BP นางสุจรรยา ประยูรมหิศร

Page 1

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒ คานา

เอกสารเล่มนีจ้ ัดทาขึ้น เพื่อเสนอผลงานการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice : BP) เรื่อง “ บริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยกระดับ การเรียนคณิตศาสตร์ ”กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการ ซึ่งผู้รายงานได้เสนอข้อมูลผลงานจาก การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส าหรั บ ใช้ ป ระกอบการพิ จ ารณาของคณะกรรมการ มี ก ารน าเสนอข้ อ มู ล ครอบคลุมตามหลักหลักเกณฑ์และวิธกี าร ขอขอบคุณ นายปัญญา เที่ยงธรรม ผู้อานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ คณะครู นักเรียน โรงเรียนวัดหนองเสือที่ให้ความช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา แนะนาในการปฏิบัตงิ าน ขอขอบคุณทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุน ให้กาลังใจและให้ความร่วมมือในการปฏิบัตงิ านด้วยดีตลอดมา จึงขอขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้

สุจรรยา ประยูรมหิศร

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


สารบัญ หน้า ผลงานการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ Best Practice )PB( “ บริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยกระดับการเรียนคณิตศาสตร์ ” คานา สารบัญ แบบสรุปผลงานการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ Best Practice ภาคผนวก ความภาคภูมิใจ เกียรติบัตร การเผยแพร่ผลงาน กิจกรรม/ผลงานการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice )BP( ๑. ชื่อผลงาน BP “ บริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยกระดับการเรียนคณิตศาสตร์ ”

