BP นางสาวสุกัญญา ไวยรัตน์

Page 1

1

แบบสรุปผลงานวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ กลุมสาระการเรียนรู กลุมสาระภาษาตางประเทศ

นางสาวสุกัญญา ไวยรัตน ตําแหนงครู ค.ศ 1

โรงเรียนวัดหนองเสือ อําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1


2

คํานํา เอกสารฉบับนี้จดั ทําขึ้นเพื่อเสนอผลงานวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practice) ที่ผูขอเขารับการ ประเมินไดรวบรวมขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา เปาหมาย/วัตถุประสงคของการพัฒนา Best Practice ระยะเวลา ในการพัฒนา ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธระหวาง Best Practice กับ เปาหมายแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่ นํามาใชในกระบวนการพัฒนา Best Practice ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง รวมถึงความคิดเห็นของ ผูบังคับบัญชาที่มีตอนางสาวสุกญ ั ญา ไวยรัตน ผูข อเขารับการประเมินดวย ขอขอบพระคุณ นายปญญา เที่ยงธรรม ผูอํานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ คณะครู ผูปกครอง นักเรียน และศิษยทุกรุนที่มีสวนเกี่ยวของทําใหการปฏิบัติงานในหนาที่ของครูประสบผลสําเร็จดวยดี

สุกัญญา ไวยรัตน ผูขอรับการประเมิน


3

สารบัญ

ชื่อเรื่อง

หนา

คํานํา

2

สารบัญ

3

ชื่อผลงาน

4

ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP

4

เปาหมาย/ วัตถุประสงคของการพัฒนา BP

4

ระยะเวลาในการพัฒนา BP

4

ความเชื่อมโยง/ ความสัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/ จุดเนนของสพป./ สพม. / สพฐ.

5

แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นํามาใชในการพัฒนา BP

6

กระบวนการพัฒนา BP

8

ขั้นตอนการพัฒนา BP

8

การตรวจสอบคุณภาพ BP

10

แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน

10

ผลสําเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP ( เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP)

10

กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง

12

การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผลในวงกวาง

12

ภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

13


4

Best Practice 1. ชื่อผลงาน การอานสะกดคําผานการทําทาทางตอบสนองทางรางกาย (TPR) สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ดานการบริหารจัดการศึกษา

2. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP 2.1 ชื่อผูพัฒนา นางสาวสุกัญญา ไวยรัตน 2.2 โรงเรียนวัดหนองเสือ เครือขายสงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.3 โทรศัพท 090-7966445 e- mail : crazyvicadojin3 @gmail.com

3. เปาหมาย/ วัตถุประสงคของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อพัฒนาทักษะการอานสะกดคําภาษาอังกฤษแบบ Phonicsโดยผานการทําทาทาง(TPR) 3.2 เพื่อเปนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ 3.3เพื่อใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 3.4 เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้น

4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนาตลอดปการศึกษา โดยมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง และนําขอผิดพลาดใน การสอนแตละคาบมาพัฒนาหาเทคนิคการอธิบายและการสอนอานสะกดคําแบบ Phonics โดยยึดหลักการ แสดงทาทาง (TPR)ของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนนึกถึงเสียงของตัวอักษรไดอยูต ลอดเวลา


