BP นางคนึงนิตย์ พิทักคีรี

Page 1

แบบสรุปผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา


แบบสรุปผลงานปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 1.ชื่อผลงาน BP เครื่องพ่นสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ด้าน ( ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา (  ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปข้อมูลผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นางคนึงนิตย์ พิทักคีรี 2.2 โรงเรียนบ้านมะกอกหมู่ (ปุญสิริวิทยา) เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับ ประถมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 090 – 4343059 E- mail playfa_fa@hotmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 1 เพื่อสร้างเครื่องพ่นสเปรย์ไล่ยุงที่สามารถเก็บไว้ใช้ไ ด้อีก 2 เพื่อลดปริมาณขยะที่เป็นกระป๋องสเปรย์ 3 เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อ ม 4 เพื่อเป็นการฝึกทาโครงงาน 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP 1 กรกฎาคม 2556 – 31 สิงหาคม 2556 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของ สพฐ. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ตัวบงชี้ที่ 1.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย สม่าเสมอ 1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีก เลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ย งต่อ ความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ 1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามหลั กสูตร 2.4 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของ 4.4 มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภู มิใจ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ 6.2 ทางานอย่างมีความสุขมุ่งมั่นพัฒนางานและภูมิ ใจในตนเอง


6.3 ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ ตัวบงชี้ที่ 11.2 จัดโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนจัดการเรียนการสอนแบบ KPA. คือ K = Knowledge Assessment หมายถึง การประเมินองค์ความรู้ P = Performance Assessment หมายถึง วิธีการประเมินงาน หรือกิจกรรมที่ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สามารถบ่งบอกได้ถึงผู้ เรียนเกิด การเรียนรู้มากน้อยเพียงใด การประเมินการปฏิบัติผู้สอนต้อง เตรียมการในสิ่งสาคัญ 2 ประการคือ 1. Tasks คือ ภาระงาน หรือกิจกรรมที่จะให้ผู้เรียนปฏิบัติ 2. Rubrics คือ เกณฑ์การให้คะแนน วิธีการประเมินการปฏิบัติ 2.1. ภาระงาน หรือกิจกรรมที่ผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนทาเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม จะประเมินวิธีการทางาน ตามขั้นตอนและผลงานของผู้เรียน 2.2. ภาระงาน หรือกิจกรรมที่ผู้เรียนปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจาวั น จะประเมินด้วยวิธีการสังเกต จด บันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับผู้เรียน 2.3. การสาธิต ได้แก่ การให้ผู้เรียนแสดง หรือปฏิบัติกิจกรรมตามที่กาหนด จะประเมินวิธีการและขั้นตอน ในการสาธิตของผู้เรียนด้วยวิธีการสังเกต 2.4. การทาโครงงาน การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้ นพื้นฐานกาหนดให้ผู้สอนต้องมอบหมายให้ ผู้เรียนได้ปฏิบัติโครงงานอย่างน้อย 1 โครงงาน ในทุกช่วงชั้น ดังนั้นผู้สอนจึงต้องกาหนดภาระงานในลักษณะของ โครงงานให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่งใน 4 รูปแบบต่อไปนี้ 1.โครงงานสารวจ 2.โครงงานสิ่งประดิษฐ์ 3.โครงงานแก้ปัญหาหรือการทดลองศึกษาค้นคว้า 4.โครงงานอาชีพ A=Authentic Assessment หมายถึง การประเมินตามสภาพจริง เป็นการประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยงานหรือ กิจกรรมที่มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติ จะเป็นงานหรือสถานการณ์ที่เป็นจริง (Real life) หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึง เป็นงานที่มีสถานการณ์ซับช้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม (Holistic) มากกว่างานปฏิบัติในกิจกรรมการเรียน ทั่วไป ส่วนวิธีการประเมินสภาพจริงไม่มีความแตกต่าง จาการประเมินจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) เพียงแต่อาจมีความยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เนื่องจากเป็นสถานการณ์จริง หรือต้องจัด สถานการณ์ให้ใกล้จริง แต่จะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก เพราะจะทาให้ทราบความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ว่า มีจุดเด่นข้อบกพร่องในเรื่องใด อันจะนาไปสู่การแก้ไขที่ตรงประเด็นที่สุด


7. กระบวนการพัฒนาBP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านมะกอกหมู่(ปุญสิริวิทยา) 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP ขั้นตอนการดาเนินการ

