BP นายประทีป คำหอม

Page 1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice 1. ชื่อผลงาน BP

ปรับภูมิทศั น์ จัดแหล่งเรี ยนรู ้ สู่ โรงเรี ยนบ้านองสิต

2. ข้ อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นายประทีป คาหอม ตาแหน่ง ช่างไม้ 4 โรงเรี ยนบ้านองสิต อ.ศรี สวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.2 เครือข่ ายส่ งเสริมประสิ ทธิภาพการจัดการศึกษาศรี สวัสดิ์ 1 ระดับ ลูกจ้างยอดเยีย่ ม 2.3 โทรศัพท์ 089-8901453 หรื อ 085-2993107 3. เป้ าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 1. เพือ่ ปรับปรุ งภูมิทศั น์ของโรงเรี ยนบ้านองสิต ให้สะอาด ร่ มรื่ น น่าอยู่ พร้อมต่อการบริ หารจัดการ และการจัดการเรี ยนการสอนของผูบ้ ริ หาร ครู บุคลกรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครองและชุมชน 2. เพือ่ จัดแหล่งเรี ยนรู ้ในโรงเรี ยนบ้านองสิต ให้นกั เรี ยนได้ศึกษาหาความรู ้เพิม่ เติมนอกห้องเรี ยน 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ตลอดปี การศึกษา 2555 5. ความเชื่อมโยง/ความสั มพันธ์ ระหว่ าง BP กับเป้ าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพฐ./ สถานศึกษา นาวิสยั ทัศน์ของโรงเรี ยนบ้านองสิต ที่วา่ “โรงเรี ยนบ้านองสิตและชุมชน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้กบั นักเรี ยนทุกคน ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานขั้นพื้นฐานและมีคุณธรรม จริ ยธรรม มีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ของสถานศึกษาและมีเจตคติที่ดีต่อการศึกษา จิตสานึกในความเป็ นพลเมืองที่ดี และยึดมัน่ ในการ ปกครองอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข สามารถใช้ชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข นาความรู ้ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็ นแนวทางในการดาเนินทา BP และ จากตัวบ่งชี้ที่ 7 ของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามที่วา่ ประสิทธิภาพของการบริ หารจัดการ และการพัฒนาสถานศึกษา ข้อที่ 3 เกี่ยวกับบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และ จากมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริ การ ที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาศักยภาพ คือ สถานศึกษาต้องจัดสภาพแวดล้อม สิ่งอานวยความสะดวก พอเพียง ใช้ การได้ดี มีหอ้ งเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ ห้องสมุด อาคารเรี ยน อาคารประกอบ แหล่งเรี ยนรู ้ การบริ การสื่อ เทคโนโลยี และความปลอดภัยของผูเ้ รี ยน ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ อาคารเรี ยน มัน่ คง สะอาด และปลอดภัย มีสิ่งอานวยความสะดวกพอเพียง อยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อม ร่ มรื่ น และมีแหล่ง เรี ยนรู ้สาหรับผูเ้ รี ยน และ จากมาตรฐานดังกล่าวข้างต้น ในฐานะที่ขา้ พเจ้ามีหน้าที่ดูแลสภาพแวดล้อมของ โรงเรี ยน ซึ่งได้รับคาสัง่ จากผูบ้ งั คับบัญชาให้ปฏิบตั ิหน้าที่ จึงนาข้อมูลต่างๆ มาดาเนินการปฏิบตั ิตามหน้าที่ อย่างเต็มตามศักยภาพของตนเอง โดยปฏิบตั ิหน้าที่ ดังนี้


2 1. 2. 3. 4. 5.

ดูแลความสะอาดภายในโรงเรี ยน ดูแล รดน้ าต้นไม้ ตัด ตกแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ปรับปรุ งซ่อมแซมห้องเรี ยน อาคารเรี ยนที่ชารุ ด ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ จัดทาแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ ให้นกั เรี ยน โดยรับคาสัง่ จากผูบ้ ริ หาร หรื อหัวหน้างานอาคารสถานที่ อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น สร้างศาลาพักผ่อนข้างสระน้ า สร้างสวนหย่อมหน้าโรงเรี ยน สร้าง ป้ ายประชาสัมพันธ์หน้าโรงเรี ยน ซ่อมแซมรั้วโรงเรี ยน เป็ นต้น

6. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP คือ 1. การมีส่วนร่ วม (Participative) หมายถึง การทางานโดยให้บุคคลในองค์กรหรื อผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในกระบวนการตัดสินใจ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเชี่ยวชาญ ในการบริ หารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ หรื อแก้ไขปั ญหาต่างๆ ที่เกิดจากการบริ หารงาน 2. หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


3

3. กระบวนการทางาน แบบ PDCA ของเดมมิ่ง PDCA คือ วงจรที่พฒั นามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter Shewhart ) ผูบ้ ุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการอุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้เริ่ มเป็ นที่รู้จกั กันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ดา้ นการบริ หารคุณภาพเผยแพร่ ให้เป็ นเครื่ องมือสาหรับการปรับปรุ ง กระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงานให้ดียงิ่ ขึ้น และช่วยค้นหาปั ญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนการ ผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรนี้เป็ นที่รู้จกั กันในอีกชื่อว่า “วงจรเด็มมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA นั้นสามารถนามาใช้ได้กบั ทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็ นที่รู้จกั กันอย่างแพร่ หลายมากขึ้น ทัว่ โลก PDCA เป็ นอักษรนาของศัพท์ภาษาอังกฤษ 4 คาคือ P : Plan D : Do C : Check A : Action

