BP นางชารี มณีอินทร์

Page 1

.......... ผลิตโดย

นางชารี มณีอินทร์

โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice ( BP ) ๑. ชื่อผลงาน BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ด้าน ( ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา ( √ ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา นางชารี มณีอินทร์ ๒.๒ โรงเรียน อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม เครือข่าย กลุม่ สะพานแม่น้าแคว ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๓๓๑๕๐๐๑๓ e – mail cha13arts@hotmail.com ๓. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากเรื่องง่ายไปยาก อย่างหลากหลายและสร้างสรรค์ ๓.๒ เพื่อช่วยลดเวลาในการอธิบายหรือสาธิตวิธีการสร้างสรรค์งานศิลป์ ๓.๓ เพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้ที่ดี มีคุณภาพให้กับครูที่สอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์) ได้ใช้ ๓.๔ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย ในการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ๔. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP ) เนื่องจากสื่อการเรียนรู้ BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “ ๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ชุดนี้ เป็น ผลงานทางวิชาการเดิม ชื่อ ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๐ ขั้นตอนสอนศิลป์” ซึ่งผู้จัดท้าผลิตขึ้น เพื่อเป็นนวัตกรรมในการขอเสนอเลื่อนวิทยฐานะจากครูช้านาญการ เป็นครูช้านาญการพิเศษ และ ได้รับการอนุมัติให้ผ่านโดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ทั้งสิ้น แล้วน้ามาพัฒนาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมบางส่วน ส่งเป็น BP กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ประจ้าปี ๒๕๕๔ น้ามาเผยแพร่ ในกิจกรรมโครงการพัฒนาครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ศิลปะ และการศึกษาพิเศษ เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรีและน้ามาพัฒนาเพิ่มเติมอีกครั้ง โดยเปลี่ยนชื่อมาเป็น ชุดกิจกรรม ศิลปะ (ทัศนศิลป์) “ ๑๓ วิธีชารีสอน ศิลป์” ชุดนี้ ซึ่งผู้จัดท้าได้รับมอบหมายให้เป็นครูผู้สอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จึงได้น้านวัตกรรม ทีผ่ ลิตขึ้น มาใช้กับกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ (ช่วงชั้นที่ ๒) และนวัตกรรมชุดนี้ สามารถปรับให้ เหมาะสมกับ ระดับชั้น ใช้ได้กับนักเรียนช่วงชั้นที่ ๒ ทุกชั้นปี (ป.๔ , ป.๕ , ป.๖ ) ซึ่งในเนื้อหาสาระและวัยของ ผู้เรียนนั้นไม่ค่อยมีความแตกต่างกันมากนัก เนื่องจากอยู่ในระดับช่วงชั้นเดียวกัน คือช่วงชั้นที่ ๒ และ ในเนื้อหาบางส่วนที่ผู้จัดท้าน้ามาพัฒนา ปรับปรุงก็คือ แหล่งเรียนรู้ที่เป็นเรื่องของท้องถิ่น เนื่องจาก ปรับตามสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลี่ยนไป ในส่วนที่ให้ผู้เรียนได้ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น จึงต้องมี การปรับเปลี่ยน เพื่อให้สอดคล้องและมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมตามบริบท รวมระยะเวลาใน การจัดท้า BP หากเริ่มตั้งแต่การเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕ ๕๓ หลังจากนั้นก็น้าไปปรับ ประยุกต์ใช้ และพัฒนาปรับปรุงเรื่อยมาอย่างต่อเนื่อง จนถึงปีปัจจุบัน ที่ได้น้าสื่อการเรียนรู้ชุดนี้มาพัฒนา ปรับปรุงอีกครั้ง รวมเวลากว่า ๔ ปีกว่าแล้ว ๕. ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา เมื่อน้า BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “ ๑๓ วิธีชารีสอน ศิลป์” มาวิเคราะห์หาความ เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. และสถานศึกษา สามารถสรุปเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ และความสอดคล้องได้ ดังนี้


จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เส้นทางสู่ความส้าเร็จการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) ได้ก้าหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ไว้ ดังนี้ ๑. ความสามารถและทักษะของผู้เรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ มีความสามารถอ่านคล่อง คิดเลขคล่อง มีทักษะการคิดขั้น พื้นฐาน ทักษะชีวิต และทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ๒. คุณลักษณะ - ใฝ่เรียนรู้ จุดเน้น ของ สพฐ. ๑. เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใน ๕ กลุ่มสาระ ๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ต้องอ่านออกเขียนได้ ๓. เพิ่มศักยภาพนักเรียนเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ( เชื่อมโยง /สัมพันธ์ ) ๔. สร้างจิตส้านึก ความรักชาติและจิตสาธารณะ (เชื่อมโยง / สัมพันธ์) ๕. ลดอัตราการออกกลางคัน (เชื่อมโยง / สัมพันธ์) ๖. สร้างทางเลือกการเรียนรู้เชิงบูรณาการ (เชื่อมโยง / สัมพันธ์) ๗. ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาให้ผ่านการรับรองมาตรฐาน ๘. ยกระดับ สพท.ให้อยู่ในระดับดี ๙. เตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมาย ของ สพป.กจ.๑ (จะกล่าวถึงเฉพาะที่ BP มีความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ ) ได้แก่ - โรงเรียนต้องมีการจัดจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งใน และนอกห้องเรียน - โรงเรียนมีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น - โรงเรียนที่มีผู้เรียนได้ส้ารวจ สืบค้น ท้าโครงงานจากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน - โรงเรียนมีครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า - โรงเรียนจัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ - โรงเรียนที่มีครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ / สื่ออย่างมีประสิทธิภาพ - โรงเรียนมีการน้าผลการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - โรงเรียนมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น - โรงเรียนมีเครื่องมือวัดผลประเมินผลพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ - โรงเรียนมีผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามจุดเน้น - ร้อยละของผู้เรียน ชั้น ป.๔ ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย - ร้อยละของผู้เรียน ชั้น ป.๔ ที่มีทักษะชีวิต - ร้อยละของผู้เรียน ชั้น ป.๔ ที่มีคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ สถานศึกษา ( โรงเรียน ) โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งวัตถุประสงค์ที่ส้าคัญ ของการเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล คือ การพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก โดยมุ่งหวังที่จะให้ โรงเรียนได้พัฒนาต่อยอด คุณลักษณะของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การ พัฒนาผู้เรียนมุ่งให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ มีสมรรถนะ ทักษะและความรู้ พื้นฐานที่ จ้าเป็นในการด้ารงชีวิต การพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้


มีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถ ท้างานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลก ได้อย่างสันติอันจะส่งผลต่อการพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน หากน้า BP มาวิเคราะห์ถึงความเป็นมาตรฐานสากล จะได้ความเชื่อมโยง สัมพันธ์ สอดคล้อง ดังนี้ ๑. รู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ ๒. เข้าใจทัศนธาตุ ๓. ลองวาดจากจินตนาการ ๔. ฝึกพื้นฐานระบายสี ๕. รู้ทฤษฎีและหลักการ ๖. สร้างสรรค์งานด้วยใจรัก ๗. ตระหนักในคุณค่า ๘. รู้ที่มาและความส้าคัญ ๙. ร่วมวิจารณ์โดยทุกฝ่าย ๑๐. น้าไปใช้ในชีวิต ๑๑. มีจิตสาธารณะ ๑๒. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ๑๓. ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาสู่สากล ซึ่งการผลิตและการน้า BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” มาใช้ใน การจัดการเรียนรู้นี้ ถือเป็นการด้าเนินการปฏิบัติเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายและจุดเน้นของแต่ละหน่วยงานให้ ประสบความส้าเร็จ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์นั้น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ในการจัดท้าและพัฒนา BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ได้น้าแนวคิด หลักการ และทฤษฎี ที่มีผู้รู้กล่าวไว้หลายท่าน เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน นวัตกรรมทาง การศึกษา และการผลิตสื่อการเรียนรู้ ได้แก่ สงบ ลักษณะ (อ้างถึงใน สุนันทา สุนทรประเสริฐ, ๒๕๕๐ : ๗) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนการ สอนที่ควรจะเป็นไว้ว่า ควรเป็นการเรียนการสอนที่นักเรียน ได้รับการยอมรับนับถือในการเป็น เอกัตต บุคคล ได้เรียนด้วย วิธีที่เหมาะสมกับความสามารถ ได้เรียนสิ่งที่ตนสนใจ ต้องการ หรือ มีประโยชน์ ได้ปฏิบัติตามกระบวนการเพื่อการเรียนรู้ ได้รับการเอาใจใส่ ประเมิน และช่วยเหลือเป็นรายบุคคลและ ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ และส้าเร็จตามอัตภาพ สุนันทา สุนทรประเสริฐ (๒๕๔๗ : ๙) ให้ความหมายเกี่ยวกับนวัตกรรมการเรียนการสอนว่า นวัตกรรมการเรียนการสอน ก็คือ สื่อการสอนที่ได้รับการพัฒนา อย่างเป็นระบบโดยการผ่าน การผลิต การทดลองใช้ ปรับปรุงจนมี ประสิทธิภาพ แล้วจึงน้าไปใช้จริงอย่างได้ผล ชนาธิป พรกุล (อ้างถึงใน สุนันทา สุนทรประเสริฐ, ๒๕๔๗ : ๙) ได้กล่าวถึง นวัตกรรม การเรียนการสอน ( educational innovation) คือ สิ่งที่น้าเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นวัตกรรมที่น้ามาใช้อาจมีผู้คิดค้นขึ้นมาก่อนแล้ว หรือคิดขึ้นใหม่ เพื่อให้ เหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ นวัตกรรมการเรียนการสอนส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นแนวคิดหรือวิธีการ เช่น รูปแบบการสอนความคิดรวบยอด การสอนแบบจุลภาค การเรียนรู้แบบร่วมมือ หรือสื่อการเรียน การสอน เช่น บทเรียนส้าเร็จรูป บทเรียนคอมพิวเตอร์ และชุดการสอน เป็นต้น นวัตกรรมการเรียน การสอน ก็คือ สื่อการสอนที่ได้รับการพัฒนา อย่างเป็นระบบโดยผ่านการผลิต การทดลองใช้ ปรับปรุง จนมีประสิทธิภาพ แล้วจึงน้าไปใช้จริงอย่างได้ผล ในการจัดท้า BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” นั้น ผู้จัดท้ามีความ ตั้งใจจริง และมุ่งมั่นที่จะผลิตสื่อ การเรียนรู้ที่มีความเหมาะสม และมี ความสมบูรณ์ที่สุดในหลาย ๆ เรื่อง โดยพยายามสอดแทรกสิ่งดี ๆหลาย ๆ อย่าง ให้เข้าไปอยู่ในสื่อการเรียนรู้ชุดนี้ให้ได้ เช่น ใช้ ทฤษฎีการเรียนรู้จากเรื่องง่ายไปสู่เรื่องยาก / การท้าให้สื่อมีความน่าสนใจด้วยภาพ สี และเสียง/


