช้ธรรมชาติอย่างพอเพียง


“หาจุดต่าง” สนุกสนานไปกับเกมส์จับผิด Photo Hunt

1

ลับสมองลองเล่นเกม โดย กองบรรณาธิการ

หลังจากที่ได้รว่ มกิจกรรมกับพีน่ อ้ งชาว อสม. 7 ชุมชนรอบเครือไทยออยล์เมือ่ ช่วงเดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา นอกจากความรูม้ ากมายเกีย่ วกับ เรื่องสมุนไพรจากโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและหมู่บ้านดงบังแล้ว เรายังได้ความประทับใจและความสนุกสนานร่วมกัน ลับสมองลองเล่น เกมฉบับนี้ จึงขอเชิญชวนทุกท่านมาเล่นเกมจับผิด Photo Hunt หาจุดแตกต่างของภาพบรรยากาศภายในงานกันครับ

กติกา ใช้สายตาเหยี่ยวของเพื่อนๆ หาความ แตกต่างของภาพแก็งค์สาวๆ ชาว อสม. ลอง สังเกตดูความแตกต่างระหว่างภาพที่ 1 และ ภาพที่ 2 ขอใบ้ให้นิดนึงว่ามีความแตกต่าง กันอยู่ 5 จุด วงกลมจุดทีแ่ ตกต่างทัง้ 2 ภาพ แล้วส่งคำ�ตอบมาที่ • แผนกบริหารงานชุมชน ศูนย์สขุ ภาพ และการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน (ชุมชนรอบโรงกลัน่ ใส่กล่องเล่นเกมได้ทศ่ี นู ย์สขุ ภาพฯ)

• แผนกกิ จ การเพื่ อ สั ง คมและ ภาพลักษณ์องค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ � กั ด (มหาชน) สำ � นั ก งานกรุ ง เทพฯ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้ น 11 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900

2

ชือ่ ........................................................... นามสกุล.................................................... ที่อยู่........................................................ ............................................................... หมดเขตภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 ผู้ โชคดี ที่ ต อบคำ � ถามได้ ถู ก ต้ อ ง จำ � นวน 10 ท่านรับรางวัลของเราไปเลยครับ

เฉลย เกม “คำ�ทักทายของประเทศในกลุ่มอาเซียน” ไทย

4

สาธารณรัฐสิงคโปร์

9

มาเลเซีย

1

ราชอาณาจักรกัมพูชา

7

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

6

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

2

เนการาบรูไนดารุสซาลาม 1

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

3

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

5

8

รายชือ่ ผูต้ อบคำ�ถามถูกต้อง เกม “คำ�ทักทายของประเทศในกลุม่ อาเซียน” จากฉบับที่ 20 1. คุณดำ�รง ศรีประภานุมาศ 6. คุณปัญญา ธรรมดี 2. คุณนนทกร สว่างศรี 7. คุณมรกต ภาณุวาทกุล 3. คุณนฤมล บุญสร้างสม 8. คุณศรีวรรณ เล็กโสภา 4. ด.ช.ปฏิภาณ หาระโครต 9. ด.ญ.อนันตญา ทองฉวี 5. คุณปริณาห์ นพน้อม 10. คุณอภิรัตน์ บุรุษวยากรณ์ ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556 31


2

งา นำงาสด

มาตำแลวบีบ น�ำมันออกโดยไมตอง ผานความรอน ใชทา บำรุงผิว ใหชุมชื่น สวยผุดผอง

7

สมุนไพร พ�ชิตผิวแหง

1

วานหางจระเข ปอกเปลือก

แลวลางยางสีเหลืองออกใหหมด ใชวุนใสทาผิวเปนประจำ ชวยใหผวิ พรรณชุม ชืน่ มีนำ� มีนวล และยังชวยกระตุนการเกิดใหม ของเนื้อเยื่อที่เสื่อมโทรมอีกดวย

3

แตงกวา

ชวยลอกผิวหนัง ที่หยาบกรานใหหลุดออก ไดงายๆ เผยผิวใหมมาแทนที่ สามารถใชไดทั�งน�ำแตงกวา และผลสด

4 5

มะเขือเทศ มีฤทธิ์

ฆาเชื้อรา และแบคทีเรีย สามารถนำมาใชรักษาสิว ชวยลดอาการอักเสบ และสมานผิวหนาใหเตงตึง

ขมิ�นชัน มีฤทธิ์ยับยั�งการเจริญเติบโต ของเชื้อแบคทีเรีย ใชบำรุงผิวพรรณ บรรเทาอาการผดผื่นคัน

6

น�ำผึ้ง ใชพอกผิวหนา

เพ��มความชุมชื่น เปลงปลั�ง อีกทั�งยังชวยบำรุงหนังศีรษะ และกระตุนการงอก ของเสนผมอีกดวย

7

มะขามเปยก มีฤทธิ์เปนกรดออนๆ

32 ชุมชนของเรา | กันยายน - ตุลาคม 2556

ชวยขจัดสิ�งสกปรกจากผิวหนังไดดี ผสมน�ำอุนและนมสดพอกผิวหนัง ลดรอยดานและผิวหมองคล�ำ ใหจางลงได


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.