BP นางวณิชย์ชยา โพชะเืรือง โรงเรียนวัดหนองเสือ

Page 1

เน


๑. ชื่อผลงาน เรื่อง การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพืน้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย สาหรับนักเรียนชัน้ ม.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษายอดเยี่ยม ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา ๒.๑ ผู้รายงาน นางวณิชย์ชยา โพชะเรือง ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ ๒.๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัด การศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โทรศัพท์ ๐๓๔-๖๔๗๓๓๑ โทรศัพท์มือถือ ๐๘๑- ๓๖๔๕๑๓๑ E-mail wanitchaya ๙๙๔๗@hotmail.co.th ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ๑. เพื่อหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอนการแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง การ แสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ก่อนและหลังการ เรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ๓. เพื่อพัฒนาทักษะการแสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย ของนักเรียนที่ผ่านการ เรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ๔. เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนนาประสบการณ์ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้ไปใช้ใน การดารงชีวิตตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๔. ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นพัฒนา ปีการศึกษา ๒๕๕๕-๒๕๕๖ ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา จานวน ๒ ภาคเรียน และใช้ทดลองกับนักเรียนในปีการศึกษา ๒๕๕๕


๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย เนื่องจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระการ เรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์) มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรูค้ วามเข้าใจ มีทักษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณค่าของศิลปะ ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิต มนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็น พืน้ ฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ สาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ : มีความรูค้ วาม เข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบือ้ งต้นทาง นาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ัญญาไทย และสากล สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งนาฏศิ ล ป์ ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล จากประสบการณ์ ใ นการเรี ย นการสอน มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบท าการสอน นาฏศิลป์ติดต่อกันมาเป็นเวลา ๓๒ ปี สาเหตุของปัญหาที่สาคัญเนื่องมาจาก นักเรียนส่วน ใหญ่ไม่ได้รับการปลูกฝังที่ดี ด้านวัฒนธรรม มองเห็นเป็นเรื่องล้าสมัย ไม่ทันต่อเหตุการณ์ นักเรียนขาดความสนใจ ไม่ตั้งใจเรียน เนื่องจากสื่อการเรียนการสอนไม่น่าสนใจ ไม่ทันสมัย ไม่สอดคล้องกับท้องถิ่นส่งผลกระทบ ทาให้การเรียนรู้ในวิชานาฏศิลป์มีขดี จากัดอยู่ในวงแคบ ๆ ไม่สอดคล้ องกับการส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้เป็นมรดกของชาติ การเรี ยนการสอน เฉพาะภายในชั่วโมงเรียนเพียงอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอต่อการสอนทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ ไม่เพียงพอต่อการส่งเสริมด้าน ฝึกหัดทักษะ ในกระบวนการปฏิบัติประกอบกับวิธีการสอน นาฏศิลป์ส่วนใหญ่ใช้การสอนแบบสาธิตประกอบการบรรยาย ซึ่งครูมีจานวนน้อยไม่เพียงพอ ต่อจานวนนักเรียนที่มีมากกว่าโรงเรียนวัดหนองเสืออยู่ในชุมชนที่มีการจัดกิจกรรมเป็นประจา