ความหลากหลาย สร้างสรรค์ แปลกใหม่ ทันสมัย ของเนื้อหา/ ต้องสอดคล้องกับโครงสร้างของ หลักสูตร/จัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นส้าคัญ หรือเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง/ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดเป็นความรู้ที่คงทนถาวร/สอดแทรกกระบวนการคิดแบบหมวก ๖ ใบ/การฝึกทักษะการเรียนรู้ด้วยโครงงาน/สนับสนุนและส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิปัญญาใน ท้องถิ่น/ใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบมิติคุณภาพ (Rubri c) /การประเมินผลจากหลายฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตัวนักเรียนเอง เพื่อน ผู้ปกครอง และครูผู้สอน นอกจากนี้แล้ว ผู้จัดท้ายังมี แนวความคิดที่จะตั้งชื่อและสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สร้างสรรค์ไม่ซ้าแบบใคร ตามสไตล์ของศิลปะ โดยการตั้งชื่อให้ฟังแล้วจ้าได้ง่าย ด้วยค้าที่คล้องจองว่า ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “ ๑๓ วิธีชารี สอนศิลป์” ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการน้า BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจ้านวนกลุ่มเป้าหมาย) ผู้จัดท้าได้รับมอบหมายให้เป็นครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ซึ่งเป็นนักเรียนในช่วงชั้นที่ ๒ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ) ฉะนั้นผู้จัดท้าจึงเลือกนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในการน้า BP ไปใช้ ซึง่ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มีจ้านวน ๒๓ คน


๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ / แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา)

กระบวนการ PDCA การสร้างนวัตกรรม ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

ศึกษาหลักสูตร คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ศึกษาสภาพปัญหาในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น ป.๔ ศึกษาวิธีการสร้างนวัตกรรมแต่ละประเภท/เลือกประเภทนวัตกรรมที่จะทา ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยในการจัดทานวัตกรรม ศึกษาแนวทางการวัดผลประเมินผล ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

๑. เลือกประเภทของนวัตกรรม ( ชุดกิจกรรม) ๒. ลงมือสร้างนวัตกรรมประเภทชุดกิจกรรมด้วยโปรแกรม FlipAlbum

๓. เลือกวิธีการวัดผลประเมินผลแบบมิติคุณภาพ (Rubric) ๔. นานวัตกรรมไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

๑. ๒. ๓. ๔.

วัดผลประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม เผยแพร่นวัตกรรมสู่ครูผู้สอนศิลปะ ในช่วงชั้นที่ ๒ รวบรวมข้อมูล สรุปผลการนานวัตกรรมไปใช้

๑. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ๒. ทบทวน ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนานวัตกรรมให้มีคุณภาพ ตามข้อเสนอแนะ ของผู้เชี่ยวชาญ ๓. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นาไปเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ โดยการนาเสนองาน และ การจัดนิทรรศการ


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) จากการที่ BP ชุดนี้ เป็น ผลงานทางวิชาการเดิมหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการขอเลื่อนวิทยฐานะ จากระดับครูช้านาญการ เป็นครูช้านาญการพิเศษ ของผู้จัดท้ามาก่อน จึงมีการผ่านกระบวนการ ขั้นตอนในการตรวจสอบคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ โดยสร้างแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบ หลังเรียน เพื่อศึกษาผลจากการน้านวัตกรรม BP นี้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยด้าเนินการหาค่า ประสิทธิภาพ ( E1 /E2) ของนวัตกรรม, การหาค่าความสอดคล้อง เหมาะสม ( IOC ) ของนวัตกรรม รวมถึงการหาค่าความสอดคล้อง เหมาะสม ( IOC ) ของแบบทดสอบ โดยผ่านการตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุง ตามค้าแนะน้าที่ได้รับ จากคณะผู้เชี่ยวชาญ จ้านวน ๕ ท่านมาแล้ว (อ้างอิงในภาคผนวก) ซึ่งก็เป็นการยืนยันความน่าเชื่อถือในคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ได้ในระดับหนึ่ง ๗.๔ แนวทางการน้า BP ไปใช้ประโยชน์ การน้า BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ไปใช้ประโยชน์ ซึ่งครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะในระดับช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔ – ๖) สามารถน้ามาปรับประยุกต์ใช้ได้ เพราะ เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมีความหลากหลาย และวัยของผู้เรียนมีความใกล้เคียงกัน ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP ๘.๑ ผลส้าเร็จเชิงปริมาณ ๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ / ๑ ทุกคนได้เรียนรู้จากเรื่องง่ายไปยาก อย่างหลากหลาย และสร้างสรรค์ จากการใช้ BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ๒. ช่วยลดเวลาในการอธิบายหรือสาธิตวิธีการสร้างสรรค์งานศิลป์ ๓. โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงครามมีสื่อการเรียนรู้ที่ดี มีคุณภาพส้าหรับครูที่สอน วิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์) อีกอย่างน้อย ๑ ชุด ๔. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ / ๑ ทุกคนมีโอกาสได้ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย ในการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ๘.๒ ผลส้าเร็จเชิงคุณภาพ ๑. ผู้เรียนได้เรียนรู้จากเรื่องง่ายไปยาก อย่างหลากหลายและสร้างสรรค์ ๒ . ช่วยลดเวลาในการอธิบายหรือสาธิตวิธีการสร้างสรรค์งานศิลป์ ๓ . ได้ผลิตสื่อการเรียนรู้ที่ดี มีคุณภาพให้กับครูที่สอนวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์) ได้ใช้ ๔. ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย ในการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับความพึงพอใจ) จากการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ BP ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ด้วยการใช้แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ เป็น เครื่องมือ ผลปรากฏว่าครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มีความพึงพอใจต่อ ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” เฉลี่ยร้อยละ ๙๗.๐๐ และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ มีความ พึงพอใจต่อ ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” เฉลี่ยร้อยละ ๙๕.๐๐ ๘.๔ ปัจจัยความส้าเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการน้า BP ไปใช้ ปัจจัยความส้าเร็จของการพัฒนา BP และประสบการณ์เรียนรู้จากการน้า BP ไปใช้ ได้แก่ การได้รับความสนับสนุนด้านอาคารสถานที่ที่มีความเหมาะสมและเอื้อต่อการน้า BP ชุดนี้ไปใช้ ซึ่งถ้า


