BP นายสมบัติ เหลืองแดง

Page 1

แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

นายสมบัติ เหลืองแดง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) ๑. ชื่อ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน : วิธีการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้าน  วิชาการ  บริหารการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นายสมบัติ เหลืองแดง ๒.๒ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๙๙๐๕๖๒ e-mail : sombat.ld@hotmail.co.th ๓. เป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการคิดวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-Net ๓. เพื่อให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริง ๔. เพื่อให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นและใฝ่รู้ใฝ่เรียน ๔. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ภาคเรียนที่ ๑ ถึง ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา เป้าหมายของ BP • นักเรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลข • พัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการคิด เป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต วิเคราะห์แก้โจทย์ปัญหา การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ • นักเรียนได้นาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง • นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรัก • นักเรียนมีความกระตือรือร้นและใฝ่รู้ใฝ่ ชาติ เรียน ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP  การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-based Learning (PBL) เป็นรูปแบบ การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivism) โดยให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในโลก


เป็นบริบท (Context) ของการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์และคิด แก้ปัญหา รวมทั้งได้ความรู้ไปพร้อมกันด้วย การเรียนรู้ด้วยใช้ปัญหาเป็นฐาน จึงเป็นผล มาจากกระบวนการทางานที่ต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลัก ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จานวน ๑๕ คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จานวน ๑๘ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) ๑. ขั้นเตรียม / ขั้นวางแผน ๑.๑ สารวจปัญหาและความสนใจของนักเรียน ๑.๒ ศึกษาหลักสูตร เนื้อหา ตัวชี้วัด ๑.๓ ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๔ วางแผน จัดสถานการณ์ และเตรียมสื่อการสอน ๒. ขั้นดาเนินการตามแผน ๒.๑ กาหนดปัญหา จัดสถานการณ์ต่างๆ (Learning to Question) ๒.๒ ทาความเข้าใจกับปัญหา (Learning to Question) ๒.๓ ดาเนินการศึกษาค้นคว้า (Learning to Search) ๒.๔ สังเคราะห์ความรู้ และนาความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน (Learning to Serve) ๒.๕ สรุปและประเมินค่าของคาตอบ (Learning to Communicate) ๓. ขั้นประเมินผล ๓.๑ สังเกตพฤติกรรม ๓.๒ สารวจความพึงพอใจ ๓.๓ ตรวจผลงาน


แผนผังขั้นตอนการพัฒนา BP เรื่อง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน : วิธีการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ • กาหนดปั ญหาจัดสถานการณ์ตา่ งๆ (Learning to Question)

1

• - นักเรี ยนเลือกภาพจากแผ่นโฆษณา สร้ างดจทย์ปัญหา บวก ลบ คูณ และ หาร

2

• ทาความเข้ าใจกับปั ญหา (Learning to Question) • -การสร้ างโจทย์ปัญหาต้ องมีข้อมูลที่เพียงพอเหมาะสม และหาคาตอบ ที่มีความสมเหตุสมผลกับโจทย์ที่สร้ าง

3

• ดาเนินการศึกษาค้ นคว้ า (Learning to Search) • - ศึกษาโจทย์ปัญหาว่าดจทย์ถามอะไร กาหนดอะไรบ้ าง และจะหา คาตอบได้ อย่างไร เพราะเหตุใด คาตอบที่ได้ สมเหตุสมผลหรื อไม่ แล้ ว ฝึ กทาใบงาน

4

• สังเคราะห์ความรู้ นาความรู้ที่ได้ มาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกัน (Learning to Serve) • - ทางานกลุม่ นาความร๔ที่ได้ มาสร้ างโจทย์ปัญหาในชีวิตจริง

5

• สรุปและประเมินค่าของคาตอบ (Learning to Communicate) • - นาเสนอผลงาน/ชิ ้นงาน และร่วมกันอภิปรายผลงาน


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ตรวจสอบด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เยาวภา ทนันชัยบุตร คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี - นาไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ และ ๖ โดยเก็บคะแนนระหว่างเรียน หลังเรียน เพื่อหาคุณภาพ - สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ตรวจผลงานนักเรียน พบว่านักเรียนมีผลการเรียน พัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น - ผลการสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ - สัมภาษณ์ และสารวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง พบว่าพึงพอใจกับผลการเรียน ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๑. ใช้ในการจัดกิจกรรมกับการเรียนการสอนปกติ ในห้องเรียน ๒. ใช้ในการจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมนักเรียนทีม่ ีปัญหาในการคิดวิเคราะห์และแก้ โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ๓. เพื่อเผยแพร่ให้เพื่อนครู ทั้งในโรงเรียนและต่างโรงเรียน ๔. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ในศูนย์เครือข่ายพัฒนาการศึกษาวังเย็น ๕. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในโครงการอบรมพัฒนาครูด้วยกระบวนการสร้าง ระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ นักเรียนโรงเรียนบ้านวังตะเคียนจานวน ๓๓ คน ได้รับการพัฒนาทักษะทาง คณิตศาสตร์ ๘.๑.๒ ครูที่ได้รับการเผยแพร่ผลงานในศูนย์เครือข่าย จานวน ๔๐ คน ๘.๑.๓ ครูทไี่ ด้รับการเผยแพร่จากการจัดนิทรรศการผลงานในโครงการอบรมพัฒนา ครูด้วยกระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ณ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ๘.๒.๒ ครูนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๘.๒.๓ ศึกษานิเทศก์และนักวิชาการนาไปเผยแพร่วิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจาก ผู้เกี่ยวข้องและวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) ๘.๒.๑ สัมภาษณ์ความพึงพอใจจากเด็กร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒.๒ สารวจความพึงพอใจจากผู้ปกครองร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒.๓ สารวจความพึงพอใจจากครูร้อยละ ๙๘ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ ผู้บริหารให้การสนับสนุนสร้างขวัญและกาลังใจ ๘.๔.๒ ผู้เชี่ยวชาญให้คาชี้แนะ ช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๓ คณะครูให้คาปรึกษา สนับสนุน และช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๔ นักเรียนมีความพร้อมกล้าแสดงออก ตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน ๘.๔.๕ ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ๙.๑.๑ ตรวจซ้าด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ๙.๑.๒ นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ และ ๖ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ๙.๑.๓ เป็นวิทยากรให้ความรู้กับครูในกลุ่มเครือข่ายจานวน ๔๐ คน เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ เดอะเลกาซี รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ๙.๒.๑ ผ่านเกณฑ์การประเมินด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ๙.๒.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ และ ๖ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ผลความ พึงพอใจของนักเรียน เท่ากับ ร้อยละ ๑๐๐ ๙.๒.๓ ครู ที่ เ ข้ า รั บ การอบรม จ านวน ๔๐ คน มี ผ ลความพึ ง พอใจเท่ า กั บ ร้อยละ ๑๐๐


๑๐. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ๑๐.๑ จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ในศูนย์เครือข่ายการศึกษา เมือ่ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ เดอะเลกาซี รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐.๒ จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในโครงการอบรมพัฒนาครูด้วยกระบวนการ สร้างระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๐.๓ เผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์ของโรงเรียนบ้านวังตะเคียน www.wksch.org

ลงชื่อ...........................เจ้าของผลงาน (นายสมบัติ เหลืองแดง)


ภาพกิจกรรม


เน


๑๐


๑๑


๑๒


๑๓


๑๔


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.