และได้รับการร้องขอในการนาผลงาน การแสดงนาฏศิลป์ของนักเรียนไปแสดงในชุมชนตามที่ ประชาชน หรือหน่วยงานต่าง ๆ ขอรั บการสนับสนุนจากทางโรงเรียนเป็นประจา ซึ่งการที่จะ ทาให้นักเรียนเกิดทักษะและสามารถพัฒนาการสอนที่เน้นการปฏิบัติจริงนั้น จึงต้องหาแนวทาง ปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ จากปัญหาดังกล่าวผู้รายงานได้เห็นความสาคัญ จึงได้จัดทาเอกสารประกอบการเรียนการ สอน โดยนาเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับอาชีพในท้องถิ่นมาดัดแปลง ประดิษฐ์เป็นท่ารา เพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ตามแนวทางการจัด การเรียนการสอนในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ ซึ่งการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนมี ขั้นตอนในการจัดทาไม่ซับซ้อน สามารถจัดทาขึ้นเองได้ ทาให้มีส่ือการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น รวมทั้งเป็นสื่อกลางในการแก้ไขปัญหาที่จะช่วยถ่ายทอดภาพการแสดงในท่าต่างๆไปยังนักเรียน ได้ถูกต้องทั่วถึง ทาให้นักเรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ นักเรียนสามารถนาไปใช้ ศึกษาได้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนทุกเวลา เป็นการเพิ่มพูนประสิทธิภาพความรู้จาก กระบวนการปฏิบัติ ในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะ สาระนาฏศิลป์ตามแนวหลักสูตรใหม่ พบว่า ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนในหลายปีที่ผ่านมา ข้าพเจ้า จะสอน ตามเอกสารเท่ า ที่ ร วบรวมได้ ซึ่ ง เอกสารดั ง กล่ า วมี เ นื้ อ หาสาระที่ ไ ม่ ค รอบคลุ ม จุดประสงค์การเรียนรู้ ขาดข้อมูลที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถทาได้ ในวงจากัด นักเรียนขาดประสบการณ์ตรง ไม่ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการ เรียนรู้ ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประเด็น ได้แก่ ๑. ตัวนักเรียนมีพนื้ ฐานในการเรียนนาฏศิลป์ และได้รับการฝึกฝนมาน้อย ๒. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เหมาะกับวิชานาฏศิลป์ สื่อการเรียนการ สอน ไม่เหมาะกับเนือ้ หา และเครื่องมือวัดผลประเมินผลไม่ชัดเจน ๓. ต้องการใช้นาฏยศัพท์ และภาษาท่านาฏศิลป์มาดัดแปลงท่าราให้สัมพันธ์กับ อาชีพของชุมชนในท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัย สืบทอดภูมิปัญญาด้านการทอผ้าฝ้าย เพื่อพัฒนาผลการเรียนของนักเรียน ให้มีความซาบซึ้งในหลักวิชาและสร้างจิตสานึกใน การอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมไทย จึงได้จัดทาสื่อประกอบการเรียนการสอน เพื่อสร้างความสนใจในการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย เอกสารประกอบการเรียนการสอน ใน เนือ้ หารายวิชา แบบทดสอบต่าง ๆ ซึ่งนักเรียนสามารถที่จะศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง เพื่อ เกิดความเข้าใจและให้มีส่ือการเรียนการสอนในปัจจุบัน เพิ่มขึ้น เพื่ อการปรับตั วทันต่อการ เปลี่ยนแปลง และสามารถดารงชีพอยู่อย่างมีความสุข


๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ การจัดทาเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย ข้าพเจ้าใช้แนวคิดของการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน ทั้ง ๗ ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ ๑ ขั้นการรับรู้ ขั้นที่ ๒ ขั้นการเตรียมความพร้อม ขั้นที่ ๓ ขั้นการสนองตอบภายใต้การควบคุม ขั้นที่ ๔ ขั้นการให้ลงมือกระทาจนกลายเป็นกลไกที่สามารถกระทาได้เอง ขั้นที่ ๕ ขั้นการกระทาอย่างชานาญ ขั้นที่ ๖ ขั้นการปรับปรุงและประยุกต์ใช้ ขั้นที่ ๗ ขั้นการคิดริเริ่ม โดยเป็นการสอนทักษะปฏิบัติที่เป็นไปตามลาดับขั้นตอนที่มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถ ของผู้เรียนในด้านการปฏิบัติ การกระทา หรือการแสดงออกต่าง ๆ ซึ่ งการสอนต้องใช้หลักการ วิธีการ ที่แตกต่างไปจากการพัฒนาทางด้านจิตพิสัย หรือพุทธิพิสัย (ทิศนา แขมมณี, ๒๕๕๐ : ๒๔๓) จึงนับว่าเหมาะสมอย่างยิ่งกับการเรียนการสอนนาฏศิลป์ ซึ่งเป็นการเรียนเกี่ยวกับ การใช้ทักษะเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางกายของผู้เรียน โดยนักเรียนสามารถ พัฒนาทักษะปฏิบัติงานได้ด้วยการฝึกฝน หากได้รับการฝึกฝนที่ดีแล้วจะเกิดความถูกต้อง ความคล่องแคล่ว ความเชี่ยวชาญ ความชานาญการ และความคงทนของพฤติกรรมหรือการ ปฏิบัตงิ านนั้น ๆ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากการปฏิบัตงิ าน ความรวดเร็ว ความแม่นยา ความแรง หรือความราบรื่น ในการจัดการโดยที่ผู้เรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค์ ในการเรียน มีการนาเสนอเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกทักษะปฏิบัติด้วยตนเอง เมื่อนักเรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจนเกิดความ ชานาญ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและในการ ดารงชีวิต