หากห้องที่ใช้จัดการเรียนรู้เป็นห้องที่มีการต่อจอโปรเจคเตอร์ไว้ ก็จะท้าให้สามารถเร้าความสนใจของ นักเรียนได้มากขึ้น เพราะสื่อชุดนี้จะเป็นลักษณะของมัลติมิเดีย มีภาพ มีสี และเสียง หากใช้จอ โน๊ตบุ๊คก็จะเหมาะสมกับนักเรียนที่มีจ้านวนไม่มากนัก แต่ส้าหรับโรงเรียนใดที่ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือจอโปรเจคเตอร์ ก็สามารถน้าแผ่นวิดิทัศน์ ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” นี้ไปพิมพ์ หรือ Print ออกมาเป็น Paper ส้าหรับเป็นสื่อการเรียนรู้ใช้จัดการเรียนการสอนได้อีกวิธีหนึ่ง ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้​้า BP ในการผลิต BP ชุดนี้ ได้ผ่านกระบวนการตรวจสอบซ้​้าหลายครั้ง โดยด้าเนินการหาค่า ประสิทธิภาพ (E1 /E2) ของนวัตกรรม, หาค่าความสอดคล้อง เหมาะสม ( IOC ) ของนวัตกรรม และ หาค่าความสอดคล้อง เหมาะสม ( IOC ) ของแบบทดสอบ ซึ่งในการด้าเนินการผลิตสื่อ ผู้จัดท้าได้ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะ ด้านเกี่ยวกับสถิติ ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านการวัดผลประเมินผล และ ด้านอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า ๕ ท่าน ได้แก่ ๑. ผศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ รักษาเพชร ต้าแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ ๘ หลักสูตรภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการท้าผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ ๒. นายสมศักดิ์ บุญพา ต้าแหน่ง ครูช้านาญการพิเศษ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาสาระกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๓. นายณรงค์ มุกดาแสงสว่าง ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชา โสตทัศนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร ต้าแหน่ง ผู้อ้านวยการโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ๔. นายอรรณพ ชุ่มเพ็ง ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชา หลักสูตรและการนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพมหานคร ต้าแหน่ง ผู้อ้านวยการโรงเรียนเมธีชุณหะวัณวิทยาลัย สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม เขต 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดท้าผลงานทางวิชาการ ๕. นางชนิดา ชลออยู่ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชา บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ต้าแหน่ง ครูช้านาญการพิเศษ สาขา ภาษาไทย สังกัด โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอน และเมื่อได้รับค้าแนะน้าและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาแล้ว ก็น้ามาปรับปรุง พัฒนา แก้ไข ทั้งนวัตกรรม BP ชุดนี้ รวมถึงการปรับปรุง แก้ไข แบบทดสอบด้วย จนมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานเป็นที่ยอมรับได้ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้​้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP


หลังจากที่ผ่านการตรวจสอบซ้​้ามาหลายครั้ง จนเป็นที่ยอมรับได้แล้ว ผู้จัดท้าก็น้ามาพัฒนา ปรับปรุง BP อีกโดยให้เพื่อนครูที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ซึ่งเป็นผู้ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นนี้ ได้มีส่วนในการร่วมประเมินความพึงพอใจ ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และ รูปแบบ / วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลส้าเร็จของ BP ได้มีการน้านวัตกรรมที่ส้าเร็จไปเผยแพร่ ขยายในวงกว้าง ให้กับเพื่อนครู เป็นจ้านวน ๔ ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ ๑ งานประชุมสัมมนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโครงการพัฒนาครูกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ศิลปะ และการศึกษาพิเศษ จัดโดยศูนย์พัฒนาครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ และการศึกษาพิเศษ ณ ห้องประชุมชั้น ๓ อาคาร ๙ มหาวิทยาลัยราชภัฎ กาญจนบุรี เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยน้าผลงาน BP ไปจัดนิทรรศการซึ่งได้รับความสนใจ จากผู้เข้าร่วมอบรมเป็นอย่างมาก โดยมีเอกสารหลักฐาน เป็นภาพถ่าย (ภาคผนวก) ครั้งที่ ๒ การจัดนิทรรศการผลงานครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อต้อนรับคณะผู้ตรวจ ราชการ เมื่อ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมอาคารไชยมงคล โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม โดยมีเอกสารหลักฐาน เป็นภาพถ่าย (ภาคผนวก) ครั้งที่ 3 งานประชุมสัมมนาในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดนิทรรศการและการน้าเสนอ Best Practice ผลงานดีเด่น ประจ้าปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ครั้งที่ ๒ ณ ห้องประชุม RS คอนเวนชั่น โรงแรม ราชศุภมิตร อ้าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔ โดยมีผู้รับการเผยแพร่ ตามแบบบันทึกการเผยแพร่ผลงาน (ภาคผนวก) ครั้งที่ ๔ งานจัดนิทรรศการวันวิชาการ ประจ้าปีการศึกษา ๒๕๕๕ ณ โรงเรียนอนุบาลวัด ไชยชุมพลชนะสงคราม เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕ โดยมีเอกสารหลักฐาน เป็นภาพถ่าย (ภาคผนวก)