สาระการเรียนรู้บูรณาการ ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางสุจรรยา ประยูรมหิศร ๒.๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๖-๑๖๐๒๖๐๘ e-mail : ppra13@gmail.com ๓. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ๓.๒ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ให้สูงขึน้ ๓.๓ เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ ๔. ระยะในการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา ตลอดปีการศึกษา ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยปรับและพัฒนา ตลอดเวลา ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาพุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๓ ไดกาหนดให้การ จัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้น ความสาคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละ ระดับการศึกษา และมาตรา ๒๔ ไดกาหนด ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดกระบวน การเรียนรูแกผู้เรียนโดย (๑) จัดเนือ้ หาสาระและกิจกรรมให้ สอดคลองกับความสนใจและความถนัด ของผู้เรียน (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถาน การณ และการประยุกต์ ความรูมาใช้เพื่อป้องกันและแกไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้เกิดการเรียนรูจากประสบการณจริง ฝึกการปฏิบัตใิ ห้ทาได คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (๔) จัดการเรียนรู ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๕ โดย ผสมผสานสาระความรูด้านต่าง ๆ อย่างไดสัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม คานิยมที่ ดีง ามและคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ไ วในทุ ก วิ ช า (๕) ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ผู้ ส อนสามารถ จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อ การเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึน้ ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพือ่ ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ จุดเน้น เพื่อเพิม่ ศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียน ทุกคนเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคั น ศึกษาต่อและประกอบ อาชีพส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษา พอเพียงต้นแบบ ดังนั้นการเรียนรู้ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคั ญยิ่งต่อ การพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้ มี ความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือ สถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้ค ณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษา ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดขี นึ้ และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP โบรฟี (Jere Brophy, (566991) กล่าวถึงการจัดการชั้นเรียนไว้ว่า หมายถึง การที่ครูสร้าง และคงสภาพสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่นาไปสู่การจัดการเรียนการสอนที่ประสบความสาเร็จทั้งใน ด้านสิ่ งแวดล้อม การสร้า งกฎระเบี ยบและการดาเนินการที่ ทาให้ บทเรียนมี ความน่าสนใจอย่า ง ต่อเนื่อง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการในชั้นเรียน เบอร์เดน (Paul Burden (566191ให้คาจากัดความของการจัดการชั้นเรียนไว้ว่าเป็น ยุทธศาสตร์ และการปฏิบัตทิ ี่ครูใช้เพื่อคงสภาพความเป็นระเบียบเรียบร้อย สุรางค์ โค้วตระกูล ( 51 9 81526) ได้อธิบายความหมายของการจัดการห้องเรียนอย่างมี ประสิทธิภาพว่า หมายถึงการสร้างและการรักษาสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนเพื่อเอือ้ ต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน หรือหมายถึงกิจกรรมทุกอย่างที่ครูทาเพื่อจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพและนักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๖ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียน ครู ซึ่งเป็นผู้นาในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน จาเป็นต้องมีเป้าหมายของการบริหารจัดการ ชั้นเรียนที่ถูกต้อง เพื่อมุ่งสร้างนิสัยของการใฝ่รู้ เกิดความสุขสนุกในการเรียน สร้างคุณลักษณะ ของการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น การพึ่งตนเองให้มากกว่าพึ่งผู้อื่น และ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ซึ่งมีแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียน ดังนี้ ๑.การบริหารจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่มคี วามสัมพันธ์ซ่งึ กันและกัน และเรี ยน และการเรีย นการสอนเป็ นจัดการชั้น เรียนไม่ใช่ จุดหมายปลายทาง แต่เ ป็นส่ว นหนึ่ง ที่ สาคัญของบทบาทความเป็นผู้นาของครู การบริหารจัดการชั้นเรียนไม่สามารถแยกจากหน้าที่การ สอน เมื่อการวางแผนการสอน ก็คือ การที่ ครูกาลังวางแผนการบริหารจัดการชั้นเรียนให้เกิดเป็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒.เป็นไปไม่ได้ที่จะแยกการบริหารจัดการชั้นเรียนกับการทาหน้าที่การจัดการเรียนการสอน รูปแบบการสอนหรือกลยุทธ์ที่ครูเลือกใช้แต่ละรูปแบบก็มีระบบการบริหารจัดการของมันเองและมี ภารกิจเฉพาะของรูปแบบหรือกลยุทธ์นั้นๆ ที่จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทั้งของครูและนักเรียนเช่น ถ้า ครูจะบรรยายก็จาเป็นที่บทเรียนจะต้องมีความตั้งใจฟัง ถ้าจะให้นักเรียนทางานกลุ่มวิธีการก็จะ แตกต่างจากการทางานโดยลาพังของแต่ละคนอย่างน้อยที่สุดก็คือการนั่ง ดังนั้นภารกิจการสอนจึง เกี่ยวข้องทั้งปัญหาการจัดลาดับวิธกี ารสอน ปัญหาของการจัดการในชั้นเรียนปัญหาการจัดนักเรียน ให้ ป ฏิบั ติ ต ามกิ จ กรรม ครู ที่ วางแผนการบริ หารจั ดการชั้น เรี ยนได้อ ย่ า งเหมาะสม ทั้ ง กิ จกรรม การเรียนการสอนและภารกิจ ก็คือ การที่ครูใช้การตัดสินใจอย่างฉลาดทั้งเวลา บรรยากาศทาง กายภาพ และจิตวิทยา ซึ่งจะทาให้เกิดบรรยากาศการเรียนรู้และลดปัญหาด้านวินัยของนักเรียน ๓.การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นความท้าทายของการเป็นครูมืออาชีพ ความสามารถของ ครูในการแสดงภาวะผู้นาด้วยการที่สามารถจะบริหารการจัดชั้นเรียนทั้งด้านการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ การบริหารจัดการบรรยากาศในห้องเรียน การดูแลพฤติกรรมด้านวินัยให้เกิดการร่วมมือใน การเรียนจนเกิดการเรียนรู้ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร (วีณา นนทพันธาวาทย์) หลักการบริหารจัดชั้นเรียน เนื่องจากชั้นเรียนมีความสาคัญ เปรียบเสมือนบ้านที่สองของนักเรียน นักเรียนจะใช้เวลา ส่วนใหญ่อยู่ในชั้นเรียนประมาณวันละ ๕-๖ ชั่วโมง บรรยากาศในชั้นเรียนจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริม ให้นักเรียนเกิด ความสนใจและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ครูให้ความเอื้ออาทรต่อนักเรียน นักเรียนกับนักเรียนมีความสัมพันธ์ฉันท์มิตรต่อกัน มีระเบียบ มี ความสะอาด สิ่งเหล่านีเ้ ป็นบรรยากาศที่นักเรียนต้องการ ทาให้มคี วามสุขที่ได้มาโรงเรียนและเรียน ร่วมกับเพื่อนๆ จึงควรคานึงถึงหลักการจัดชั้นเรียน ดังต่อไปนี้ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๗ ๑. การจัดชั้นเรียนควรให้ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ชั้นเรียนควรเป็นห้องใหญ่หรือกว้าง เพื่อสะดวกในการโยกย้ายโต๊ะเก้าอี้ จัดเป็นรูปต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน ถ้าเป็นห้อง เล็ก ๆ หลาย ๆ ห้องติดกัน ควรทาฝาเลื่อน เพื่อเหมาะแก่การทาให้ห้องกว้างขึน้ ๒. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมความรู้ทุกด้าน โดยจัดอุปกรณ์ในการทากิจกรรมหรือ หนังสืออ่านประกอบที่หน้าสนใจไว้ตามมุมห้อง เพื่อนักเรียนจะได้ค้นคว้าทากิจกรรมควรติดอุปกรณ์ รูปภาพและผลงานไว้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ๓. ควรจัดชั้นเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางกาย สติปัญญา อารมณ์ และสั ง คม ซึ่ ง มี อิ ท ธิ ผ ลต่ อ ความเป็ น อยู่ แ ละการเรี ย นของนั ก เรี ย นเป็ น อั น มาก ครู มี ส่ ว นช่ ว ย เสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้ดีได้ เช่น ให้นักเรียนจัดหรือติดอุปกรณ์ให้มีสีสวยงาม จัดกระถางต้นไม้ ประดับชั้นเรียน จัดที่ว่างของชั้นเรียนให้นักเรียนทากิจกรรม คอยให้คาแนะนาในการอ่านหนังสือ ค้นคว้าแก้ปัญหา และครูควรสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน ไม่ให้เครียด เป็นกันเองกับนักเรียน ให้ นักเรียนรู้สึกมีความปลอดภัย สะดวกสบายเหมือนอยูท่ ี่บ้าน ๔. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม ชั้นเรียนจะน่าอยู่ก็ตรงที่นักเรียนรู้จัก รักษาความสะอาด ตั้งแต่พื้นชั้นเรียน โต๊ะม้านั่ง ขอบประตูหน้าต่าง ขอบกระดานชอล์ก แปลงลบ กระดาน ฝาผนังเพดาน ซอกมุมของห้อง ถังขยะต้องล้างทุกวัน เพื่อไม่ให้มีกลิ่นเหม็น และบริเวณ ที่ตั้งถังขยะจะต้องดูแลเป็นพิเศษ เพราะเป็นแหล่งบ่อเกิดเชือ้ โรค ๕. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างความเป็นระเบียบ ทุกอย่างจัดให้เป็นระเบียบทั่งอุปกรณ์ของใช้ ต่างๆ เช่นการจัดโต๊ะ ชั้นวางของและหนังสือ แม้แต่การใช้สิ่งของก็ให้นักเรียนได้รู้จักหยิบใช้ เก็บในที่ เดิม จะให้นักเรียนเคยชินกับความเป็นระเบียบ ๖. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมประชาธิปไตย โดยครูอาจจัดดังนี้ ๖.๑ จัดให้นักเรียนเข้ากลุ่มทางาน โดยให้มีการหมุนเวียนกลุ่มกันไป เพื่อให้ได้ฝึก การทางานร่วมกับผู้อื่น ๖.๒ จัดที่นั่งของนักเรียนให้สลับที่กันเสมอ เพื่อให้ทุกคนได้มีสิทธิที่จะนั่งในจุดต่างๆ ของ ห้องเรียน ๖.๓ จัดโอกาสให้นักเรียนได้หมุนเวียนกันเป็นผูน้ ากลุม่ เพื่อฝึกการเป็นผูน้ าและผู้ตามที่ดี ๗. ควรจัดชั้นเรียนให้เอือ้ ต่อหลักสูตร หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานฉบับปัจจุบันเน้น การจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และให้ใช้กระบวนการสอนต่างๆ ดังนั้นครูจึง ควรจัดสภาพห้องให้เอือ้ อานวยต่อการเรียนรู้ เช่น การจัดที่นั่งในรูปแบบต่างๆ อาจเป็นรูปตัวยู ตัวที หรือครึ่งวงกลม หรือจั ดเป็น แถวตอนลึ กให้เ หมาะสมกับ กิจกรรมการเรี ยนการสอนและการจั ด บรรยากาศทางด้านจิตวิทยาให้ผู้เรียนรู้สึกกล้าถามกล้าตอบ กล้าแสดงความคิดเห็น เกิดความใคร่รู้