5

5. ความเชื่อมโยง/ ความสัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/ จุดเนนของสพป./ สพม. / สพฐ. ในยุคปจจุบนั ซึ่งเปนยุคแหงการติดตอสื่อสารขามโลกภายในเวลาชั่วพริบตา ภาษาอังกฤษ ไดรับ การยอมรับใหเปนภาษากลางของโลกในการติดตอสื่อสารระหวางประเทศ ดังนัน้ ภาษาอังกฤษจึงถือวามี ความสําคัญเปนอยางยิ่งสําหรับประเทศไทยที่จะตองเตรียมตัวเขาสูความเปนสากลและแขงขันกับประเทศ อื่นไดอยางภาคภูมิ จริงๆแลวประเทศไทยมีการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษมาเปนระยะเวลานาน แตที่ผานมาเราเห็นถึงความลมเหลวในการจัดกระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทย แม จะเรียนภาษาอังกฤษมานานแตนักเรียนไทยกลับไมสามารถใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได จนตองมี ความตืน่ ตัวในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนการสอนและเทคนิคการสอนใหมๆเพื่อใหนกั เรียน สามารถใชภาษาอังกฤษไดในชีวิตจริง ที่ผานมาโรงเรียนวัดหนองเสือประสบปญหาในการเรียนภาษาอังกฤษ ทั้งสี่ทกั ษะ คือ ฟง พูด อาน และเขียน และเมื่อพิจารณาดูก็พบวานักเรียนมีพื้นฐานภาษาอังกฤษทีไ่ มดี นักเรียนเจอคําศัพทแลวอานไม ออกซึ่งเปนปญหาที่สําคัญมากและเปนอุปสรรคตอการเรียนภาษาอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีทัศนคติที่ไมดีตอ ภาษาอังกฤษดวยเชนกัน ดังนัน้ ครูผูสอนจึงจึงเห็นวาควรเริม่ ปูพื้นฐานการเรียนภาษาอังกฤษใหนกั เรียนใหม โดยเริ่มจากการถอดรหัสเสียงจากตัวอักษรใหเปนเสียงหรือใชหลัก phonics นั่นเอง ซึ่งถือเปนพื้นฐานที่ จําเปนมากสําหรับนักเรียนไทย การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยจะขามขั้นตอนการรับรูหนวย เสียงภาษาอังกฤษแตละเสียงที่ถูกตอง ( phonemic awareness) ซึ่งจะนําไปสูการอานสะกดคําตามหลัก phonics อันจะทําใหนักเรียนมีความสามารถในการอานสะกดคําไดอยางถูกตอง และชัดเจน กอนการจํา ความหมายของคําศัพทนั้นๆ ซึ่งสอดคลองกับวิธกี ารสอนจากที่ครูผูสอนไดรับการอบรมการสอน Teacher Kit ของสพฐ. ที่เนนใหนักเรียนเรียนรูการอานสะกดคําตามธรรมชาติของเจาของภาษา ซึ่งเมื่อนักเรียนรู หลักการถอดรหัสเสียงและสะกดคําอยางถูกตองแลว นักเรียนก็จะไมตองประสบกับการอานภาษาอังกฤษ ไมออกในครั้งตอไป การสอนแบบการตอบสนองแบบทาทางหรือTPR เปนแนวการสอนทีใ่ หความสําคัญกับการฟง ผูเรียนตองเขาใจเรื่องที่ฟงและปฏิบัติตามไดถูกตอง การสอนแบบ TPR-S เปนการสอน TPR ประเภทหนึ่ง ที่นําการเลาเรื่องราวมาเปนสื่อชวยใหนกั เรียนเขาใจและจดจําเนื้อหาไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งครูผูสอนไดนําเทคนิค


6

การเลาเรื่องมาประยุกตใชกับการสอน phonics โดยหวังใหนักเรียนจดจําหนวยเสียงผานการเลาเรื่องที่ครู คิดคนขึ้นมา เพื่อใหนักเรียนสนใจในเนื้อเรื่องและเชื่อมโยงเหตุการณในเนื้อเรื่องกับการออกเสียงใหได จะ ทําใหนักเรียนจดจําไดคงทน เมื่อนักเรียนฝกฝนจนจดจําทาทางและหนวยเสียงไดดีแลว ครูก็ฝก ใหนกั เรียน นําหนวยเสียงแตละเสียงมาผสมกันเปนคําตามหลัก phonicsแบบทั่วไป แตที่พิเศษขึน้ คือ นักเรียนตอง เชื่อมโยงระหวางทาทาง TPR และการออกเสียงใหถูกตองทุกครั้งเพื่อใหแนใจวานักเรียนจําหนวยเสียงแตละ เสียงไดและสะกดเปนคําอานไดถกู ตองตามหลักการอานจริงๆ สาเหตุที่ผูสอนตองนําเทคนิคการสอนแบบ TPR มาใชรวมกับการสอนสะกดคําแบบ Phonics ก็ เพราะตองการใหนักเรียนเรียนรูพื้นฐานของการเรียนภาษาอังกฤษแบบที่เจาของภาษาเรียนกัน ใหนกั เรียน สามารถแยกเสียงหนวยเสียงในภาษาอังกฤษได สามารถสะกดคําไดตามหลักการสะกดที่ถูกตอง ไมใช ทองจํา ปญหาคือหากสอน Phonics แบบธรรมดา นักเรียนซึ่งมีปญหาในการอานภาษาอังกฤษอยูแลวจะยิ่ง คิดวามันยากเพราะ ตองจําหนวยเสียงพื้นฐานมากมาย นักเรียนก็ไมมีแรงจูงใจจะเรียน แตหากครูนําเรื่องมา เลาเปนนิทานประกอบหนวยเสียงภาษาอังกฤษ นักเรียนก็จะรูสึกสนุกทีจ่ ะเรียน มีความกระตือรือรนจะฟง นิทาน ยิ่งนักเรียนไดทําทาทาง หรือปฏิบัติ พวกเขาจะรูสึกมีความสุข และเปนตัวชวยที่ดใี หนกั เรียนจําเสียง ภาษาอังกฤษไดจากทาทางที่พวกเขาทําซึ่งเปนวิธีที่คอนขางไดผลดีทีเดียว

6. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นํามาใชในการพัฒนา BP ทฤษฎีการเรียนรู 8 ขั้น ของกาเย ( Gagne ) ทฤษฎีของกาเยนจี้ ะใหความสําคัญในการจัดลําดับขั้นการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูได อยางมีประสิทธิภาพ โดยใชสิ่งเรา สิ่งแวดลอมภายนอกกระตุนผูเรียนใหเกิดการเรียนรู และสังเกต พฤติกรรมของผูเรียน วามีการตอบสนองอยางไร เพื่อที่จะจัดลําดับขัน้ ของการเรียนรูใ หผูเรียนไดถูกตอง ทฤษฎีการเรียนรู 8 ขั้น ประกอบดวย       

การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผูเรียนเปนแรงจูงใจในการเรียนรู การรับรูต ามเปาหมายที่ตั้งไว (Apprehending Phase) ผูเรียนจะรับรูสิ่งที่สอดคลองกับความตั้งใจ การปรุงแตงสิ่งที่รับรูไวเปนความจํา ( Acquisition Phase) เพื่อใหเกิดความจําระยะสั้นและระยะยาว ความสามารถในการจํา (Retention Phase) ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ไดเรียนรูไปแลว (Recall Phase ) การนําไปประยุกตใชกับสิ่งที่เรียนรูไปแลว (Generalization Phase) การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู ( Performance Phase)


7

การแสดงผลการเรียนรูกลับไปยังผูเรียน ( Feedback Phase)ผูเรียนไดรับทราบผลเร็ว จะทําใหมีผลดี และ ประสิทธิภาพสูง

เทคนิคการสอนภาษาดวย TPR – Total Physical Response หมายถึง หมายถึง การสอนภาษา โดยการใชทาทาง โดยใหผูเรียนฟงคําสั่งจากครูแลวผูเรียนทําตาม เปนการประสานการฟงกับการใชการ เคลื่อนไหวของรางกายเปนการตอบรับใหทําตามโดยผูเรียนไมตองพูด วิธีสอนภาษาโดยการใชทาทางใช สําหรับการเริ่มตนเรียนภาษาที่ 2

TPR-S (Total Physical Response-Story telling) เปนการสอนภาษาโดยการเลาเรื่อง โดยครูเลาเรื่อง คลายกับชีวติ ประจําวันของนักเรียน หรือเลานิทาน ๒-๓ ครั้ง แลวใหผูเรียนมาแสดงละครจากเรื่องทีค่ รูเลา หรือบางครั้งอาจเปลี่ยนเปนอาจารยอานใหฟง ๑-๓ ครั้ง ใหนักเรียนเขียนขึ้นมาใหมเหมือนครูเลาหรือไม แสดงวาผูเรียนฟงแลวเขาใจมากนอยแคไหน ใหเริ่มจากงาย ๆ กอน การสอนภาษาดวยการเลาเรื่อง ควรใชเมื่อผูเรียนมีความพรอมดานภาษาอังกฤษ โดยครูเลาเรื่องราว ที่คลายคลึงกับชีวติ ประจําวันของผูเรียน หรือ นิทานเรื่องงายๆ ครูเลาเรื่องใหฟงอีกครั้งหนึง่ จากนั้นให ผูเรียนออกมาแสดงเรื่อง(ตามที่ครูเลา)โดยไมตองพูด ตอมาใหผูเรียนเลาเรื่องเอง แลวใหผูเรียนคนอื่นมา แสดงละครตามเรื่องที่ผูเรียนเลาใหฟง จุดประสงคของ TPR-S คือ ตองการใหผูเรียนฟงครูพดู ใหเขาใจและทําทาทาง โดยผูเรียน ไมตองพูด เพียงแตแสดงทาทางประกอบการเลาเรื่องเทานัน้