การพัฒนาผลงานทางวิชาการ ประเภทนวัตกรรม ผลิตโดย.....นางชารี มณีอินทร์

พัฒนา ปรับปรุง เพิ่มเติม


แผ่นพับ


แผ่นพับ


แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ( ทัศนศิลป์ ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑. การลบภาพที่ถูกต้อง ควรท้าอย่างไร ๕. ข้อใดเป็นภาพจินตนาการ ก. ลบไปทางเดียว ก. ภาพประชาชนก้าลังใส่บาตรพระ ข. ลบไปทางซ้ายขวาสลับกัน ข. ภาพผลไม้อยู่ในกระเช้า ค. ลบกลับไปกลับมา ค. ภาพช้างก้าลังบินคู่กับนก ง. ลบในแนวขึ้นลงขึ้นลง ง. ภาพทิวทัศน์ชายทะเล ๒. เมื่อใช้พู่กันระบายสีเสร็จแล้ว จะต้องท้าอย่างไร ๖. นักเรียนคนใดก้าลังถ่ายทอดความคิดจาก จึงจะถูกต้องที่สุด จินตนาการให้ผู้อื่นรับทราบ ก. เก็บเข้ากล่องเลย ก. อิงท้าภาพปะติด“เหตุการณ์ที่ประทับใจ” ข. ล้างให้สะอาด ข. อรก้าลังนึกว่าจะวาดภาพ“อนาคตของฉัน” ค. ล้างให้สะอาดแล้วเอามือลูบปลาย ค. ออมก้าลังท้างานปั้น “เที่ยวสวนสัตว์” ง. ล้างแล้วสลัดน้​้าออก ง. ข้อ ก. และ ข้อ ค. ๓. ส่วนประกอบเบื้องต้นในงานศิลปะ ที่มีขนาดเล็ก ๗. การผสมสีน้า หรือ สีโปสเตอร์ควรท้าอย่างไร ที่สุด คือ ความหมายของทัศนธาตุใด ก. ผสมสีลงบนภาพเลย ก. จุด ข. บีบสีใส่จานผสมสี ข. เส้น ค. บีบสีแตะปลายพู่กัน ค. น้​้าหนัก ง. บีบสีลงบนกระดาษ ง. พื้นผิว ๔. รูปร่าง และ รูปทรง เหมือนกันหรือต่างกัน ๘. สีกลมกลืน หมายถึง สีชนิดใด อย่างไร ก. สีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจร ก. เหมือนกัน ทั้งรูปร่างและรูปทรง มี 2 มิติ ข. สีที่อยู่ใกล้เคียงกันในวงจร ข. เหมือนกัน ทั้งรูปร่างและรูปทรง มี 3 มิติ ค. สีที่ตัดกันในวงจร ค. ต่างกัน รูปร่าง มี 2 มิติ แต่รูปทรงมี 3 มิติ ง. สีที่อยู่คู่กันในวงจร ง. ต่างกัน รูปร่าง มี 3 มิติ แต่รูปทรงมี 2 มิติ ๙. การวาดภาพให้ถูกต้องตามหลักการจัดภาพ ควรมี ๑๔. เวลาพิมพ์ภาพท้าไมต้องใช้กระดาษรองไว้ข้างใต้ จุดเด่นหรือจุดสนใจกี่จุด กระดาษรองให้หนา ก. จุดเดียว ก. เพื่อไม่ให้สกปรก ข. สองจุด ข. เพื่อสะดวกในการพิมพ์ ค. หลายจุด ค. เพื่อป้องกันสีหยด ง. กี่จุดก็ได้ ง. เพื่อให้รายละเอียดทีพ่ ิมพ์ชัดเจนขึ้น


๑๐. การวาดภาพให้ทั้งสองข้างเท่ากัน ตรงกับ หลักการจัดภาพข้อใด ก. ความขัดแย้ง ข. ความเป็นเอกภาพ ค. ความสมดุล ง. ความกลมกลืน ๑๑. ข้อใดเป็นลักษณะของรูปปั้นลอยตัว ก. เป็นภาพเดียว ข. มองเห็นรอบด้าน ค. มองเห็นผิวหน้า ง. สูงจากพื้นรอง 1 นิ้ว

๑๕. การพิมพ์ภาพ ( Stencil) คืออะไร ก. การพิมพ์ภาพด้วยแม่พิมพ์กระดาษฉลุ ข. การพิมพ์ภาพด้วยฟองน้​้า ค. การพิมพ์ภาพด้วยใบไม้ ง. การพิมพ์ภาพด้วยเศษวัสดุ

๑๙. ก่อนท้างานศิลปะประเภทประดิษฐ์ สิ่งแรก ที่จะต้องท้าคืออะไร ก. ออกแบบ ข. ลงมือปฏิบัติ ค. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ง. ตกแต่งให้สวยงาม

