Best practice น.ส.วิไล กวางคีรี ผอ.โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม

Page 1

โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม หมู่ 3 ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


คานา การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างแท้จริงนั้นจาเป็นต้องมีการร่วมมือกันของหลายฝ่าย ซึ่ง นอกจากผู้บ ริห าร ครู ผู้ ปกครอง คณะกรรมกการสถานศึกษาแล้ ว ในส่ว นขององค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนก็มีความสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จและการบรรลุเป้าหมายในการจัดการศึกษา ของโรงเรียน โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม เป็นสถานศึกษาพอเพียง โรงเรียนคุณธรรมชั้นนา โรงเรียน แกนนาในการใช้ระบบ Coaching and Mentoring ดังนั้นในการจัดการศึกษาจึงมุ่งเน้นที่จะ เสริมสร้างผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม โดยมีความรู้ความสามารถทั้งในด้านวิชาการ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้เรียน สามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง การ จัดการศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้มีทักษะ 3 ด้านคือ ทักษะชีวิตและการทางาน ทัก ษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม และทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ความพร้อมที่จะก้าวสู่ศตวรรษที่21 ได้เป็น อย่ า งดี ซึ่ ง รู ป แบบในการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษานั้ น นั บ ได้ ว่ า มี ค วามส าคั ญ ต่ อ ความสาเร็จและความล้มเหลวในการจัดการศึกษา โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม ได้ตระหนักถึงความสาคัญของบรรยากาศในการทางาน โดยเน้น การทางานเป็นทีม และเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมีส่ว นร่วมในการจัดการศึกษาในทุกกระบวนการหรือ ขั้นตอนของการทางาน ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับของบุคคลโดยทั่วไป อย่างไรก็ดี กระบวนการบริหารแบบ POSRI Management เป็นรูปแบบหนึ่งที่โรงเรียนใช้ในการ บริหารงานและประสบความสาเร็จในด้านการร่วมือกันทางานของทุกฝ่าย มีการติดต่อประสานงานกัน อย่างสม่าเสมอ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ รับฟังความคิดเห็นซึ่งกัน และกัน ซึ่ง สามารถลดปัญหาความขัดแย้งที่จะนามาซึ่งอุปสรรคในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ส่งผลให้ บุคลากรทุกฝ่ ายมีความเข้าใจกัน ร่วมมือกันทางานให้ บรรลุ เป้าหมายทั้งส่ ว นบุคคลและ หน่วยงาน การจัดการศึกษาของโรงเรียนดาเนินไปได้ด้วยดี

วิไล กวางคีรี 9 พฤศจิกายน 2556


แบบรายงานผลการปฏิบัติงานที่ภาคภูมิใจ(BEST PRACTICE) ชื่อ – สกุล นางสาววิไล กวางคีรี ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ สถานที่ทางาน โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม ที่อยู่ หมู่ 3 ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71130 โทรศัพท์ 034-561584 , 081-7361805 ,089-4127994 e-mail : wilaikwang@hotmail.com 1. ผลงาน การบริหารแบบ POSRI Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์ของโลกในยุคปัจ จุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การนาวิทยาการและเทคโนโลยี ใหม่ๆมาใช้ในการอานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ซึ่งมนุษย์สามารถค้นหาความรู้ได้ อย่างรวดเร็วและ ทันต่อเหตุการณ์ เพราะในทุกซอกทุกมุมบนโลกกลายเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งเก็บรวบรวมองค์ ความรู้ขนาดใหญ่ ที่สามารถค้นหาได้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ที่เป็นเช่นนี้นั่นเป็นเพราะว่าโลกของเรา กาลังก้าวเดินเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคที่ความรู้หาได้ง่าย แต่การพัฒนาให้มนุษย์มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ได้อย่างชาญฉลาด มีความรู้ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และ ดารงชีวิตอยู่ ในสั งคมได้อย่ างมีความสุ ขเป็นเรื่องที่ส าคัญยิ่งกว่า ดังนั้นการศึกษาจึงเป็นบันไดขั้น พื้นฐานที่มีความสาคัญยิ่งในการนาพาเด็กไทยก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมั่นคง โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ผ่านมานั้นการจัดการศึกษาของโรงเรียนยังไม่ประสบความสาเร็จ เนื่องจากการถ่ายทอดความรู้ ไปสู่ผู้เรียนไม่เหมาะสมกับการสอนในศตวรรษที่ 21 ที่การเรียนการสอนต้องทาให้ผู้เรียนรู้สึกท้าทาย มีกิจกรรมให้ปฏิบัติ ส่งเสริมให้ผู้เรียนไปหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ดังนั้นจึงมีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แบบบูรณาการทั้งในด้านการกระตุ้นสมองของผู้เรียนด้วยวิธีการ Brain-base Learning การใช้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพ ร่างกายของผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์ โดยใช้กระบวนการบริหาร POSRI Management ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีความสามารถในด้านการอ่ านและเขียน(Literacy) การคิดคานวณ(Numeracy) และการคิด(Reasoning Ability) ซึ่งเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้พร้อมก้าว เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างมีคุณภาพอย่างแท้จริง 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ที่สูงขึ้น 2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิต สาธารณะ


3. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 การวางแผน(Plan) 3.1.1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และอุปสรรคในการจัดการศึกษาของโรงเรียนทั้ง ในด้านสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน เช่น การบริหาร การจัดการเรียนการสอน ของครู และการเรียนรู้ของนักเรียน และในด้านสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และเป็น อุปสรรคในการจัดการศึกษา โดยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ได้แก่ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน พระภิกษุสงฆ์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน 3.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา เพื่อกาหนดรูปแบบ ขอบข่าย และแนวทาง ในการพัฒนา และแก้ปัญหา 3.1.3 จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี โดยกาหนด ผู้รับผิดชอบในการดาเนินงานตามความถนัดและความรู้ความสามารถ โดยเน้นการทางานเป็นทีม 3.2 การลงมือปฏิบัติ(Do) ครูและบุคลากรทุกฝ่ายดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมที่ได้กาหนดไว้ ตามปฏิทิน การปฏิบัติงาน โดยมีผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายทาหน้าที่ดูแล กากับ ติดตามการดาเนินงาน 3.3 การตรวจสอบ(Check) 3.3.1 นิเทศการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3.3.2 กากับติดตามการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3.4 การสะท้อนผล(Action) 3.4.1 ครูใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่หลากหลายทั้ง Brain-base Learning ในกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการจัดการเรียนการสอน พร้อมทั้งส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพร่างกายของผู้เรียนให้มีความ สมบูรณ์และพร้อมในการเรียนรู้ นักเรียนมีการพัฒนาในเรื่องของการอ่านและเขียน(Literacy) การ คิดคานวณ(Numeracy) และการคิด(Reasoning Ability) เพิ่มขึ้น นักเรียนมีความมั่นใจและกล้า แสดงออก 3.4.2 ผู้บริหารมีการพัฒนากระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่เป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 3.4.3 ผู้ปกครองมีความเชื่อมั่นและศรัทธาในการจัดการศึกษาของโรงเรียน 3.4.4 ชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3.4.5 นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้และกระตือรือร้นในการเรียนรู้


4. ความรู้สึกต่อผลงานที่ภาคภูมิใจ 4.1 ผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมมือกันในการจัด การศึกษาอย่างต่อเนื่อง 4.2 นักเรียนมีการพัฒนาในด้านการการเขียน การอ่าน และการคิดคานวณ 5. การนาข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ประโยชน์/พัฒนางานต่อไปในอนาคต 5.1 การทางานเป็นทีม โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไม่ว่าจะเป็น ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ช่วยเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนได้ 5.2 โครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน การทางานที่เป็นระบบ มีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน ช่วยให้การทางานมีโอกาสประสบความสาเร็จและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 5.3 บรรยากาศการทางานในองค์การมีส่วนสาคัญต่อพฤติกรรมในการทางานของผู้ปฏิบัติงาน และมีส่วนสาคัญต่อการทางานให้บรรลุเป้าหมาย 6. การสะท้อนความรู้สึกต่อการบริหารแบบ POSRI Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 6.1 ครูมีการประสานความร่วมมือกันในการทางาน 6.2 ครูได้รับมอบหมายงานตามความถนัดและความรู้ความสามารถ 6.3 ครู บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 6.4 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 6.5 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ให้ความร่วมมือช่วยเหลือในการจัดการศึกษาเป็นอย่างดี


7. วิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ(BEST PRACTICE) P-Planning วางแผน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ ประชุม ปรึกษาหารือ สร้างความตระหนัก

O-Organizing การจัดการ การจัดโครงสร้างงาน กาหนดภารกิจงาน ขอบข่ายงาน การแบ่งงาน

S-Staffing คณะทางาน กาหนดคณะทางาน มอบหมายอานาจหน้าที่ตามความรู้ ความสามารถหรือความถนัดและความสนใจ

R-Reporting การรายงานผล นิเทศ กากับติดตามการทางาน การรายงานผล สรุปผล การทางาน เผยแพร่ผลงาน

I-Improving การปรับปรุงแก้ไข ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงานในทุกขั้นตอน ของ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม


7.1 P-Planning วางแผน 7.1.1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ โดยการวิเคราะห์สภาพ ปัจจุบันปัญหาของการทางานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม โดย SWOT analysis 7.1.2 ประชุมสร้างความตระหนักให้กับครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียนให้เห็นความสาคัญของการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรมโดย ใช้กระบวนการ BBL กระบวนการบริหารสถานศึกษาพอเพียง การพัฒนาครูด้วยระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring 7.2 O-Organizing การจัดการ การจัดโครงสร้างงาน กาหนดภารกิจงาน ขอบข่ายงาน การแบ่งงาน กาหนดรูปแบบ การบริหารงาน ขั้นตอนวิธีการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ 7.3 S-Staffing คณะทางาน การกาหนดคณะทางาน มอบหมายอานาจหน้าที่ตามความรู้ความสามารถหรือ ความถนัดและความสนใจ โดยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการทางานและให้ทุกคนมีโอกาสใน การทางานอย่างเสมอภาค 7.4 R-Reporting การรายงานผล ผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายทาหน้าที่นิเทศ กากับติดตามการทางาน ให้ คาแนะนาปรึกษา เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ให้มีการรายงานและสรุปผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน 7.5 I-Improving การปรับปรุงแก้ไข การปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงานในทุกขั้นตอน ของแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม โดยทบทวนการดาเนินงานในทุกขั้นตอนว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุง เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการทางาน และ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดทั้งในด้านทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ ได้อย่างคุ้มค่า รวมทั้งมีการพัฒนาผลการปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่น


8. ปัจจัยเกื้อหนุนและปัจจัยแห่งความสาเร็จ 8.1 คณะครูและบุคลากรมีความตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทั้งในด้านวิชาการและด้านคุณธรรมจริยธรรม 8.2 คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนให้การสนับสนุนและร่วมมือในการ ทางาน 8.3 ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ให้การสนับสนุนและร่วมมือ ในการทางาน 8.4 ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีการนิเทศควบคุม กากับติดตามการ ปฏิบัติงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 9. ผลการดาเนินงาน / ผลสาเร็จที่ดีเด่น 9.1 ผลการดาเนินงาน 9.1.1 นักเรียนมีนิสัย ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง 9.1.2 นักเรียนมีการพัฒนาในเรื่องของการอ่าน การเขียนและการคิดคานวณและมี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 9.1.3 ครูได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการทางานและการจัดการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง 9.1.4 ผู้ปกครองให้ความมั่นใจ และมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียน 9.1.5 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ไม่มีความขัดแย้งอย่างรุนแรงที่จะนามาซึ่ง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการศึกษาและการทางานของโรงเรียน 9.1.6 โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน อย่างต่อเนื่อง 9.1.7 โรงเรียนมีบรรยากาศในการทางานที่ดี 9.1.8 โรงเรียน ครู และนักเรียนได้รับการยกย่องชมเชยและรางวัลเกียรติยศ 9.2 ผลสาเร็จที่ดีเด่น 9.2.1 รางวัลรองชนะเลิศ ห้องสมุดดีเด่น ประจาปี 2556 ประเภทโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดกลาง เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2556 จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 9.2.2 โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี อาเภอท่าม่วง ประจาปี 2556 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 จากโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19


9.2.3 รางวัลรองชนะเลิศ ครูบรรณารักษ์โรงเรียน(นางสาวผกาภรณ์ ปานมา) ประจาปี 2556 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2556 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 9.2.4 สนับสนุนโครงการอนุรักษ์และพัฒนา แม่น้า คู คลอง จังหวัดกาญจนบุรี เฉลิมพระ เกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2556 จังหวัดกาญจนบุรี 9.2.5 รางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง จากกรมอนามัย 9.2.6 สถานศึกษาต้นแบบตามโครงการความร่วมมือในการพัฒนาครู โดยใช้กระบวนการ สร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring 9.2.7 รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรม การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ระดับชั้น ป.4- ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555 9.2.8 รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรม การสร้างเกมส์สร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ป.4- ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555 10. ความคาดหวัง 10.1 นักเรียนมีการพัฒนาในเรื่องของการอ่านและเขียน(Literacy) การคิดคานวณ(Numeracy) และการคิด(Reasoning Ability) เพิ่มขึ้น นักเรียนมีความมั่นใจและกล้าแสดงออก 10.2 นักเรียนมีทักษะชีวิตและการทางาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และทักษะด้าน สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 10.3 นักเรียนมีการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจาวัน


ภาคผนวก







Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.