การสอนแบบ Phonics ระบบ Phonics สอนใหเด็กรูจ ักเสียงที่ถูกตองของตัวอักษร โดยไมไดใหอานตามชื่อตัวอักษรเทานั้น ในระบบปกติเด็กๆ จะถูกสอนใหอาน A=เอ, B=บี, C=ซี แตเมื่อเรียนตามระบบ Phonics จะอานออกเสียง A=แอะ, B=เบอะ, C=เคอะ ดังนั้นเวลาผสมคําวา CAT จะตองสะกด "เคอะ-แอท=แคท" ไมใช "ซี-เอ-ที= แคท" ซึ่งทําใหเด็กสามารถอานหรือสะกดคําไดถกู ตอง โดยไมตองอาศัยการทองจําคําศัพท (เชน "ซี-เอ-ทีแคท-แปลวาแมว") แตเปนการอาน จากความเขาใจในระบบการออกเสียงที่ถูกตองตามหลัก Phonics ในการเรียนแบบดั้งเดิม จึงเปนเพียงการทองจําเสียงจากการเรียกชื่อตัวอักษรเทานั้น ซึ่งนั่นทําใหเรา ไมสามารถออกเสียงที่ถูกตองของคําที่เราไมเคยทองจําได การถอดรหัสเสียงในระบบ Phonics จะชวย สรางความเขาใจในการออกเสียงหรือผสมคําในภาษาอังกฤษ ซึ่งจะทําใหเด็กรูจกั ตัวอักษรและคําศัพทโดย ไมตองอาศัยการทองจําแมแตจะเปนคําที่เราไมเคยเห็นไมเคยไดยนิ มากอน ขณะที่เด็กที่ผานการเรียนแบบ ทองจํามาตลอด จะรูจกั เฉพาะคําศัพทที่ทองมาเทานั้น


8

สิ่งสําคัญของการเรียนระบบ Phonics แทจริงแลวไมไดมุงเนนไปที่การออกเสียงเทานั้น แตยังสราง ความสามารถในดานการเขาใจหนวยเล็กที่สุดของเสียง การผสมเสียงและสะกดคํา ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชนใน การพัฒนาสูทักษะการอานที่เร็วยิ่งขึน้ ซึ่งจะทําใหเด็กที่เรียนในระบบนี้รกั การอานและการเขียน ระบบการเรียนแบบโฟนิกสนั้น มีความสัมพันธกับการเรียนภาษาอังกฤษในทุกๆ ทักษะ ไมวาจะเปน ฟง พูด อาน เขียน หรือสะกดคํา จะเห็นไดวาเมื่อเด็กสามารถแยกแยะหนวยเสียงได จะทําใหฟงไดงายขึ้น (Listening) และเมื่อพบคําใหมก็สามารถแยกแยะหนวยเสียงอานได (Reading) และนั่นทําใหเด็กออกเสียง และเขียนไดงายขึน้ นัน่ เอง (Spelling และ Writing)

7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุมเปาหมายในการนํา BP ไปใช ประเภทของกลุมเปาหมาย นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดหนองเสือ จํานวนกลุมเปาหมาย จํานวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2555 จํานวน 25 คน

7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP เนื่องจากการสอนนักเรียนอานสะกดคําตามหลัก phonics ในครั้งนี้ไมไดสอนแบบบอก หนวยเสียงใหนกั เรียนทองจํา แตมีการนําเอาแนวการสอนแบบ TPR มาใชสอนรวมดวย เปนการคิดคน วิธีการสอนใหมๆที่นําเอาหลักการสอนอยาง TPR ทีม่ ีอยูแลว มาใชควบคูก ับการสอน phonics ซึ่งอาจจะยาก สําหรับเด็กที่ไมเคยมีพื้นฐานมากอน ดังนั้นการสอนจึงตองใชระยะเวลาคอนขางนานกวาจะผาน กระบวนการใหเด็กจดจําทาทาง TPR และการออกเสียงหนวยเสียงแตละเสียงได ดวยเหตุนี้เพื่อใหการพัฒนาการสอนภาษาอังกฤษดวยวิธีไดผล จึงตองเตรียมขัน้ ตอนการ วางพื้นฐาน phonics ใหนกั เรียนดังตอไปนี้


9

ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice ศึกษาสภาพปญหาการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ

คิดคนวิธีการแกปญหา

วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา

ศึกษาวิธีการสอนแบบ Phonics และเทคนิคการสอนแบบ TPR

คิดนิทานที่มเี สียงตัวอักษรภาษาอังกฤษ 26 ตัวเปน สวนประกอบพรอมทั้งคิดทาทาง (TPR) แทนเสียงนั้นๆ เทคนิคการสอน จัดคายเพื่อวางพื้นฐานแกนักเรียนกอนเรียนเปนเวลา 1