๑๖. ขั้นตอนใดในการท้าภาพสติ๊กเกอร์ ที่จะต้อง ระมัดระวัง เพื่อให้ได้ภาพที่สวยงามชัดเจน ก. การเลือกแบบการ์ตูน ข. การแช่กระดาษ ค. การถูกระดาษออก ง. การแปะสติ๊กเกอร์ลงบนกระดาษรอง ๑๗. วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง ที่จ้าเป็นต้องใช้ในการท้า ภาพสติ๊กเกอร์ ก. สติ๊กเกอร์ใส กรรไกร ภาชนะใส่น้า รูปภาพ ข. สติ๊กเกอร์ใส กาว กรรไกร รูปภาพ ค. สติ๊กเกอร์ใส ดินน้​้ามัน กระดาษกาว ง. สติ๊กเกอร์ใส ภาชนะใส่น้า กาว ๑๘. ข้อใดคือจุดเด่นของภาพเอกลักษณ์ไทย ก. มักมีเส้นตรง ระบายสีมีน้าหนักมีแสงเงา ข. มักมีเส้นอ่อนช้อย ระบายสีมีน้าหนัก และ มีแสงเงา ค. มักมีเส้นตรง ระบายสีเรียบ ๆ ไม่มีแสงเงา ง. มักมีเส้นอ่อนช้อย ระบายสีเรียบ ๆ ภาพไม่ มีแสงเงา ๒๔. การปั้นพระพุทธรูป เป็นการสร้างงานศิลปะ ตามแนวคิดแบบใด ก. เพื่อถ่ายทอดความงามของธรรมชาติ ข. เพื่อบันทึกประวัติศาสตร์ ค. เพื่อการด้ารงชีวิต ง. เพื่อความศรัทธาในศาสนา

๒๐. งานเปเปอร์ มาเช่ ได้แก่ ข้อใด ก. งานโครงสร้าง ข. การท้าหน้ากากสร้างสรรค์ ค. ภาพแขวน ง. การท้าประดิษฐ์เศษวัสดุ

๒๕. ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่ถูกต้อง ก. วัด - งานสถาปัตยกรรม ข. ภาพวาด - งานจิตรกรรม ค. งานแกะสลัก - งานหัตถกรรม ง. งานปั้น - งานประติมากรรม

๑๒. ดินเหนียวที่เราจะน้ามาท้างานปั้น มีวิธีการ เก็บรักษาไว้อย่างไร เพื่อไม่ให้ดินแข็ง ก. เก็บไว้ในห้องมืด ข. ใช้ผ้าชุบน้​้าคลุมไว้ ค. น้าไปแช่ในตู้เย็น ง. ใช้กระบอกฉีดน้​้าฉีดบ่อย ๆ ๑๓. ข้อใดเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่จ้าเป็นในการท้าภาพ POP UP ( ปากอะไรเอ่ย ) ทุกอย่าง ก. กระดาษ กรรไกร กาว ข. สีไม้ กาว สติ๊กเกอร์ ค. กาว กระดาษ สีโปสเตอร์ ง. พู่กัน กาว กรรไกร


๒๑. ข้อใดเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่ส้าคัญ ในการท้างาน ผลงานศิลปะ “เปเปอร์ มาเช่” ก. กาว กระดาษ ข. เศษวัสดุ กาว ค. ดินเหนียว กาว ง. ปูนปลาสเตอร์ กาว

๒๖. บ้านเรือนไทย หรือบ้านทรงไทย เป็นงานศิลปะ ประเภทใด ก. จิตรกรรม ข. ประติมากรรม ค. สถาปัตยกรรม ง. หัตถกรรม

๒๒. การวิจารณ์งานศิลปะ มีจุดมุ่งหมายที่ส้าคัญ คือ ๒๗. ในการท้างานศิลปะ ควรใช้วัสดุอุปกรณ์ให้คุ้มค่า ข้อใด สอดคล้องกับคุณธรรมข้อใดโดยตรง ก. ต้องการรู้ว่าเป็นผลงานของใคร ก. ความซือ่ สัตย์ ข. ต้องการรู้ว่างานของใครดีกว่า ข. ความประหยัด ค. ต้องการรู้ว่างานของใครได้คะแนนมากกว่า ค. ความอดทน ง. ต้องการรู้ถึงแนวคิดและทักษะการท้างาน ง. ความเสียสละ ของแต่ละคน ๒๓. ข้อใดเป็นการแสวงหาความรู้จากภูมิปัญญา ท้องถิ่น ก. ศึกษาวิธีการตอนกิ่งจากหนังสือ ข. เรียนรู้งานปั้นจาก Internet ค. ฝึกท้าสับปะรดกวนจากยายข้างบ้าน ง. ลองปฏิบัติเรื่องรุ้งกินน้​้าด้วยตนเอง ๒๙. หากนักเรียนเป็นผู้ถูกวิจารณ์ผลงานศิลปะ นักเรียนจะต้องปฏิบัติตนอย่างไร ก. นั่งฟังค้าวิจารณ์เฉย ๆ ข. ฟังค้าวิจารณ์หากมีปัญหาให้โต้แย้งทันที ค. รับฟังค้าวิจารณ์แล้วน้าข้อบกพร่องไปแก้ไข ง. ไม่ต้องสนใจค้าวิจารณ์ให้เสียก้าลังใจ

๒๘. ห้องใดควรตกแต่งให้สวยงามกว่าห้องอื่น ก. ห้องรับแขก ข. ห้องนอน ค. ห้องครัว ง. ห้องน้​้า ๓๐. การชมนิทรรศการศิลปะ ถ้าเราสงสัยว่ารูปปั้น โลหะ หรือดิน เราควรท้าอย่างไร ก. ใช้มือแตะดู ข. ลองใช้เล็บขูด ค. ใช้ปากกาเคาะดู ง. ถามคนควบคุมนิทรรศการ


เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1.