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๘ ใคร่เรียน ซึ่งจะเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตน พัฒนาอาชีพ พัฒนาสังคม และเป็นคนเก่ง ดี มี ความสุขได้ในที่สุด เหตุผลในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ๑. สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในชีวิตประจาวันนั้นจะเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันกับศาสตร์ในสาขา ต่าง ๆ ผสมผสานกัน ทาให้ผู้เรี ยนที่เรียนรู้ ศาสตร์เดี่ย ว ๆ มาไม่สามารถนาความรู้ม าใช้ในการ แก้ปัญหาได้ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจะช่วยให้สามารถนาความรู้ ทักษะจากหลาย ๆ ศาสตร์ มาแก้ปัญหาได้กับชีวิตจริง ๒. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการทาให้เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยงความคิดรวบยอดของ ศาสตร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันทาให้เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ (Transfer of learning) ของศาสตร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันทาให้ผู้เรียนมองเห็นประโยชน์ของสิ่งที่เรียนและนาไปใช้จริงได้ ๓. การจัด การเรีย นรู้แ บบบูร ณาการช่ว ยลดความซ้ าซ้ อ นของเนื้ อหารายวิ ชาต่า ง ๆ ใน หลั กสู ตรจึ งท าให้ล ดเวลาในการเรี ยนรู้ เนื้ อหาบางอย่า งลงได้ แล้ว ไปเพิ่ม เวลาให้เ นื้อ หาใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น ๔. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจะตอบสนองต่อความสามารถในหลาย ๆ ด้านของ ผู้เรียนช่วยสร้างความรู้ ทักษะและเจตคติ “แบบพหุปัญญา” (Multiple intelligence) ๕. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจะสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้โดยผู้เรียน (Constructivism) ที่กาลังแพร่หลายในปัจจุบัน ลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึงลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไว้ว่า เป็น การเชื่อมโยงวิชาหรือศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ที่ลึกซึ้งมีลักษณะใกล้เคียงกับ ชีวิตจริงมากขึ้น ได้แก่ ๑. บูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้ ปัจจุบันเนื้อหาความรู้มีมากมายที่ จะต้องเรียนรู้หากไม่ใช้วิธกี ารเรียนรู้ที่ทันสมัยมาใช้จะทาให้เรียนรู้ไม่ทันตามเวลาที่กาหนดได้จึงต้อง มีก ารนาวิ ธีก ารจัด การเรี ยนรู้ ใหม่ๆ มาใช้ เช่น การสอนโดยวิธี การบอกเล่า ท่อ งจ าจะทาให้ ไ ด้ ปริมาณความรู้หรือเนื้อหาสาระไม่เพียงพอกับสิ่งที่ต้องเรียนรู้ จึงต้องเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ ใหม่ ๆ ที่เหมาะสม ๒. บูรณาการระหว่างพัฒนาการความรู้และทางจิตใจ การเรียนรู้ที่ดีนั้นผู้เรียน ต้องมีความ อยากรู้อยากเรียนด้วย ดังนั้น การให้ความสาคัญแก่เจตคติ ค่านิยม ความสนใจและสุนทรียภาพ แก่ ผู้เ รีย นในการแสวงหาความรู้ ก่ อให้เ กิด ความซาบซึ้ง ก่อ นลงมื อศึ กษาซึ่ง เป็ นการจูใ จให้เ กิ ด การเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๙ ๓. บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทาการเรียนรู้ที่สามารถนาความรู้สู่การปฏิบัติได้ นั้นถือเป็นการดีมาก ดังนั้น การให้ความสาคัญระหว่างองค์ความรู้ที่ศึกษากับการนาไปปฏิบัติจริง โดยนาความรู้ไปแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง ๔. บูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนรู้ในโรงเรียนและชีวิตประจาวัน การตระหนักถึงความ สาคัญแห่งคุณภาพชีวิตเมื่อผ่านการเรียนรู้แล้วต้องมีความหมายและคุณค่าต่อชีวิตของผู้เรียนอย่าง แท้จริง ๕. บูรณาการระหว่างวิชาต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ เจตคติและการกระทาที่เหมาะสม กับ ความต้องการ ความสนใจของผู้เรียนอย่างแท้จริงตอบสนองต่อคุณค่าในการดารงชีวิตของผู้เรีย หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการบูรณาการเป็นส่วนที่สาคัญของหลักสูตรแบบ บู ร ณาการ การออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนจะต้ อ งค านึ ง ถึ ง หลั ก ของการจั ด กิ จ กรรม การเรียนการสอนซึ่งมีผู้เสนอแนวคิดไว้ ดังต่อไปนี้ สาลี รักสุทธิ และคณะ (๒๕๔๔ 9 ๒๗-๑๘ ) ได้ เสนอหลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบบูรณาการ ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมที่ใช้ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทุกด้าน ได้แก่ ร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ ๒. ยึดการบูรณาการวิชาเป็นสาคัญ โดยการบูรณาการทั้งภายในวิชาเดียวกันหรือระหว่าง วิชาเชื่อมโยงหรือบูรณาการเข้าด้วยกันให้เป็นความรู้แบบองค์รวม ๓. ยึดกลุ่มเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญ โดยให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มปรึกษา หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ซ่งึ กันและกัน ๔. ยึดการค้นพบด้วยตนเองเป็นสาคัญ ๕. เน้นกระบวนการควบคู่ไปกับผลงาน โดยการส่งเสริมให้ผู้เรียนวิเคราะห์ถงึ กระบวนการ ต่างๆที่ทาให้เกิดผลงาน โดยคานึงถึงประสิทธิผลของงานด้วย ๖. เน้นการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัตจิ ริงและการ ติดตามผลการปฏิบัตขิ องผู้เรียน ๗. เน้นการเรียนรู้อย่างมีความสุขและมีความหมาย ๘. เน้นการเป็นคนดีและมีคุณค่า ต่อสังคม ประเทศชาติ เห็นคุณค่าของสรรพสิ่งหรือ ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๐ มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชแี้ นะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็น การมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อ ความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัตติ นได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัตบิ นทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้ -ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ - ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้อง เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ -การมีภูมคิ ุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึน้ ในอนาคตทั้งใกล้และไกล ๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรูแ้ ละคุณธรรมเป็นพืน้ ฐาน กล่าวคือ - เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ - เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มี ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ๕. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุ ก ต์ใ ช้ คื อ การพั ฒ นาที่ สมดุ ลและยั่ ง ยืน พร้ อมรั บต่ อ การเปลี่ ยนแปลงในทุ กด้ า น ทั้ งด้ า น เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรูแ้ ละเทคโนโลยี หลักการสอนคณิตศาสตร์ การศึกษาแนวใหม่ได้จาแนกทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์ออกเป็น ๓ ทฤษฎี คือ ๑. ทฤษฎีแห่งการฝึกฝน (Drill Theory) ทฤษฎีนเี้ ชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้โดย การฝึกทาสิ่งนั้นซ้าๆ หลายๆ ครั้ง การสอนเริ่มโดยครูบอกสูตรหรือกฎเกณฑ์ให้ แล้วให้เด็กทา แบบฝึกหัดมากๆ จนกระทั่งเด็กมีความชานาญ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๑ ๒. ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้โดยบังเอิญ ( Incedental learning Theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าเด็กจะ เรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ดี เมื่อเด็กเกิดความพร้อม หรืออยากเรียนรู้ในสิ่งนั้นๆ การสอนจะพยายามให้ นักเรียนเรียนคณิตศาสตร์ในบรรยากาศที่ไม่เคร่งเครียด และน่าเบื่อหน่าย สอนโดยมีกิจกรรม หลากหลายและยึดนักเรียนเป็นสาคัญ ๓. ทฤษฎีแห่งความหมาย( Meaning Theory) ทฤษฎี นี้เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้และเข้าในในสิ่งที่ เรียนได้ดีเมื่อเด็กได้เรียนใน สิ่งที่มีความหมายต่อตัวเอง เรียนให้มีความหมายโครงสร้าง Concep และให้นักเรียนเห็นโครงสร้างของคณิตศาสตร์ รูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะกับสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา )CIPPA MODEL) รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model) หรือ รูปแบบการประสานห้าแนวคิด พบว่าแนวคิดจานวนหนึ่งสามารถใช้ได้ผลดีตลอดมา จึงได้นาแนวคิด เหล่านั้นมาประสานกันเกิดเป็นแบบแผนขึน้ แนวคิดดังกล่าวได้แก่ แนวคิดการสร้างความรู้ แนวคิด กระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ แนวคิด เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู้ เมื่อนาแนวคิดดังกล่าวมา จัดการเรียนการสอนพบว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและสังคม หลั กการของโมเดลซิป ปา (CIPPA MODEL) เป็ นการช่ว ยให้ ผู้เ รีย นได้มี ส่ว นร่ วมใน กระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ให้มากที่สุด มี ปฏิสัมพันธ์ต่อกันและได้เรียนรู้จากกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นและ ประสบการณ์ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ร่วมกับการผลิตผลงานซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์ที่ หลากหลายและสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้นักเรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้ว ย ตนเอง ความหมายของ CIPPA C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การสร้างความรูต้ ามแนวคิดของ Constructiviism. กล่าวคือ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเป็นผูส้ ร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง ทาความเข้าใจ เกิด การเรียนรู้ที่มคี วามหมายแก่ตนเอง และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ทางสติปัญญา I มาจากคาว่า Interaction หมายถึงการช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และแหล่งความรู้ที่ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๒ หลากหลาย ได้รู้จักกันและกัน ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดประสบการณ์ แก่กันและกันให้ มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนทางสังคม P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาท มีส่วนร่วม ทางด้านร่างกาย ให้ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ ช่วยให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้ กระบวนการ ต่างๆ ของกิจกรรม การเรียนรู้ที่ดี ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิต A มาจากคาว่า Application หมายถึง การนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียน ได้รับประโยชน์จากการเรียน เป็นการช่วยผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งในสังคม และชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆจากแนวคิดในการจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หลักของโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีขั้นตอนสาคัญดังนี้

หลักของโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL)

๑. ขั้นทบทวนความรู้เดิม

๒.ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่

๓.ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจ ข้อมูล

๔.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้

๖.ขั้นการแสดงผลงาน

ขั้นตอนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้

๕.ขั้นการสรุปและจัดระเบียบ ความรู

๗. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้

ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนสาคัญ ที่สุด กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรีย น ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๓ สามารถพั ฒ นาตามธรรมชาติ และเต็ ม ศั ก ยภาพ ค านึ ง ถึ ง ความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลและ พัฒนาการทางสมอง ให้ความสาคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นส่วน หนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น เปิดโอกาสให้ ทุ ก คนได้ เ รี ย นรู้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและตลอดชี วิ ต ตามศั ก ยภาพ สามารถน าความรู้ ทั ก ษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดยี ิ่งขึ้น ซึ่งตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจ ๗.กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ ประเภทของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย จานวนนักเรียนทั้งหมดในปีการศึกษา ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ๑ ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังคาอธิบาย รายวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล ๒ ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนที่เกี่ยวข้อง ๓ กาหนดวัตถุประสงค์ ๔ วางแผนบริหารจัดการชั้นเรียนในการจัดการเรียนรู้ ๕ จัดกิจกรรมการเรียนรู้

๖ ประเมินผลงาน บรรลุ วัตถุประสงค์

๗ ปรับปรุง

๘ กากับ ติดตาม ประเมินผล

๘ สรุปและรายงาน ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๔ กระบวนการพัฒนา BP

๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP วิธีการตรวจสอบคุณภาพ ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่สร้างขึ้น แบบ ประเมินความพึงพอใจ นาผลการประเมินที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ ของ BP ผลการตรวจสอบคุณภาพ องค์ความรู้ที่เกิดกับผู้เรียนหลังจากที่ได้บริหารจัดการ เรี ย นรู้ แ บบบู ร ณาการโดยยึ ด หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง พั ฒ นาความสามารถด้ า น คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ปรากฏว่า ๑. นักเรียนได้รับการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์อย่างเต็มศักยภาพ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๕ ๒. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เพิ่มสูงขึ้น ๓. นักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ตามศักยภาพและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๗.๔.๑ ใช้ในการบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ๗.๔.๒ ใช้ในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์และปลูกฝังให้เกิดเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์ ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ ครูความรูค้ วามสามารถบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ๘.๑.๒ นักเรียนนาความรู้ดา้ นทักษะทางคณิตศาสตร์ ประยุกต์และบูรณาการความรู้ ในการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ๘.๑.๓ นักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ ครูจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ๘.๒.๒ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สูงขึน้ คิดเป็นร้อยละ ๗๐ ๘.๒.๓ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP การตรวจสอบความพึงพอใจของนักเรียนได้มาจากการสังเกตพฤติกรรม การสอบถาม การสัมภาษณ์ การประเมินผลงาน คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ นักเรียนมีทักษะพืน้ ฐานมีความรูค้ วามสามารถ มีทักษะทางคณิตศาสตร์ มี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รวมทั้งมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทางาน ๘.๔.๒ นักเรียนเกิดความพึงพอใจเปิดใจเรียนรู้ส่ิงใหม่ และมีความมุ่งมั่นในการที่จะ รับการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ ๘.๔.๓ ครูเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีความตัง้ ใจ มีการเสียสละ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๖ ๘.๔.๔ ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและการบริหารจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ๙.๑.๑ สังเกตการทางาน การส่งงาน ตรวจสอบผลงาน ๙.๑.๒ ใช้กระบวนการบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียน จัดการความรู้ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารถทางาน ส่งงาน มีผลงานสร้างสรรค์ มีพัฒนาการใช้ทักษะทาง คณิตศาสตร์ในการเรียนรู้ได้ดขี นึ้ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวัน เวลาและรูปแบบ/วิธกี ารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ๑๐.๑ ผลงาน/ผลการปฏิบัติงาน -นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงาน ชิน้ งาน ครบถ้วนตามที่ครูกาหนดที่เกิด จากการปฏิบัตงิ านของนักเรียนตามหลักสูตร -ผลการปฏิบัตงิ านของนักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดในระดับดีขนึ้ ไป คิดเป็น ร้อยละ ๘๐ ๑๐.๒ การได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูและการเผยแพร่ผลงานนักเรียน การได้รับรางวัลยกย่องเชิดชู -ได้รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาบูรณาการ ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม ระดับเหรียญทอง ในโครงการการประกาศเกียรติคุณหน่วยงานและผู้มี ผลงานดีเด่นเป็นที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ .OBEC AWARDS ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน -ได้รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาบูรณาการ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ระดับเหรียญเงิน ในโครงการการประกาศเกียรติคุณ หน่วยงานและผู้มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ . OBEC AWARDS ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน -รางวัลผูท้ าประโยชน์ทางด้านการศึกษา ประจาปี ๒๕๕๕ จากสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๗ ระดับจังหวัด -ได้รับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ประจาปี ”หนึ่งแสนครูดี“๒๕๕๔โดย คุรุสภา -เกียรติบัตรเข้าร่วมกิจกรรมสมุดบันทึกความเป็นครูดไี ด้อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา ๒๑ วัน จากโครงการ เสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบอาชีพ ทางการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ .ศ.๒๕๕๓ -ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดครูต้นแบบผู้มผี ลงาน วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ( Best Practice) กลุ่มการเรียนรู้วิชาบูรณาการ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา -ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ การประกวดครูต้นแบบผู้มีผลงานวิธีปฏิบัติที่/ เป็นเลิศ( Best Practice) กลุ่มการเรียนรู้ศิลปะ ( ด้านศิลปะ) เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการ จัดการประถมศึกษา -ได้รับรางวัลชนะเลิศ ครูสังคมศึกษาดีเด่น เนื่องในวันประถมศึกษาแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๔๔ ของสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเลาขวัญ -ได้รับรางวัลครูผู้สอนมีจริยธรรมดีเด่นเนื่องในวันประถมศึกษาแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๔๔ของสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเลาขวัญ -ได้รับรางวัลครูผู้ทาคุณประโยชน์ให้กับสถานศึกษาดีเด่นเนื่องในวันประถมศึกษา แห่งชาติ ประจาปี ๒๕๔๔ ของสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเลาขวัญ การเผยแพร่ผลงานนักเรียน -น าเสนอผลงานจั ด แสดงในระดั บ ชาติ ในโครงการการประกาศเกี ย รติ คุ ณ หน่วยงานและผู้มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ . OBEC AWARDS ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ณ ห้องจูปิเตอร์อิมแพคเมืองทองธานี จ นนทบุรี วันที่.๒๕-๒๗ มกราคม พ .ศ.๒๕๕๕ -นาเสนอผลงานจัดแสดงในระดับชาติ ในโครงการการประกาศเกียรติคุณหน่วยงาน และผู้มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ .OBEC AWARDSประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ ณ อาคาร IMPACT FORUM HALL ๙ ชั้น ๑ ห้อง SAPPHILE อิมแพคเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ .ศ.๒๕๕๕ จากสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน - นาเสนอผลงานจัดแสดงในโครงการประกวดการประเมินสถานศึกษาพอเพียง ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ ในวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๕ - นาเสนอผลงานจัดแสดงการประกวดนักเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม ประจาปี ๒๕๕๔ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ร่วมกับธนาคารออมสิน ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๘ -การเผยแพร่ผลงาน งานประกวด Best Practice ณ โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ -การเผยแพร่ผลงาน จากการศึกษาดูงานคณะครูกลุ่ มสถานศึกษาที่ ๑๗ อาเภอ พระยืน สพป.ขอนแก่น เขต ๑ ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ -การเผยแพร่ผลงาน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ ๖๒ ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้ากาญจนบุรี วันที่ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ -การเผยแพร่ผลงาน จากการศึกษาดูงานคณะครูโรงเรียนวัดบางกระเจ้า ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ -นาเสนอผลงานจัดแสดงในโครงการประกวดโรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรมจริยธรรม และนักเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม ประจาปี ๒๕๕๖ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน ร่วมกับธนาคารออมสิน ณ โรงเรียนวัดหนองเสือในวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ -การเผยแพร่ผลงาน จากการศึกษาดูงานคณะครู เครือข่ายโรงเรียนชุมพลบุรี ๓ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ -การเผยแพร่ผลงานเว็บไซด์ครูบ้านนอกเรื่อง แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์แบบ บูรณาการ เรื่อง มหัศจรรย์กับคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ -วารสารแผ่นพับเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ลงชื่อ สุจรรยา ประยูรมหิศร ผู้ขอรับการประเมิน (นางสุจรรยา ประยูรมหิศร) วันที่ ๕ กันยายน พ .ศ. ๒๕๕๖