แบบ TPR

ทฤษฎีการ เรียนรู 8 ขั้น

ดําเนินการสอนในชั้นเรียน ทบทวนการทําทาทาง TPR

ของกาเย

และเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษ จนนักเรียนจําไดหมด การสอนแบบ นักเรียนเริ่มหัดอานผสมคําศัพทงายๆ

นักเรียนเรียนรูกฎการอาน ขอยกเวนตางๆ และหัดอาน คําศัพทจากในหนังสือฝกอานที่ครูให

ทดสอบพัฒนาการการสะกดคําอานของนักเรียน

Phonics


10

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP ใชแบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนกลุม เปาหมายที่สรางขึ้นและใชการสังเกต จริงระหวางการเรียนการสอน แบบประเมินความพึงพอใจ นําผลการประเมินที่ไดมาวิเคราะห เปรียบเทียบ ปรับปรุงเพื่อดูคุณภาพของ BP

ผลการตรวจสอบคุณภาพ จากการที่นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5โรงเรียนวัดหนองเสือ ไดรับการ ฝกฝนการเรียนรูภ าษาอังกฤษตามกระบวนการเรียนรูข างตน ไดผลดังนี้ 7.3.1

นักเรียนไดรับการเรียนรูเรื่องการอานสะกดคําตามหลัก phonics อยางถูกตอง

7.3.2

นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ

7.3.3 นักเรียนเริ่มอานสะกดคําภาษาอังกฤษได ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น

7.4 แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน 7.4.1 ใชในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและปลูกฝงใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอภาษาอังกฤษ 7.4.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ชวยใหเด็กทํากิจกรรมพัฒนาทางภาษาอังกฤษ

8. ผลสําเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP ( เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP) 8.1 ผลสําเร็จเชิงปริมาณ 8.1.1 นักเรียนมีความรูความสามารถดานการอานสะกดคําภาษาอังกฤษโดยเชื่อมโยงระหวางการทํา ทาทาง TPR กับการออกเสียงตัวอักษรไดดขี ึ้น คิดเปนรอยละ 80 8.1.2 นักเรียนไดเรียนรูตามศักยภาพ และมีเจตคติที่ดขี ึ้นตอการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ


11

8.2 ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ 8.2.1 นักเรียนสามารถนําความรูไ ปใชเปนพืน้ ฐานในการอานคําภาษาอังกฤษในระดับ คําที่ยากขึ้นไปได 8.2.2 นักเรียนรูแนวทางการอานคําศัพทอยางมีหลักการ ไมตองจําคําอานสําเร็จรูป โดยอาศัยการทองจํา อยางไมรูที่มาที่ไปของคําอานนั้น 8.3 ความพึงพอใจตอผูเ กีย่ วของตอ BP การตรวจสอบความพึงพอใจของนักเรียนไดมาจากการสังเกตพฤติกรรมในหองเรียน การทดสอบไดผลคิดเปนรอยละ 80 นอกจากนี้ผูบริหารยังพึงพอใจตอการนําแนวการสอนแบบ TPR มา ใชสอนในการอานสะกดคําตามหลัก Phonics เพราะเปนเทคนิคใหมที่ทําใหนักเรียนสนุกสนานกับการ ฟงเรื่องราวทีน่ าสนใจและทําทาทางพรอมออกเสียงไดอยางถูกตอง ซึ่งทําใหนักเรียนมีแนวโนมสนใจ ภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น 8.4 ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา BP/ ประสบการณการนํา BP ไปใช 8.4.1 นักเรียนเกิดความพึงพอใจที่รับการพัฒนาทักษะการอานสะกดคําภาษาอังกฤษ โดยผานการทําทา TPR 8.4.2 นักเรียนเกิดการเปดใจในการเรียนรูภาษาอังกฤษแบบใหมและมีความอดทนใน การฝกฝนซ้ําแลวซ้ําอีก 8.4.3 ผูบริหารและคณะครูใหความรวมมือในการทํางาน การจัดคาย Nongsuea Phonics Camp และการจัดกิจกรรมการเรียนรู 8.4.4 ครูไดเปนสวนหนึ่งในการการนําเอาเทคนิคการสอนนี้ไปทําคายภาษาอังกฤษนี้ ใหแกนกั เรียนกลุมเครือขายหนองตากยา และนักเรียนที่นนั่ ไดรับความรูเชนเดียวกับนักเรียนโรงเรียน วัดหนองเสือที่เขารับการเขาคาย


