หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช

Page 14

หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ณรงค์ หิตโกเมท

หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป. นศ.๓

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

บับที่แล้วได้กล่าวถึงปัญหาด้านต่างๆ ของโรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ ปัญหา ด้านคุณภาพนักเรียน ปัญหาด้านงบประมาณ และปั ญ หาด้ า นบุ ค ลากร และผม ได้ตั้งประเด็นค�ำถามว่า “แล้วเราจะช่วย แก้ปัญหาเรื่องนี้อย่างไร” ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก�ำหนด แผนการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการศึ ก ษา โรงเรียนขนาดเล็ก ระยะที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔-๒๕๕๖ เป้าหมาย คือ รวมโรงเรียน ที่มีจ�ำนวนนักเรียนตั้งแต่ ๐ - ๒๐ คน ใน ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๔ รวมโรงเรี ย นที่ มี จ�ำนวน ๒๑ - ๔๐ คน ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ และรวมโรงเรียนที่มีจ�ำนวนนักเรียน ๔๑ ๖๐ คน ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ระยะที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ รวมโรงเรียนที่ มีนักเรียน ๖๑ - ๑๐๐ คน และระยะที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ รวมโรงเรียนที่ มีนักเรียน ๑๐๑ - ๑๒๐ คน ในส่ ว นของส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๓ ได้ก�ำหนดเป้าหมายการบริหารจัดการ รวมโรงเรียน โดยการรวมเป็นรายชั้นเรียน รายช่วงชั้น หรือทุกชั้นเรียน ก�ำหนดไว้ ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ (ปีการศึกษา ๒๕๕๖๒๕๕๘) ปีการศึกษา ๒๕๕๖ รวมโรงเรียน

ยั

ที่ มี นั ก เรี ย นไม่ เ กิ น ๒๐ คน ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๗ รวมโรงเรียนที่มีนักเรียน ๒๑ - ๔๐ คน ปีการศึกษา ๒๕๕๘ รวมโรงเรียนที่มี นักเรียน ๔๑ - ๖๐ คน ระยะที่ ๒ (ปีการ ศึ ก ษา ๒๕๕๙-๒๕๖๑) รวมโรงเรี ย นที่ มี นักเรียน ๖๑-๑๒๐ คน ในกรณีศึกษาได้ยุบ โรงเรี ย นวั ด หั ว ล� ำ ภู ม า เรียนรวมกับโรงเรียนบ้าน ศาลาแก้ ว ซึ่ ง ได้ ด� ำ เนิ น การมาตั้ ง แต่ ป ี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๕ ดังนี้ ๑. ศึ ก ษ า ส ภ า พ ปั จ จุ บั น ปั ญ หา ในด้ า น คุ ณ ภาพนั ก เรี ย น พบว่ า ผลการสอบ O-NET ชั้ น

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

งมีอีกสองกิจกรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มของ Play & Learn ในค่ายกิจกรรมการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชค่ะ พิชิตโลกร้อน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้ส� ำรวจกิจวัตร ประจ� ำ วั น ของตนเองที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกอั น เป็ น สาเหตุ ข อง การเกิดภาวะโลกร้อน พร้อมทั้งการค�ำนวณ หาปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปลด ปล่อยออกมาจากการใช้พลังงานไฟฟ้าในบ้าน เรือนของตนเอง และยกตัวอย่างเปรียบเทียบ

การใช้ทรัพยากรและพลังงานในกระบวนการ และขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นก็ ร่วมกันอธิบายแนวทางและวิธีการลดภาวะโลก ร้อนในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน วิทยากรร่วมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุย และอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาโลกร้อน แล้วน�ำ เข้าสู่กิจกรรมหลัก ๓ กิจกรรมคือ กิจกรรมที่ ๑ นาฬิกาพลังงาน ผู้เข้าร่วม

ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านศาลาแก้วได้คะแนนเฉลี่ย ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓๔.๙๐ ล�ำดับที่ ๒๔๗ โรงเรี ย นวั ด หั ว ล� ำ ภู ได้ ๓๐.๒๖ ล� ำ ดั บ ที่ ๒๕๐ จากจ�ำนวนโรงเรียนทั้งหมด ๒๕๓ โรง

กิจกรรมรวมกลุ่มกันเพื่อระดมความคิดแล้ว สร้างสรรค์นาฬิกาพลังงานขึ้นมา ใส่กิจวัตร ประจ�ำวันของตัวเองลงไปตามช่วงเวลาต่างๆ จนครบทั้ ง ๒๔ ชั่ ว โมง เมื่ อ เสร็ จ ก็จะน�ำเสนอแลก เปลี่ยนกันระหว่าง กลุ่ม เพื่อให้ผู้เข้า ร่ ว มกิ จ กรรมส� ำ รวจว่า ในกิจวัตร ป ร ะ จ� ำ วั น ข อ ง ตั ว เอง ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ไ ด ้ ท� ำ อะไรและใช้พลังงานอะไรบ้าง กิ จ กรรมที่ ๒ การค� ำ นวณค่ า การใช้ ไฟฟ้ากับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผู้ เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละคนบอกอุปกรณ์ไฟฟ้า ของบ้านตัวเองแล้วน�ำมาใส่ในตารางกิจกรรม ในคู่มือค่ายฯ พร้อมทั้งค�ำนวณหาค่าจ�ำนวน หน่วยการใช้ไฟฟ้าต่อเดือน และค�ำนวณหาค่า ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปลดปล่อยออก

