BP นางสาวอาภัสรา อัศวพิทักษ์พงศ์

Page 1

นวัตกรรมและวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best Practice ) การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้เกมและเพลง ( Learning English By Games and Songs )

โดย นางสาวอาภัสรา อัศวพิทักษ์พงศ์ ครู คศ. 1

โรงเรียนบ้านใหม่ (จีนาภักดิ์วิทยา) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


1

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best Practice ) 1. ชื่อผลงาน การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้เกมและเพลง ( Learning English By Games and Songs ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ด้าน วิชาการ

2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางสาวอาภัสรา อัศวพิทักษ์พงศ์ 2.2 โรงเรียนบ้านใหม่ (จีนาภักดิ์วิทยา) ตาบลท่าม่วง อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาบ้านใหม่ ระดับประถมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 089-9149258 e – mail : kate_aphat@hotmail.co.th

3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้เกมและเพลง 3.2 เพือ่ ให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ

4. ระยะเวลาในการพัฒนา ตั้งแต่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๖

5. ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพม. / สพฐ. / สถานศึกษา สืบเนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบาย “พ.ศ. 2555 : ปี 255๒๕๕๖ เป็นปีแห่งการพูด ภาษาอังกฤษ” English Speaking Year 2012 และประเทศไทยต้องเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 (AEC) ได้กาหนดภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร รองรับการเคลื่อนย้ายประชากรที่ต้องติดต่อ ทางธุรกิจ การท่องเที่ยว การค้าขาย ซึ่งกันและกั นทั้ง 10 ประเทศ จาเป็นที่ต้องพัฒนาเด็กและเยาวชนรุ่นปัจจุบัน และรุ่นใหม่ ต้องมีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะทักษะการพูด และที่ผ่านมาสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ได้ดาเนินการอบรมพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษของบุคลากรทาง การศึกษาทุกคนแล้ว และจากสภาพปัจจุบันนักเรียนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้เพียงเล็กน้อย และนักเรียนทุกคนพูด ภาษาอังกฤษไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของโรงเรียนที่ต้องพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษให้นักเรียน สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เหมาะสมตามช่วงวัย ต่อไป เพื่อสนองนโยบายข้างต้น โรงเรียนบ้านใหม่ (จีนาภักดิ์วิทยา) โดยคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครองนักเรียน จึงได้กาหนดโครงการ English Speaking Year 2013 For Banmai School ใช้เป็นเครื่องมือ เสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ต่อไป

6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ ผู้ เรี ย นมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่ อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อในระดับที่สูง รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรม อันหลากหลายของประชาคมโลกและสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้


2

 ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง -พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม  ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความสัมพันธ์ ความ เหมือน และความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและวัฒนธรรมไทยและนาไปใช้อย่าง เหมาะสม  ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตนเอง  ภาษากับความสัมพัน ธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก มาตรฐานและตัวชี้วัดของ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีดังนี้ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่าง มีเหตุผล ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ 1. ปฏิบัติตามคาสั่งง่าย ๆ ที่ฟัง ประโยคคาสั่ง ปฏิบัติตามคาสั่ง 2. ระบุตัวอักษรและเสียง อ่าน ตัวอักษร เสียงตัวอักษร การสะกดคา 1. ระบุตัวอักษร ออกเสียงและสะกดคาง่าย ๆ หลักการอ่าน 2. อ่านออกเสียงและสะกดคาได้ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ถูกต้องตามหลักการอ่าน 3. เลือกภาพตรงตามความหมาย ความหมายของคาและกลุ่มคา เลือกภาพตรงตามความหมายของคา ของคาและกลุ่มคาที่ฟัง และกลุ่มคาที่ฟัง 4. ตอบคาถามจากการฟังเรื่อง คาศัพท์จากเรื่องที่ฟัง ตอบคาถามจากการฟังเรื่องใกล้ตัว ใกล้ตัว สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ 1. พูดโต้ตอบด้วยคาสั้นๆ ง่ายๆ คาศัพท์ สานวนภาษาที่ใช้ในการ พูดโต้ตอบด้วยคาสั้น ๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตาม สื่อสาร แบบที่ฟัง 2. ใช้คาสั่งง่าย ๆ ตามแบบที่ฟัง คาศัพท์ กลุ่มคา และประโยคคาสั่ง ปฏิบัติตามคาสั่งที่ฟังและออกคาสั่งให้ ง่ายๆ ผู้อื่นปฏิบัติตาม 3. บอกความต้องการง่าย ๆ ของ คา กลุ่มคา และประโยคเพื่อบอก พูดประโยคแสดงความต้องการของ ตนเองตามแบบที่ฟัง ความต้องการของตนเอง ตนเอง 4. พูดขอและให้ข้อมูลง่าย ๆ คาศัพท์ สานวนภาษาและประโยคเพื่อ พูดขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟัง ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง


3

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและ เขียน ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ 1. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง คาและประโยคที่พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับ พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และเรื่อง และเรื่องใกล้ตัว ตนเองและเรื่องใกล้ตัว ใกล้ตัว แนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาและการนาไปประยุกต์ใช้ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget) แนวคิด การนาไปประยุกต์ใช้ เด็กมีการรับรู้ เข้าใจ และสามารถดารงชีวิตได้ เกิดจากการรับรู้ 1. ให้เด็กได้เรียนรู้จากการใช้ประสาท ผ่านประสาทสัมผัสซึ่งเรียกว่า เป็นการซึมซับประสบการณ์ เพื่อ สัมผัส สร้างเป็นประสบการณ์เดิมเก็บไว้ในการรับรู้ และเมื่อเด็กได้รับ 2. ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่ ประสบการณ์ ใ หม่ เ ด็ ก มี ก ารน าประสบการณ์ ใ หม่ แ ละ หลากหลาย ประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน เด็กสามารถรับรู้ เข้าใจ 3. ให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยการสะท้อน ปฏิบัติ และน าไปใช้ได้ หากประสบการณ์เก่าและใหม่มีภาวะ ประสบการณ์ออกมาด้วยการพูด สมดุ ล กั น มี ก ารปรั บ โครงสร้ า งทางสติ ปั ญ ญาด้ ว ยการค้ น หา หรือการปฏิบัติ ความคิดและวิธีการในรูปแบบใหม่มาอธิบาย และแก้ปัญหาเพื่อ 4. ให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติใน ความชัดเจนจนเกิดเป็นภาวะสมดุลระหว่างประสบการณ์เดิมและ การค้นหาประสบการณ์ ประสบการณ์ใหม่ และเก็บไว้ในโครงสร้างทางสติปัญญา ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของไวก๊อตสกี้ (Vygotsky) แนวคิด เด็กเกิดการเรียนรู้และพัฒนาสติปัญญาจากการปฏิสัมพันธ์กับ ผู้ อื่ น และท างานร่ ว มกั น เด็ ก วั ย นี้ จ าต้ อ งได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ แนะน าจากผู้ ใหญ่ หรื อผู้ ที่มีป ระสบการณ์ ทาให้ เด็กสามารถ แก้ปัญหาและเกิดการเรียนรู้ได้ในชั้นเรียน ครูสามารถเป็นผู้ให้ การช่วยเหลือ แนะนา ใช้คาถามกระตุ้น ในการแก้ปัญหาและ การเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้เด็กแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง หน้าที่ครู คือ การจัดสื่อสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ จัดกิจกรรมที่ เด็กมีโอกาสทางานร่วมกับเพื่อน และจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้เด็กได้ปฏิบัติตามวิธีของตนเอง

การนาไปประยุกต์ใช้ 1. จัดกิจกรรมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์จาก กลุ่มเล็ก กลาง และใหญ่ 2. ครูคอยแนะนาช่วยเหลือระหว่าง การทากิจกรรม 3. จัดกิจกรรมที่กระตุ้นความอยากรู้ อยากเห็นของเด็กด้วยการใช้คาถาม สื่อ หรือสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ 4. ให้เด็กได้อธิบายและแสดง ความคิดเห็นจากกิจกรรมหรือ ผลงานของตนเองและกลุ่มเพื่อน


4

7. กระบวนการพัฒนา 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่(จีนาภักดิ์วิทยา) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2556 จานวน 15 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา ได้ดาเนินการศึกษาดังนี้ 1. วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลพื้นของนักเรียนด้านความสามารถพิเศษ ปัญหาการเรียนรู้ และแนวทางการส่งเสริม 2. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อจัดทาหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ โดยศึกษาในส่วนของ 2.1 สาระ / มาตรฐาน /ตัวชี้วดั โดยมุ่งเน้นสาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.2.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2.3. .สมรรถนะ 3. วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมและเพลง สอดแทรกในแผนการจัดการเรียนรู้ทุกแผน และจัดเตรียมสื่อ โดยใช้เกมและเพลงให้เหมาะสมกับบทเรียน เพื่อใช้ในการประกอบการจัดกิจกรรม 5. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม (การเล่นเกม และร้องเพลง) 6. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการเล่นเกมและร้องเพลง 7. ตรวจสอบการร่วมกิจกรรม และความสามารถในการพูดของนักเรียน โดยทุกๆสัปดาห์ ครูจะประเมินนักเรียนโดยใช้แบบประเมินการพูด เพื่อประเมินการพูดของนักเรียนเป็นรายบุคคล และบันทึกผลการ ประเมิน 8. ปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมโดยใช้เกมและเพลง ในการจัดการเรียนรู้ หากมีข้อบกพร่อง ให้ดาเนินการวางแผนแก้ไขต่อไป


5

แผนภาพแสดงขั้นตอนการพัฒนา Best Practice การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้เกมและเพลง ( Learning English By Games and Songs )

วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล

วิเคราะห์หลักสูตร / มาตรฐานการเรียนรู้ และกาหนดหน่วยการเรียนรู้

วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เกมและเพลง

ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน

ผ่านตามเกณฑ์ ระดับ คุณภาพ

ผ่าน นาไปพัฒนาต่อยอดการเรี ยนรู ้ ในระดับที่สูงขึ้น

ไม่ผ่าน


7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP ทุกๆสัปดาห์ครูจะประเมินโดยใช้แบบประเมิน เพื่อประเมินการพูดของนักเรียนเป็นรายบุคคล และบันทึก ผลการประเมินหลังจากนั้นนาผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนากิจกรรมนี้ต่อไป

6

7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์  ครูนาผลของวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  ครูติดตามดูแลและประเมินผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศไปใช้  รายงานผลการปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชา เป็นระยะ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 86.66 กล่าวทักทาย พูดแนะนาตนเองได้เป็นอย่างดี  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 80.00 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษดีขึ้น 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ  นักเรียนร้อยละ 93.33 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP  จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรในโรงเรียน มีความพึงพอใจกับวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศนี้  จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 93.33 ของผู้ปกครองมีความพึงพอใจกับวิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศนี้  จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 86.66 ของนักเรียนมีความพึงพอใจกับวิธีปฏิบัติที่ เป็นเลิศนี้ 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์กว้างไกล เห็นความสาคัญในการจัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งใน และนอกสถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูเข้ารับการประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และเป็นที่ปรึกษาใน ทุกๆ ด้านเป็นอย่างดี 2. คณะครูในโรงเรียน ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมส่งเสริม และพัฒนาการเรียน การสอน เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการที่วางไว้ 3. จากการให้นักเรียนฝึกทักษะการพูด โดยใช้เกมและเพลง ที่เริ่มจากการพูดได้บ้างไม่ได้บ้าง เมื่อนักเรียนมี ความสนุกกับการเรียนแล้ว ก็จะเป็นแรงจูงใจอีกอย่างหนึ่งที่จะทาให้นักเรียน มีความอยากรู้อยากฝึกทักษะการพูดให้ คล่องมากขึ้น จนเกิดการเรียนรู้ได้โดยอัตโนมัติและเริ่มคุ้นเคยกับการพูดภาษาอังกฤษ มากขึ้น 4. ถ้าหากนักเรียนได้ฝึกทาในเรื่องเดิมซ้าๆทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างถาวรและเกิดความแม่นยา ความคล่องแคล่วในการพูดคาศัพท์และประโยคต่างๆ มากกว่าเรียนเพียงระยะเวลาอันสั้น 5. ถ้านักเรียนทราบผลการประเมินของตนเองในแต่ละครั้ง จะทาให้นักเรียนเกิดการพัฒนาครั้งต่อไปให้ดีขึ้น และเกิดการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา ว่าจะต้องทาในครั้งต่อไปให้ดีขึ้นกว่าเดิมเรื่อยๆ 6. จากการใช้เกมและเพลงในการพัฒนาทักษะการพูด ทาให้นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษดีขึ้น 7. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ และเกิดความรู้สึกภูมิใจในตัวเอง


9. กระบวนการตรวจสอบซ้า เพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง

7

9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP  ตรวจสอบการดาเนินงานทุกขั้นตอน ถ้าพบปัญหาแก้ไขในทันที  ตรวจสอบผลการพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยใช้แบบประเมินเป็นระยะ  มีการรายงานผลการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างเป็นระบบ  ตรวจสอบจากแบบสอบถามความพึงพอใจจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศนี้ 9.2 ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP  นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ และตั้งใจเรียนมากขึ้น  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มสูงขึ้น  สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้

10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1) ประชุมผู้ปกครองและครู ณ โรงเรียนบ้านใหม่ (จีนาภักดิ์วิทยา) โดยใช้โปรแกรมนาเสนอผลเสนองาน และแผ่นพับ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 2) จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 วันที่ 9 กันยายน 2556 3) จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาบ้านใหม่ วันที่ 20 กันยายน 2556 4) เผยแพร่ผลงานผ่านทาง facebook ของ นางสาวอาภัสรา อัศวพิทักษ์พงศ์ watachi_pig@hotmail.com


8

ภาคผนวก


9

ภาพประกอบกิจกรรม

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เตรียมพร้อมสาหรับกิจกรรม

Puppet show


10

ฝึกทักษะการพูด โดยใช้เกม puppet show

Alphabet หรรษา


11

Dice พาเพลิน


12

มาเรียนรู้คาศัพท์เกี่ยวกับสัตว์กันนะจ๊ะเด็กๆ

What is it?


13

เพลง Head Shoulder Knee and toes

แอบมองเพื่อนซะหน่อย ว่าชี้ผิด หรือถูก


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.