12

9. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP 9.1.1 ฝกใหผูเรียนฟงเสียงและปฏิบัติตาทา TPR ของครูซ้ําไปซ้ํามา จากนั้นครูจึงเปนผู สั่งและใหนักเรียนปฏิบัติเองเรื่อยๆ พรอมทั้งตรวจสอบปญหาขอบกพรองในการสอนแตละครั้ง พรอมนํามา แกไขและหาวิธีการทีท่ าํ ใหนกั เรียนเขาใจและเรียนรูใ หไดใกลเคียงกัน เนื่องจากนักเรียนมีศักยภาพในการเรียนรู ตางกัน นักเรียนบางคนไมทันเพื่อนสวนใหญในหอง ทําใหไมเขาใจและอานสะกดคําไมได ครูตองเปนผู ชวยเหลือใชเทคนิคการสอนที่แตกตางไปกับกลุมนักเรียนนั้นๆจนกวานักเรียนจะเริ่มสามารถทําไดเชนเดียวกับ เพื่อนๆ 9.1.2 ใชกระบวนการแลกเปลี่ยนการเรียนรู เพื่อนชวยเพื่อน

9.2 ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารถพัฒนาดานการอานสะกดคําภาษาอังกฤษตามหลัก Phonics ไดมากขึ้นและเริ่ม มีเจตคติทดี่ ีตอการเรียนภาษาอังกฤษ 10. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผลในวงกวาง ( ระบุเวลาและรูปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ เผยแพรและขยายผล)

10.1 ผลงาน/ ผลการปฏิบัติงาน - นักเรียนมีความสามารถในการอานสะกดคําจากหนังสือฝกอานอยางงายหลายชุดที่ ครูใหฝก ในชั้นเรียน และมีการปฏิบัติงานเปนชิน้ งานตามทีค่ รูสั่งอยางมีคุณภาพ คิดเปนรอยละ 80 ขึ้นไป - จากการดําเนินการสอนทีโ่ รงเรียนและไดผลตอบรับเปนที่นาพอใจ คณะครูจากกลุม โรงเรียนหนองตากยาจึงไดเชิญใหผูสอนไปเปนวิทยากรแกนกั เรียนกลุมหนองตากยาจํานวน 150 คน นักเรียนมี ความสนใจในการเขารวมและสวนมากก็รูสึกสนุกและไดรบั ความรูก ลับเกี่ยวกับการอานสะกดคําตามหลัก Phonics โดยผานการทําทา TPR - มีการจัดคายการอานสะกดคําตามหลัก Phonics โดยผานการทําทา TPR แกคณ ุ ครูชนั้ อนุบาลและสอนวิชาภาษาอังกฤษของโรงเรียนกลุมชาววัง ไดรับผลตอบกลับที่ดีมาก คุณครูใหคําชมและสื่อการ สอนที่ไดแจกแกโรงเรียนตางๆ คุณครูสามารถนําไปสอนเด็กชั้นอนุบาลหรือชั้นประถมที่ตัวเองสอนได


13

ภาพการจัดการเรียนการสอน การรับการอบรมและเขารวมกิจกรรมภาษาอังกฤษ

ภาพการทดสอบทาทางและเสียงตัวอักษรเปนรหัสผานกอนนักเรียนเขาหอง


14

นักเรียนทําทา TPR และออกเสียงตัวอักษรขณะเรียน


15

บรรยากาศการเรียนและการเลนเกมสทั้งในและนอกหองเรียน โดยมีครูอาสาสมัครชาวตางชาติรว มสอนดวย


16

นักเรียนหัดอานหนังสือเสริมอานอยางงาย


17

บรรยากาศนักเรียนหัดอานหนังสือแบบฝกโดยมีครูคอยสังเกต ใหความชวยเหลือ


18

บรรยากาศการจัดคายภาษาอังกฤษเพื่อปูพื้นฐานใหนกั เรียนกอนเรียนจริง


19

. เขารับการอบรม Teacher kit ซึ่งเปนแรงบันดาลใจในการสอนPhonics


20

ประชุมครูผูรว มงานและอาสาสมัครหนวยสันติภาพสหรัฐซึ่งมาเปน ครูชวยสอนการสะกดคําโดยใชทา TPR ซึ่งทําใหบรรยากาศการเรียนสนุกยิ่งขึ้น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.