Best practice นางอุษณีย์ ศรีนวล

Page 1

1. ชื่อผลงาน Best Practice กลุ่มสาระการเรียนรู้..................กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน.............................................................................. ด้าน ( ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา () นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice 2.1 ชื่อผู้พัฒนา Best Practice ..........นางอุษณีย์ ศรีนวล..................................................... 2.2 โรงเรียน โรงเรียนบ้านพุประดู่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 081-1979569 E-mail : ausanee_pom@windowslive.com 3. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice - เพื่อพัฒนาทักษะทางนาฏศิลป์ - เพื่อให้นักเรียนตระหนัก เห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในนาฏศิลป์ - เพื่อให้เกิดค่านิยมในการร่วมกันอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย - เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชานาฏศิลป์สูงขึ้น 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ขั้นตอน วิธีการ ระยะเวลา ขั้นเริ่มต้น 1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการในการเรียนวิชานาฏศิลป์ 2 สัปดาห์ 2. สารวจความสนใจและรับสมัครนักเรียนชุมนุมนาฏศิลป์ 3. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 1 สัปดาห์ 4. กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2 สัปดาห์ 5. หาสื่อวีดีทัศน์นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์มาให้นักเรียนศึกษา และ 2 สัปดาห์ ปฏิบัติท่าราเบื้องต้นและท่านาฏยศัพท์เบื้องต้น 1 เดือน ขั้นพัฒนา ฝึกปฏิบัติท่ารานาฏศิลป์ ราวงมาตรฐาน นาวิธีการมาใช้กับนักเรียน 1 ปีการศึกษา ขั้นหลังการ วิเคราะห์และสรุปผล 2 เดือน พัฒนา 1. ประเมินผลความรู้ความเข้าใจโดยการทดสอบภาคปฏิบัติและนานักเรียน ออกแสดงตามงานต่างๆ ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันในงานศิลปหัตถกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนรู้สูงขึ้น 3. นักเรียนประสบผลสาเร็จในการแข่งขันทักษะทางวิชาการได้เป็นตัวแทน ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปแข่งขันในระดับสานักงานเขตพื้นที่ 5. ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา การพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ด้วยราวงมาตรฐาน ช่วยให้นักเรียนเข้าใจและศึกษาทบทวนด้วยตนเองได้ในเวลาว่าง โดยมี ค รู เ ป็ น ผู้ ส าธิ ต ท่ า ร าเป็ น ต้ น แบบที่ ถู ก ต้ อ งให้ เมื่ อ ฝึ ก ฝนบ่ อ ยๆเข้ า จะเกิ ด ทั ก ษะร าได้ อ ย่ า งสวยงาม การพั ฒ นาทั ก ษะนาฏศิ ลป์ จึ ง สั มพั น ธ์ กั บ เป้ า หมาย จุ ด เน้ น ของสพป. / สพฐ.และหลั ก สู ต รสถาน ศึ ก ษาที่ ว่ า กลุ่ ม สาระนี้ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ มี จิ น ตนาการทางศิ ล ปะ ชื่ น ชมความงาม มีสุนทรียภาพความมีคุณค่าซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์ และการละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทต่างๆของไทยในแต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อน วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา เห็นคุณค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย


2 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice การพัฒนา ในการนาไปใช้ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทัก ษะนาฏศิลป์นั้น ผู้สอนได้ใช้ทฤษฎีรูปแบบการเรียน การสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (โมเดลซิปปา : CIPPA Model) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียน รู้จักการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ผ่านกิจกรรมหลากหลายทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ควบคู่ ไปกับกระบวนการ จนเกิดความสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้การพัฒนารูปแบบนี้เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ที่ได้ใช้แนวคิดทางการศึกษา นอกจากนั้น ครูต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการหานวัตกรรมและวิธีใ หม่ ๆ ในการสอน จัดหาเวทีให้นั กเรียนได้แสดงออกเพื่อสร้ างประสบการณ์ให้แก่นักเรี ยน ตามธรรมชาติของวิช า นาฏศิลป์ ครูจะต้องเป็นแบบอย่างสาธิตท่าราให้นักเรียนดู เรียกว่าการสอนแบบอธิบายและสาธิตการสอน แบบให้นักเรียนปฏิบัติและฝึกด้วยตนเอง การสร้างเอกสารประกอบการเรียนการสอนพร้อมวีดีทัศน์ การหาสื่อ การเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ การสร้างค่านิยมให้รักและภูมิใจในนาฏศิลป์ไทย 7. กระบวนการพัฒนา Best Practice 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในชุมนุมนาฏศิลป์ โรงเรียนบ้านพุประดู่ จานวน 22 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) 1) ศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตร 2) กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 3) จัดการเรียนการสอนตามแบบซิปปาโมเดล 4) ฝึกปฏิบัติกับนักเรียนจนเกิดทักษะที่สวยงาม 5) ประเมินผลการเรียนโดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับวิธีการสอน 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) 1) ครูผู้สอนสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนต้องทางานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 2) ผู้บริหารกากับติดตาม นิเทศ ส่งเสริมสนับสนุนให้ขวัญและกาลังใจในการทางาน 3) ประยุกต์ความรู้ให้ใช้ได้ทุกสถานการณ์เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดสร้างสรรค์อยู่เสมอและ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4) มีการประเมินผลการเรียนโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนและ ผู้ปกครอง ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ 1) นักเรียนปฏิบัติท่าราราวงมาตรฐานได้อย่างถูกต้องสวยงาม 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในวิชานาฏศิลป์สูงขึ้น 7.4 แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาทักษะนาฏศิลป์และปลูกฝังให้เกิดความรักภาคภูมิใจในนาฏศิลป์ไทย 8. ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 ปฏิบัติได้ถูกต้องสวยงาม 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนปฏิบัติทักษะนาฏศิลป์ได้ถูกต้องครบถ้วน และสามารถสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice


3 นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนา ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เพื่อนช่วยเพื่อนและพี่ช่วยน้องช่วยให้นักเรียน เรียนรู้ได้เร็วและดีขึ้น สามารถทบทวนศึกษาบทเรียนด้วยตัวเองได้ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า Best Practice ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข ได้แก่การพัฒนาสือ่ การ เรียนการสอนทักษะนาฏศิลป์ให้มีรูปแบบใหม่ๆเสมอ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice นักเรียนสามารถพัฒนาการใช้ทักษะนาฏศิลป์ในการเรียนรู้ได้ดีขึ้น 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ส่ ง เสริ ม นั ก เรี ย นออกแสดงใน งานขึ้ น บ้ า นใหม่ ข องคณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (นายประดิษฐ์ ลาไย) แสดงต้อนรับคณะกรรมการติดตามการดาเนินงานตามนโยบายสานักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน แสดงในงานกิ จ กรรมวั น ส าคั ญ ต่ า ง ๆ ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลหนองบั ว งานแจกประกาศนี ย บั ต รนั ก เรี ย น(บั ณ ฑิ ต น้ อ ย) แสดงในงานกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของโรงเรี ย น เพื่ อ เผยแพร่ ให้ประชาชนได้ชม ส่งเข้าประกวดทักษะงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1 ครั้งที่ 61 ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง ส่งเข้าประกวดทักษะงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ครั้งที่ 62 ได้รับรางวัลเหรียญเงิน และได้เผยแพร่ ผลงานให้แก่ครู คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครอง ดังนี้ 1. ประชาสัมพันธ์ในที่ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน(ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 5) 2. ประชาสัมพันธ์ในที่ประชุมผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียน 3. วารสารประดู่สัมพันธ์ 4. จัดนิทรรศการมีชีวิตในงานนิทรรศการวิชาการ ปีการศึกษา 2555 หมายเหตุ 1. อาจมีภาพถ่าย เอกสาร หลักฐาน หรือผลงานประกอบ 2. กรุณาส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ poopiyanard@gmail.com