= = = =

วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมินมาวิเคราะห์ ปรับปรุ งแก้ไขดาเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน

7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้ าหมายในการนา BP ไปใช้ Best Practice ปรับภูมิทศั น์ จัดแหล่งเรี ยนรู ้ สู่โรงเรี ยนบ้านองสิต กลุ่มเป้ าหมายคือ ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลกรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชนในโรงเรี ยนบ้านองสิต


4

7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP ขั้นตอนการทางาน ขั้น P การวางแผน

ขั้น C ประเมินผล

-

ขั้น A สรุปผลและพัฒนา

-

ขั้น D ลงมือปฏิบัติ

รายละเอียดการทางาน วางแผนการดาเนินงาน เสนอผูบ้ ริ หารหรื อหัวหน้างาน เพือ่ อนุมตั ิ สารวจข้อมูลการปรับปรุ งภูมิทศั น์ สารวจข้อมูลการจัดแหล่งเรี ยนรู ้ ดาเนินการทาตามแผนที่วางไว้ แจ้งผูบ้ ริ หารหรื อหัวหน้างาน เพือ่ มา ตรวจสอบผล และประเมินผลการดาเนินงาน ตามระยะเวลาที่กาหนด นาผลการประเมิน มาวิเคราะห์เพือ่ ดาเนินการในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP ผูบ้ ริ หารหรื อหัวหน้างาน ตรวจสอบผล และประเมินผลการดาเนินงานตามระยะเวลาที่ กาหนด และความพึงพอใจของผูบ้ ริ หาร ครู บุคลกรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุ มชนในโรงเรี ยน บ้านองสิตที่มีต่อการปรับปรุ งภูมิทศั น์ และการจัดแหล่งเรี ยนรู ้ 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ ประโยชน์ 1. วางแผนการดาเนินงาน 2. เสนอผูบ้ ริ หารหรื อหัวหน้างาน เพือ่ อนุมตั ิ 3. สารวจข้อมูลการปรับปรุ งภูมิทศั น์ และแหล่งเรี ยนรู ้ 4. ดาเนินการทาตามแผนที่วางไว้ 5. แจ้งผูบ้ ริ หารหรื อหัวหน้างาน เพือ่ มาตรวจสอบผล และประเมินผลการดาเนินงานตาม ระยะเวลาที่กาหนด 6. นาผลการประเมิน มาวิเคราะห์เพือ่ ดาเนินการในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึน้ จากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลกรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชนในโรงเรี ยนบ้าน องสิตร้อยละ 95 มีความพึงพอใจต่อการปรับปรุ งภูมิทศั น์ และการจัดแหล่งเรี ยนรู ้ภายในโรงเรี ยนบ้านองสิต


5

8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1. ภูมิทศั น์ของโรงเรี ยนบ้านองสิต สะอาด ร่ มรื่ น น่าอยู่ พร้อมต่อการบริ หารจัดการ และการจัดการเรี ยนการสอนของผูบ้ ริ หาร ครู บุคลกรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครองและชุมชน 2. มีแหล่งเรี ยนรู ้ในโรงเรี ยนบ้านองสิต ให้นกั เรี ยนได้ศึกษาหาความรู ้เพิม่ เติมนอก ห้องเรี ยนพอเพียงต่อความต้องการของนักเรี ยน และพร้อมต่อการใช้งาน 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่ อ BP ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชนในโรงเรี ยนมี ความพึงพอใจต่อการปรับปรุ งภูมิทศั น์ และการจัดแหล่งเรี ยนรู ้ภายในโรงเรี ยนบ้านองสิต คิดเป็ นร้อยละ 95 โดยใช้แบบสอบถาม 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์การเรียนรู้ จากการนา BP ไปใช้ ความร่ วมมือของผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน ในโรงเรี ยนบ้านองสิต 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบตามตัวชี้วดั ที่กาหนดให้ในแต่ละขั้นตอน เป็ นระยะ และถ้ามีปัญหาเข้าปรับปรุ ง และแก้ไขทันที 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ร้อยละของความพึงพอใจที่มีต่อการปรับปรุ งภูมิทศั น์ และการจัดแหล่งเรี ยนรู ้ภายใน โรงเรี ยนบ้านองสิตในปี การศึกษาต่อไป 10. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้ าง 10.1 การเป็ นเจ้าภาพจัดประชุมเครื อข่ายศรี สวัสดิ์ 1 ที่โรงเรี ยนบ้านองสิต 10.2 ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ที่ 7 ของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม และผลการ ประเมินตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 11 ผ่าน 10.3 การไปร่ วมจัดสถานที่ แสดงผลงาน จัดนิทรรศการให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนในแต่ละปี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.