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๑๙

ภาคผนวก

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๐

ความภาคภูมิใจ

รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา เหรียญทอง ระดับชาติ ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ .OBEC AWARDS ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔

รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม เหรียญเงิน ระดับชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษายอดเยี่ยม รางวัลทรงคุณค่า สพฐ .OBEC AWARDS ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๑

รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษายอดเยี่ยม รางวัลทรงคุณค่า สพฐ .OBEC AWARDS ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕

รางวัลผูท้ าประโยชน์ทางด้านการศึกษา ประจาปี ๒๕๕๕ จากสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี ระดับจังหวัด

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๒

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ การประกวดครูต้นแบบผู้มผี ลงานวิธีปฏิบัติท/ี่ เป็นเลิศ( Best Practice) กลุ่มการเรียนรู้ศิลปะ ( ด้านศิลปะ) เครือข่ายส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา ประจาปี ๒๕๕๕

โรงเรียนผ่านการประเมินโรงเรียนดีศรีตาบล วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๓

เกียรติบัตร

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๔

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๕

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๖

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๗

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๘

การเผยแพร่ผลงาน

นาเสนอผลงานจัดแสดงในระดับชาติ ณ ห้องจูปิเตอร์อิมแพคเมืองทองธานี จ.นนทบุรี วันที่๒๕-๒๗ มกราคม พ .ศ.๒๕๕๕

นาเสนอผลงานจัดแสดงในระดับชาติ ณ อาคาร IMPACT FORUM HALL ๙ ชั้น ๑ ห้อง SAPPHILE อิมแพคเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ .ศ.๒๕๕๕ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๒๙

รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา เหรียญเงิน ระดับชาติ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษายอดเยี่ยม รางวัลทรงคุณค่า สพฐ .OBEC AWARDS ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๖

การเผยแพร่ผลงาน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ ๖๒ ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้ากาญจนบุรี วันที่ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๓๐

การเผยแพร่ผลงาน งานประกวด Best Practice ณ โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕

การเผยแพร่ผลงาน จากการศึกษาดูงานคณะครู เครือข่ายโรงเรียนชุมพลบุรี ๓ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๓๑

กิจกรรม/ผลงานการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

การค้นหาจานวนนับจากหนังสือพิมพ์

ผลงานการค้นหาจานวนนับจากหนังสือพิมพ์ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๓๒

การเรียงลาดับจานวน

การรวมจานวนเงิน

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๓๓

การแต่งโจทย์ปัญหา

การเปรียบเทียบจานวน

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๓๔

การบวกจานวนที่มสี ามหลัก

นาฬิกาบอกเวลา

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


๓๕

ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.