ก 11. ข 21.

2.

ค 12. ข 22. ค

3.

ก 13. ง 23.

4.

ค 14. ก 24. ค

5.

ค 15. ค 25.

6.

ง 16. ก 26. ค

7.

ข 17. ก 27. ค

8.

ข 18. ก 28. ก

9.

ก 19. ข 29. ข

10. ค 20. ก 30. นี่คือ....เฉลยคำตอบที่ ถูกต้องค่ะ


รายชื่อคณะผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษา ด้านการจัดทาสื่อการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ****************************

ค้าชี้แจง การตรวจสอบคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” โดยการให้ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ตรวจสอบเกี่ยวกับความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ การหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) โดยมีผู้เชี่ยวชาญ ๕ ท่าน ได้แก่ ๑. ผศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ รักษาเพชร ต้าแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ ๘ หลักสูตรภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการท้าผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ ๒. นายสมศักดิ์ บุญพา ต้าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช้านาญการพิเศษ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาสาระกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๓. นายณรงค์ มุกดาแสงสว่าง ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชา โสตทัศนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร ต้าแหน่ง ผู้อ้านวยการโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ๔. นายอรรณพ ชุ่มเพ็งพันธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชา หลักสูตรและการนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพมหานคร ต้าแหน่ง ผู้อ้านวยการโรงเรียนเมธีชุณหะวัณวิทยาลัย สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม เขต 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดท้าผลงานทางวิชาการ ๕. นางชนิดา ชลออยู่ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชา บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ต้าแหน่ง ครูช้านาญการพิเศษ สาขา ภาษาไทย สังกัด โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอน



การใช้ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์)”๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ด้วยจอโปรเจคเตอร์กับนักเรียนกลุ่มใหญ่ (ทั้งห้อง)

การใช้ชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์)”๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” ด้วยโน้ตบุ๊คกับนักเรียนกลุ่มเล็ก (เป็นรายกลุ่ม)


นานวัตกรรมไปเผยแพร่กับครูผู้สอนศิลปะ ชั้นป.๕ – ๖ ร.ร.อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม

นานวัตกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กับนักเรียนชั้น ป.๔


หลังจากเรียนรู้จากชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” แล้ว นักเรียนจึงลงมือปฏิบัติงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กับนักเรียนชั้น ป.4

ผลงานนักเรียน เรื่อง “หน้ากากสร้างสรรค์”


หลังจากเรียนรู้จากชุดกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์) “๑๓ วิธีชารีสอนศิลป์” แล้ว นักเรียนจึงลงมือปฏิบัติงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กับนักเรียนชั้น ป.4

ผลงานนักเรียน เรื่อง “ภาพมหัศจรรย์” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กับนักเรียนชั้น ป.4


นานวัตกรรมไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้กับสามเณร ร.ร.พระปริยัติธรรม แผนกสามัญ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม (วัดใต้) ซึ่งเป็นการบริการด้านวิชาการให้กับโรงเรียนและชุมชน


การเผยแพร่นวัตกรรมต่อสาธารณะ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคลและหน่วยงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กับนักเรียนชั้น ป.4

นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ศิลปะ เกิดประโยชน์ต่อนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กับนักเรียนชั้น ป.4


นาไปเผยแพร่ให้กับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เกิดประโยชน์ต่อเพื่อนครูในโรงเรียน ใน

นาผลงานนวัตกรรมไปจัดนิทรรศการในโอกาสต่าง ๆ เกิดประโยชน์ต่อเพื่อนครูต่างโรงเรียน ใน


 ผู้บริหารโรงเรียน นายบุญเสริฐ เกิดแย้ม ผอ.ร.ร.อนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม แสดงความคิดเห็นต่อผลงานศิลปะ

 ผู้บริหารต้นสังกัด นายจ้านงค์ ยอดข้า (ผอ.สพป.กจ.๑) เยี่ยมชมการจัดนิทรรศการและแสดงความคิดเห็น ต่อผลงานศิลปะ (ทัศนศิลป์)

 ผู้บริหารระดับจังหวัด นายชัยวัฒน์ ลิมป์วรรณธะ (ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี) ยี่ยมชมการจัดนิทรรศการผลงานศิลปะ






Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.