๒. นิ เ ทศ ติ ด ตาม โดยคณะนิ เ ทศ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย รองผู ้ อ� ำ นวยการพื้ น ที่ การศึ ก ษา ประธานกลุ ่ ม เครื อ ข่ า ย และ ศึกษานิเทศก์ ได้จัดประชุมการนิเทศครั้งที่ ๑ สรุปให้โรงเรียนวัดหัวล�ำภู ได้พัฒนาการ เรี ย นการสอน การใช้ ห ้ อ งเรี ย นแบบคละ ชั้ น การสอนทางไกลผ่ า นดาวเที ย ม เพื่ อ ยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ใ ห้ เ ท่ า กั บ หรื อ สู ง กว่ า ค่ า เฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ ตามเกณฑ์ ข อง ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐาน การนิ เ ทศครั้ ง ที่ ๒ ได้ ส รุ ป ผลการ นิเทศให้โรงเรียนนัดประชุมผู้ปกครอง และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การนิเทศครั้งที่ ๓ ได้เยี่ยมชั้นเรียนสอบถาม นักเรียนเกี่ยวกับโรงเรียนวัดหัวล�ำภู และ โรงเรียนอื่นๆ ต่างกันอย่างไร ถ้านักเรียน จะไปเรียนที่โรงเรียนอื่น ควรไปโรงเรียนใด ปรากฏว่า นักเรียนเลือกไปเรียนโรงเรียน หัวไทร (เรือนประชาบาล) จ�ำนวน ๓ คน โรงเรียนวัดอิมอญ จ�ำนวน ๓ คน โรงเรียน บ้านศาลาแก้ว จ�ำนวน ๖ คน ให้นักเรียน เข้ากลุ่มเป็นสายโรงเรียน แล้วอภิปรายร่วม กันว่าโรงเรียนเราดีอย่างไร แล้วน� ำเสนอ หน้ า ชั้ น หลั ง จากนั้ น ให้ นั ก เรี ย นเข้ า กลุ ่ ม ใหม่ สรุปว่านักเรียนส่วนใหญ่ต้องการไป เรียนที่โรงเรียนบ้านศาลาแก้ว ผมถามว่า “นักเรียนอยากไปดูโรงเรียนบ้านศาลาแก้ว ไหม” วันนั้นเราใช้เวลา ๑ วัน ในการไป ศึกษานอกสถานที่ ณ โรงเรียนบ้านศาลา แก้ ว และชายทะเลวั ด หน้ า สตน นั ก เรี ย น กลั บ มาเขี ย นเรื่ อ งที่ ป ระทั บ ใจจากการไป ศึกษานอกสถานที่ ทุกคนเขียนได้ตามความ สามารถแต่ ละช่ ว งชั้ น แล้ ว ออกมาอ่ า นให้ เพื่อนฟังได้ (อ่านต่อฉบับหน้า)

มา เพื่ อ น� ำ เสนอว่ า บ้ า นใครปลดปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกมากน้อยแค่ไหน จากนั้นวิทยากร จึงสรุป กิจกรรมที่ ๓ การประเมินวัฏจักรชีวิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมแต่ ล ะกลุ ่ ม ช่วยกันคิดว่า ถ้ากลุ่มของตัวเองจะท�ำการผลิต ผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่ง จะต้องใช้วัตถุดิบ อะไรบ้าง มีขั้นตอนการผลิตอย่างไรบ้าง และ ผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดนั้น ทั้งนี้ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นว่า ผลิตภัณฑ์แต่ละ ชนิ ด ท� ำ ให้ เ กิ ด การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก แตกต่ า งกั น เพื่ อ ชี้ ป ระเด็ น ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ เ ห็ น ว่ า ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ควรจะใช้ อะไรเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน ของเล่นไทยคุณค่าใหม่วิทยาศาสตร์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เล่นและอธิบาย ความดันอากาศ แรงพยุงของของเหลว การ ลอยตัวของวัตถุ แรงเสียดทาน การเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง พลังงานและกฎอนุรักษ์ พลั ง งาน การหาแรงลั พ ธ์ ข องแรง ๒ แรงที่ กระท� ำ ต่ อ วั ต ถุ แ ละท� ำ ให้ วั ต ถุ เ คลื่ อ นที่ จ าก


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.