BP น.ส.นัทธมน โสมโสดา

Page 1


คานา เอกสารนี้จัดทาขึ้น เพื่อเสนอข้อมูลผลงานที่เกิดจากการดาเนินการจัดการเรียนการสอน พัฒนาผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่อง การจัดการเรียนรู้เพื่อการสร้างสรรค์ สู่งานอาชีพ ซึ่งผู้ขอรับการประเมินได้นาเสนอผลงานการพัฒนาที่เกิดจาก การปฏิบัติ หน้าที่ มี การนาเสนอข้อมูลตาม หลักหลักเกณฑ์และวิธีการ ขอขอบพระคุ ณ นายปัญ ญา เที่ยงธรรม ผู้อานวยการโรงเรีย นวัดหนองเสือ คณะครู ผู้ป กครอง นักเรียน ที่ได้ ส นับ สนุนและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ด้วยดีตลอดมาจึง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

นัทธมน โสมโสดา


สารบัญ หน้า คานา สารบัญ ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP แนวดาเนินการแบบโมเดลซิปปา(CIPPA MODEL)

๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๓

กระบวนการพัฒนา BP

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP

ภาพประกอบ


๑ “ผลงานการปฏิบัติทเี่ ป็นเลิศBest Practice(BP)” ๑. ชื่อผลงาน การจัดการเรียนรู้เพื่อการสร้างสรรค์ สู่งานอาชีพ ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผูพ้ ัฒนา นางสาวนัทธมน โสมโสดา ๒.๒ โรงเรียนวัดหนองเสือตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับ ประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ :๐๘๑-๙๒๙๒๒๕๘ ๓. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ นักเรียนมีคุณธรรมในด้านความสามัคคี มีความสุข รูจักการแกปัญหาด้วยตนเอง ๓.๒ เพื่อให้ผเู้ รียนได ฝึกทักษะการทางานพัฒนาสูอาชีพในอนาคต ๓.๓ นักเรียนไดทางานเองตลอดตามขั้นตอนต่างๆเป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ของนักเรียน ซึ่งไมใช่ การเรียนรูแต่ทฤษฎีเพียงอย่างเดียว ๓.๔ นักเรียนมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทาให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ การเรียนรูข้ องเอกสารประกอบการเรียนที่ตั้งไว้ ๓.๕ เพื่อให้ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์และประเมินตนเอง ๓.๖ นักเรียนได้มีประสบการณ์โดยตรง ๓.๗ ให้ผเู้ รียนไดเรียนรูกระบวนการ ควบคูกับการมีผลงาน อันเกิดจาก กระบวนการเรียนรู ๔. ระยะในการพัฒนา BP ระยะในการพัฒนาจะพัฒนาตลอดปีการศึกษา ดาเนินการต่อเนื่องโดยมีการประเมินผล แล้วนามาวิเคราะห์ปัญหาเพื่อนามาแก้ไขปรับปรุงพัฒนาให้ดีข้นึ ตลอดเวลา ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เน้นวิธีการวัดผลจากสภาพจริง โดย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และให้ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ เต็มตามหลักสูตรและตอบสนองต่อนโยบายที่ ทางโรงเรียนรณรงค์ให้ห้องเรียนมีผลิตภัณฑ์หนึ่งห้องเรียน หนึ่งผลิตภัณฑ์ การจัดการเรียนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนและเกิดการลงมือปฏิบัติจริง เน้นวิธีการวัดผลจากสภาพจริง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ เต็มตาม


๒ หลักสูตร ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในสิ่งที่เรียน สามารถอธิบาย ชี้แจงตอบคาถามได้ดี นอกจากนั้ น ยั ง ได้ พั ฒ นาทั ก ษะในการคิ ด วิ เ คราะห์ ก ารคิ ด สร้ า งสรรค์ การท างานเป็ น กลุ่ ม การสื่อสารรวมทั้งเกิดความใฝ่รู้ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ รี ย นมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมนั้ น ทั้ ง ทาง ร่ า งกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมนั้นมิใช่ หมายความแต่เพียงว่าให้ผู้เรียนได้ทากิจกรรมอะไรๆก็ได้ที่ผู้เรียนชอบและเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมทั้งทางด้านร่างกายสติปัญญา สังคม และอารมณ์จึงสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ได้ดีเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อช่วยให้ประสาทการรับรู้ ของผู้เรียนตื่นตัวพร้อมที่จะรับข้อมูลและการเรียนรู้ต่างๆช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับ บุคคลหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวเนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์สังคม ที่อาศัยรวมกันอยู่เป็นหมู่คณะมนุษย์ โดยทั่วไปจะต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัวเข้ากับบริบทต่างๆการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะช่ ว ยให้ผู้ เ รีย นเกิ ด การเรี ย นรู้ ท างสั งคมซึ่ง จะส่ง ผลถึ ง การเรี ย นรู้ ท างด้ านอื่ นๆ ด้ว ย ดั ง นั้ น กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีจึงเป็นกิ จกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวด้วย ดังนัน้ การฝึกให้นักเรียนได้มีอาชีพเสริมหรืออาชีพอิสระจากการสร้างอาชีพวัสดุเหลือใช้ การได้ลง มือปฏิบัติจริงในระหว่างเรียนนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะสามารถช่วยให้นักเรียนมีรายได้ ระหว่างเรีย นและเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพในชีวิตประจาวั นได้และสามารถเชื่อมโยง ประยุกต์ใช้อนาคตได้ ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวดาเนินการแบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) การจัดให้ผเู้ รียนมีบทบาทสาคัญ คือ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคลองกับความ สนใจ และความถนัด คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรู กระตือรือรน และผูกพันกับสิ่งที่เรียน ในลักษณะดังต่อไปนี้ ๑.๑ ให้ผเู้ รียนไดสร้างองค์ความรูด้วยตนเอง โดยการออกแบบกิจกรรมให้ศึกษาค้นคว้า ทาความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ แปลความ ตีความ เชื่อมโยงความรู สร้างความคิดรวบยอด ๑.๒ ให้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในการแลกเปลี่ยนเรียนรู ทั้งด้านข้อมูลความรู้ ความคิด และประสบการณ ๑.๓ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา ๑.๔ ให้ผเู้ รียนไดเรียนรูกระบวนการ ควบคูกับการ มีผลงาน อันเกิดจากกระบวนการ เรียนรู ๑.๕ ให้ผเู้ รียนมีโอกาสนาความรู้ไปใช้ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง


แนวดาเนินการแบบโมเดลซิปปา(CIPPA MODEL)

ผูเ้ รียน

แสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูล

ทางกาย สังคม

การสร้างองค์ความรู้

C การสร้างปฏิสัมพันธ์ต่อกัน

I

การมีส่วนร่วม

P

การเรียนรูก้ ระบวนการ กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการทางาน

สถานการณ์ที่หลากหลาย

มีผลงาน

P

ศึกษาค้นคว้า จัดระเบียบความรู้

ประสบการณ์ ความคิด

อารมณ์ สติปัญญา

การแสวงหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา

การนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้

ฝึกใช้จนชานาญ

A

พัฒนาตนเอง


๔ ๗.กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕-๖ โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ๔๐ คน นักเรียนที่มีความสนใจต้องการใช้เวลาว่างเรียนรู้เพิ่มเติมความสามารถเกี่ยวกับงาน ประดิษฐ์เพื่อประกอบเป็นรายได้เสริมระหว่างเรีย น และโรงเรียนสามารถนาไปประยุ กต์ใช้ใ ห้ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนได้ ซึ่งยังต่อยอดพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการประกอบ อาชีพสุจริตให้สูงขึ้น ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ศึกษาวิเคราะห์นักเรียน

กาหนดแผนการปฏิบัติการ

จัดทาสื่อเพื่อสนับสนุนกิจกรรม

การแสวงหาความรูใ้ หม่

ฝึกลงมือให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง

ประเมินผล


๕ ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) โรงเรี ย นมี ก ารตรวจสอบคุ ณ ภาพ โดยใช้ วิ ธี ก ารประเมิ น ผลการด าเนิ น งาน ทุกกิจกรรม คือ ประเมินก่อนดาเนินงาน ประเมินระหว่างการดาเนินงาน และประเมินหลังการ ดาเนินงาน โดยการใช้แบบทดสอบประเมินความพึงพอใจ ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ เพื่อการพัฒนาสู่การประกอบอาชีพให้เกิดประโยชน์กับนักเรียนมากที่สุด เพื่อนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันและเชื่อมสัมพันธ์สอู่ นาคต ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๕ ปฏิบัติได้ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรมได้ ดี แ ละมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ การประกอบอาชี พ สุ จ ริ ต มี ความสามารถในการทาสิ่งประดิษฐ์และนาความรูไ้ ปพัฒนาต่อการประกอบอาชีพได้ดี ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP นักเรียนร้อยละ ๘๖มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ - นักเรียนทุกคนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนาผูบ้ ริหาร คณะครูให้ ความร่วมมือในการทางานและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนนาผลสาเร็จของการปฏิบัติกิจกรรม ทาให้นักเรียนได้รับผลตามวัตถุประสงค์ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปั ญ หาเพื่ อ หาสาเหตุ แ ต่ ล ะขั้ น ตอนแล้ ว น ามาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข ได้ แ ก่ การพัฒนาคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ที่หลากหลายและแบบใหม่ๆ ให้นา่ สนใจเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน


๖ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นัก เรี ย นสามารถออกแบบและลงมื อปฏิบั ติ มีค วามคิ ดริ เ ริ่ มสร้า งสรรค์อ ย่า ง หลากหลายและมีความภาคภูมิใจในการพัฒนาฝีมือของตนเองและขยายผลมุ่งสู่อาชีพในอนาคต ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง(ระบุวัน เวลาและรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ได้จัดนิทรรศการแสดงผลงานผลงานทางวิชาการของโรงเรียนและพานักเรียนเข้า ร่วมงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนเพื่อแสดงผลงานและได้เผยแพร่ให้โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายและ โรงเรียนต่างๆ จัดทาจุลสารเผยแพร่

ลงชื่อ นัทธมน โสมโสดา ผูข้ อรับการประเมิน ( นางสาวนัทธมน โสมโสดา ) ตาแหน่ง ครูอัตราจ้างโรงเรียนวัดหนองเสือ


ประมวลภาพ

ประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุเหลือใช้(ถุงพลาสติก)

ดอกไม้ประดับธูป-เทียนและดอกไม้จากใบเตย

ตุก๊ ตาจากวัสดุเหลือใช้(เศษผ้า)

จัดสวนถาดแบบชื้น



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.