น้าในห้องน้าของโรงเรียนไม่ค่อยได้ เปลี่ยนน้าและทาความสะอาดอ่างน้า

ห้องเรียนมีมุมอับชื้นและทึบแสงทาให้ มียุงอาศัยอยู่

ไม่ค่อยมีการฉีดพ่นยาไล่ยุงตาม

รอบบริเวณโรงเรียนมีน้าขังและ

รอบอาคารเรียนและห้องเรียน

แหล่งน้าคลา

ยุงลายและไข้เลือดออก (P = Practice)

นักเรียนขาดประสบการณ์และ ไม่มีการกาจัดยุงลายที่จริงจัง

ความรู้ที่จะประยุกต์ใช้สิ่งใกล้ตัว มาใช้ให้เกิดประโยชน์

นักเรียน (K= Knowledge)

นักเรียนป่วยเป็นไข้เลือดออก

เครื่องพ่นสเปรย์ ตะไคร้หอมไล่ยุง

การเรียนการสอน ( A = Attitude)

นักเรียนไม่รู้จักพืช สมุนไพร

ไม่มีการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์และการกล้าแสดงออก


7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP 1. เปรียบเทียบปริมาณยุง(ภาพรวม) ระหว่างก่อนใช้สิ่งประดิษฐ์และหลังใช้ สิ่งประดิษ ฐ์ 2. ตรวจสอบตามห้องเรียนและห้องน้าของโรงเรียนเพื่อ ดูประสิ ทธิภาพการทางานของสเปรย์ ตะไคร้หอม 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ อาจปรับปรุงเครื่องพ่นให้มีขนาดเล็กลงหรือเปลี่ยนเป็นขวดสเปรย์ เล็กๆแบบขวดน้าหอม เพื่อความสะดวกในการพกพาและการใช้งาน 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ปริมาณยุงในห้องน้าและห้องเรียนต่างๆลดน้อยลงกว่าเดิ ม 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ พบปริมาณยุงในห้องน้าและห้องเรียนน้อยลงและนั กเรียนในโรงเรียนไม่ มีปัญหาเรื่องไข้เลือ ดออก 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP จากแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ครู และผู้เข้าชมผลงาน จานวน 70 คน ปรากฏว่า ผล การประเมินร้อยละ 80.00 มีความพึงพอใจในการวิจัยในครั้งนี้ 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนาBP ไปใช้ ปัจจัยความสาเร็จ - ความร่วมมือของครู และนักเรียน - ความตั้งใจที่จะแก้ปัญหาในเรื่องของยุงลายและไข้เลือ ดออก ประสบการณ์เรียนรู้จากการนาBP ไปใช้ - เกิดการเรียนรู้ และ ศึกษาค้นคว้าสิ่งใกล้ตัวที่จะนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ - นักเรียนมีความกล้าแสดงออกและสามารถทางานร่วมกันเป็น กลุ่มได้ - นามาความรู้ที่ได้จากการทางานครั้งนี้มาเป็นแนวทางในการหาวิธีกาจัดยุงลาย 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงBP ให้เกิดประโยชน์ต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP - เว้นการใช้สเปรย์ตะไคร้หอม ซึ่งพ่นทุกวันวันละ 2 ครั้ง มาเป็นไม่ใช้เลยประมาณ 1 อาทิตย์ แล้ว เปรียบเทียบโดยวิธีการสังเกตุปริมาณยุง - หลังจากนั้นลองกลับมาใช้สเปรย์ตะไคร้หอมพ่นตามห้ องเรียนและห้องน้าใหม่อีก ครั้ง แล้วสังเกตุปริมาณ ยุง 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP - จากการสังเกตปริมายุง พบว่าการใช้สเปรย์ตะไคร้หอมพ่นในห้องน้าและห้องเรียนทุกวัน ทาให้ปริมาณยุง ลดน้อยลงกว่าเดิม 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ในวงกว้าง -การประชาสัมพันธ์ประสิทธิภาพการทางานของสปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงให้ แก่ผู้ปกครองและชุมชน(แผ่นพับ) - การนาเสนอผลงานผ่านนิทรรศการการป้องกันไข้เลือดออก ของรพ.สต.ศาลเจ้าโพรงไม้


ภาพการดาเนินงาน การประกอบเครื่องพ่นสเปรย์

น้ายาตะไคร้หอม

นาไปน้ายาไปพ่นตามห้องเรียนและห้องน้า


การนาไปเผยแพรแก่ชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน


การสร้างชิ้นงานด้วยความสุข



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.