๗. กระบวนการพัฒนา Best Practice ๗.๑ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนวัดหนองเสือที่เรียนวิชานาฏศิลป์ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ จานวน ๒๔ คน


ขั้นตอนการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนการสอนการแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอ ผ้าฝ้าย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มีขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบ คุณภาพที่ได้) ๑. ตรวจสอบคุณภาพเอกสารประกอบการเรียนการสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ จานวน ๓ ท่าน ๒. การหาค่าประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอนเท่ากับ ๘๑.๘๒/ ๘๔.๐๓ ๓. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่าง คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมีนัยสาคัญที่ระดับ ๐.๐๕ ๔. การใช้แบบสอบถาม สอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนมีคะแนนเฉลี่ยค่าความพึงพอใจของครูและนักเรียนที่มีต่อการนา เอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ไปใช้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๑. นาไปใช้กับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒. นาไปให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเองเพื่อเป็นพื้นฐานสูก่ ารฝึกทักษะด้วยตนเอง ๓. นาไปใช้กับการจัดการเรียนรู้เสริมให้กับนักเรียนในกลุม่ สาระศิลปะในระดับชั้นอื่น ๆ ๔. เผยแพร่แก่เพื่อนครูทั้งในและนอกสถานศึกษา

๘.ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนการ สอนการแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย มีประสิทธิภาพเท่ากับ ๘๑.๘๒/ ๘๔.๐๓ ซึ่ง เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ๘๐/ ๘๐ แสดงว่าเอกสารประกอบการเรียนการสอนการ แสดงพืน้ เมืองชุด ระบาทอผ้าฝ้าย สามารถช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึน้ หรือ มีทักษะการเรียนสูงขึน้ ๘.๑.๒ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีผลการทดสอบระดับชาติปีการศึกษา ๒๕๕๕ สูงกว่าระดับประเทศ


๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย แล้วเมื่อเข้าแข่งขันในระดับต่าง ๆ ประสบผลสาเร็จตามลาดับดังนี้ ๑. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต ๑ ๒. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม การแข่งขัน นาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต ๑ ๓. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับ ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต ๑ ๔. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับ ร้องเพลงไทยสากลและเพลงสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต ๑ ๕. ได้รับรางวัล เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม วงดนตรี ลูกทุ่งประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขต พืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต ๑ ๖. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม การแข่งขัน นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาค กลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ๗. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยสากลและเพลงสากล ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาค กลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ๘. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยลูกทุ่ง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต ๑ ๙. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้ง ที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ จังหวัดกาญจนบุรี


๑๐. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน ประเภทกิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี ๑๑. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยลูกทุ่ง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาค ตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง ๑๒. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยสากลและเพลงสากล ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาค กลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง ๑๓. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม วงดนตรี ลูกทุ่งประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาค ตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง ๑๔. ได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน ประเภทกิจกรรม วงดนตรี ลูกทุ่งประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี ๘.๓ ความพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice จากการสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียน วัดหนองเสือ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ที่เรียนรายวิชานาฏศิลป์ เรื่อง การแสดง พืน้ เมือง ชุดระบาทอผ้าฝ้าย โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน พบว่า นักเรียนมีความ พึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอนในระดับมาก ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice ๘.๑.๑ ฝ่ า ยผู้ บ ริ ห าร/คณะครู ใ ห้ ค วามส าคั ญ ในการพั ฒ นาเอ กสาร ประกอบการเรียนการสอนการแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๘.๑.๒ ได้รับความร่วมมือจากคณะครูและนักเรียนในการดาเนินการพัฒนา เอกสารประกอบการเรีย นการสอนการแสดงพื้ นเมื อง ชุ ด ระบ าทอผ้า ฝ้า ย วิ ชานาฏศิล ป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เป็นอย่างดี ๘.๑.๓ ผู้เชี่ยวชาญให้คาชีแ้ นะ ช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๑.๔ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะใน การเรียนวิชานาฏศิลป์ มีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์


๑๐

อย่างอิสระซาบซึ้งและเห็นคุณค่าของศิลปะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รัก หวงแหนมรดก ทาง วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย

๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดี อย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า นาเอกสารประกอบการเรียนการสอนการแสดงพื้นเมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย วิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ไปใช้สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีถัดไป แล้วสารวจผลการเรียนว่าเป็นไปตามการประเมินครั้งแรกหรือไม่ ถ้าผลการเรียนลดลงต้อง แก้ไขในเอกสารประกอบการเรียนและแบบทดสอบเพื่อปรับปรุงงานให้พัฒนาขึน้ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อปรับปรุง พบว่า การเรียนด้วยเอกสารมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จากผลการสอบโอเน็ต (O-net) ประจาปี ๒๕๕๕ พบว่า นักเรียนที่ข้าพเจ้าทา การสอนในรายวิชาศิลปะมีผลการเรียนเฉลี่ยที่ ๔๕.๖๘ ซึ่งสูงกว่าผลการเรียนวิชาศิลปะใน ระดั บประเทศที่เฉลี่ย ๔๓.๓๑ สรุป ได้ว่ า เอกสารประกอบการเรี ยนการสอนนาฏศิ ลป์ มี ประสิทธิภาพตามผลการประเมิน

๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง รูปแบบการขยายผล Best Practice สู่องค์กร และหน่วยงานที่มีส่วนร่วมกลุม่ เป้าหมาย (พ.ศ. ๒๕๕๕) มีดังนี้ ๑๐.๑ งานเผยแพร่ Best Practice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ โรงเรียนวัดไชยชุมพลชนะ สงคราม โดยวิธีการนาเสนอผลงานของตนเอง และแจก เอกสารแนะนาผู้เข้าร่วมประชุม ๑๐.๒ งานเผยแพร่ Best Practice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔ ณ โรงแรมราชศุภมิตร โดย วิธีการนาเสนอผลงานของตนเอง และแจก เอกสารแนะนาผู้เข้าร่วมประชุม ๑๐.๓ งานเผยแพร่ Best Practice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ งานศิลปหัตถกรรม ครัง้ ที่ ๖๒ วันที่ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ณ โรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ลาดหญ้า โดยวิธีการนาเสนอผลงานของตนเอง และแจก เอกสารแนะนาผู้เข้าร่วมประชุม


๑๑

๑๐.๔ เผยแพร่ผลงานให้แก่เพื่อนครูในโรงเรียนและโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายและผู้มา ศึกษาดูงานจากจังหวัดต่าง ๆ ๑๐.๕ นักเรียนที่ได้เรียนรู้จากเอกสารประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ทาให้นาไปสู่ การแสดงนาฏศิลป์ประสบผลสาเร็จจนได้เป็นตัวแทนเขตพื้นไปแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ การศึกษา ๒๕๕๕ ได้รับรางวัลเหรียญทอง และกิจกรรมร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ไทยสากล การแสดงวงดนตรีลูกทุ่งในระดับภาค งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้ งที่ ๖๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง ได้รับรางวัลเหรียญทอง ได้เป็นตัวแทนเขตพื้นที่ไปแข่งขันวงดนตรี ลูกทุ่งประเภท ก ระดับชาติ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ที่ เมืองทองธานี ได้รับรางวัลเหรียญเงิน

ผู้ส่งผลงาน

วณิชย์ชยา โพชะเรือง (นางวณิชย์ชยา โพชะเรือง)

ผู้ให้ความเห็นชอบ (นายปัญญา เที่ยงธรรม ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ


๑๒

ภาคผนวก


๑๓

เอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพืน้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย สาหรับ นักเรียนชัน้ ม.๑ ประกอบด้วย ๑. เอกสารประกอบการเรียนการสอน การแสดงพืน้ เมือง ชุด ระบาทอผ้าฝ้าย


๑๔

๒.รูปภาพกิจกรรมนาฏศิลป์ ระบาทอผ้าฝ้าย


๑๕

ประกวดนาฏศิลป์สร้างสรรค์ งานศิลปหัตถกรรม ระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก ประจาปี ๒๕๕๔ จังหวัดกาญจนบุรี


๑๖

งานวันครบรอบหลวงพ่อหอม - หลวงพ่อสมุทร


๑๗

ประกวดวงดนตรีลูกทุ่ง

ประกวดร้องเ


๑๘

เพลงไทยลูกทุ่งและเพลงไทยสากล


๑๙

๓. การเผยแพร่ผลงาน

การเผยแพร่ Best Pratice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔ ณ โรงแรมราชศุภมิตร

งานเผยแพร่ Best Practice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ งานศิลปหัตถกรรมครัง้ ที่ ๖๒ วันที่ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ณ โรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ลาดหญ้า


๒๐

๔. เกียรติบัตร ครูผู้สอน


๒๑


๒๒


๒๓

นักเรียน


๒๔


๒๕


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.