4

ภาพกิจกรรม


5


6 CIPPA MODEL รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model) หรือรูปแบบ การประสานห้าแนวคิด ได้พัฒนาขึ้นโดย ทิศนา แขมมณี รองศาสตราจารย์ประจาคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งได้พฒ ั นารูปแบบจากประสบการณ์ในการสอนมากว่า 30 ปี และพบว่าแนวคิดจานวนหนึ่ง สามารถใช้ได้ผลดีตลอดมา จึงได้นาแนวคิดเหล่านั้นมาประสานกันเกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าวได้แก่ แนวคิดการสร้างความรู้ แนวคิดกระบวนการกลุม่ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการ เรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู้ เมื่อนาแนวคิดดังกล่าวมา จัดการเรียนการสอนพบว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและ สังคม โดยหลักการของโมเดลซิปปา ได้ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในตัวหลักการคือการ ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ให้ มากที่สุด มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและได้เรียนรู้จากกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นและ ประสบการณ์ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ร่วมกับการผลิตผลงานซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้นักเรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตาม แนวคิด Constructivism (ทิศนา แขมมณี, 2542 ) ความหมายของ CIPPA C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การสร้างความรู้ตามแนวคิด ของ Constructiviism กล่าวคือ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง ทาความ เข้าใจ เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ตนเอง และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ทางสติปัญญา I มาจากคาว่า Interaction หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและ สิ่งแวดล้อม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และแหล่งความรู้ที่ หลากหลาย ได้รู้จักกันและกัน ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดประสบการณ์ แก่กันและกันให้มากที่สุด เท่าที่จะมากได้ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนทางสังคม P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาท มีส่วนร่วม ทางด้านร่างกาย ให้ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมทางด้านร่างกาย P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้ กระบวนการ ต่างๆ ของกิจกรรม การเรียนรู้ที่ดี ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิต A มาจากคาว่า Application การนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้รับ ประโยชน์จากการเรียน เป็นการช่วยผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งในสังคม และ ชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆจากแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของทิศนา แขมมณี (2542) หรือเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า หลักของโมเดลซิป ปา (CIPPA MODEL) ซึ่งได้รูปแบบการเรียนการสอนซึ่งสามารถประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนมี ขั้นตอนสาคัญดังนี้ 1.ขั้นทบทวนความรู้เดิม ขั้นนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมี ความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน


7 2. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่มีจาก แหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซี่งครูอาจเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูล ต่างๆ เพือ่ ให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ 3. ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ขั้นนี้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา และทาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของ ข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่ม ในการอภิปรายและสรุปผลความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้เดิม มีการ ตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและย้ามโนมติในการเรียนรู้ 4. ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ ใน การตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้รับประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไป พร้อมๆกัน 5. ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้ เดิมและความรู้ใหม่ และจัดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 6. ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้แสดงผลงานการสร้างความรู้ของ ตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนตอกย้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 7. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ ขั้นนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนาความรู้ ความเข้าใจของ ตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหา และความจาในเรื่องนั้น ๆ ……………………………………… เอกสารอ้างอิง ทิศนา แขมมณี. (2542). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพาณิช.


8 การจัดการเรียนการการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้นก็คือ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ แผนภาพแสดงแนวการดาเนินการของครูผู้สอนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสาคัญที่สุด 1. ขั้นเตรียมการ ……………………………………………………………………... 1.1 เตรียมตนเอง 1.2 เตรียมแหล่งข้อมูล 1.3 จัดทาแผนการสอน - เตรียมกิจกรรม - เตรียมวัสดุอุปกรณ์ - เตรียมการวัดผลและประเมินผล

2. ขั้นดาเนินการ ………………………………………………………………………………………. จัดกิจกรรมการเรียนโดยให้ผู้เรียน 1. สร้าง ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง (C = Construct) 2. มีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งความรู้หลากหลาย (I = Interaction) 3. มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ (P = Physical Participation) 4. ได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ (P = Process Learning) 5. นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ (A = Application)

3. ขั้นประเมินผล ……………………………………………………………………... วัดและประเมินผลตามสภาพจริง 1. วิธีการที่หลาหลาย 2. จากการปฏิบัติ 3. จากแฟ้มสะสมงาน


9


10


11

เกียรติบัตร


12


13


14


15


16


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


33


34


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.