BP นางสาววาณี แท่นกาญจนภรณ์

Page 1

Best Practice


Best Practice กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระดนตรี ๑. ชื่อผลงาน Best Practice เรื่อง ส่งเสริมทักษะดนตรีสากล เพื่อความเป็นเลิศของวงดนตรีลูกทุ่ง กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ (สาระดนตรี) ด้าน วิชาการ ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice โดย นางสาววาณี แท่นกาญจนภรณ์ ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับ ขยายโอกาส โทรศัพท์ ๐๘๗-๑๖๙๘๘๔๔ e-mail : n.musicmelody@gmail.com ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ดนตรีเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ เพราะดนตรีเป็นศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก ดนตรีสามารถกล่อมเกลาอารมณ์และความคิดของมนุษย์ได้ ทาให้ผู้ที่สัมผัสกับดนตรีเกิด ความรู้สึกชื่นชมทาให้มีความสุขุมเยือกเย็นช่างสังเกต พิจารณาไตร่ตรองและเห็นคุณค่าในความงาม ของดนตรีความรู้สึกดังกล่าวไม่สามารถรั บรู้และสัมผัสได้ทุกคน หากแต่ต้องเรียนรู้ สัมผัสและสร้าง ความเข้าใจ จึงจะส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้น ดนตรีจึงถือว่ามี ความสาคัญต่อมนุษย์ซึ่งสามารถสื่อความหมายและถ่ายทอดความนึกคิดให้เข้าถึงด้วยเสียง ด้วยทักษะ การขับร้อง การเล่นเครื่องดนตรี สามารถเรียนได้ดว้ ยตนเองตามความถนัดหรือความสนใจหรือเรียนได้ จากการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน หากเด็กได้สัมผั ส ได้เล่นดนตรีโดยผ่านสื่อและเครื่องมือ ประกอบการเรียบเรียง การบรรเลงอย่างมีความสุขและสนุกสนาน จะทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่าง รวดเร็ว เกิดความคิดสร้างสรรค์ในขั้นสูง การพัฒนาสมองเด็กโดยผ่านกิจกรรมดนตรีจึงเป็นการวาง พื้นฐานสาหรับเด็กที่โตต่อไปในอนาคต เด็กจะเป็นผู้ที่มีความคิดฉับไวในการแก้ปัญหาเพราะดนตรีช่วย พัฒนาความฉลาดให้กับเด็กได้ในขณะเดียวกันก็จะเป็นผู้ที่มีวัฒนธรรมมีความประณีตมีเสน่ห์และมี ความงามอยูใ่ นตัว


ข้าพเจ้าจึงคิดหาวิธีการสอนด้วยการสร้างสื่อการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะด้านดนตรีสากลได้ อย่างถูกต้อง โดยการทาเอกสารประกอบการเรียนการสอน โดยมุ่งหวังให้นักเรียนได้เกิดทักษะด้าน ดนตรี และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาดนตรีสูงขึ้น ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ๓.๑ เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีสากลให้สูงขึ้น ๓.๒ เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนดนตรี ตระหนักและเห็นคุณค่าของดนตรี ๓.๓ เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓.๔ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาดนตรีสูงขึ้น ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice เริ่มการพัฒนา ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้เวลาในการพัฒนา ๒ ภาคเรียน สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอด ชีวติ โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็ม ศักยภาพ การพัฒนาที่สาคัญคือ การพัฒนาที่สมดุลอย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ มีพนื้ ฐานทางด้านจริยศาสตร์ความเป็นคนดีทงั้ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ดนตรี จึ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ต่ อ ชี วิ ต มนุ ษ ย์ เพราะดนตรี เ ป็ น ศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ ส ะท้ อ นอารมณ์ ความรู้สึก ดนตรีสามารถกล่อมเกลาอารมณ์และความคิดของมนุษย์ได้ ทาให้ผู้ที่สัมผัสกับดนตรีเกิด ความรู้สึกชื่นชมทาให้มีความสุขุมเยือกเย็นช่างสังเกต พิจารณาไตร่ตรองและเห็นคุณค่าในความงาม ของดนตรีความรู้สึกดังกล่าวไม่สามารถรับรู้และสัมผัสได้ทุกคน หากแต่ต้องเรียนรู้ สัมผัสและสร้าง ความเข้าใจ จึงจะส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึน้


๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice ๖.๑ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับดนตรี ความไพเราะของดนตรีได้เพิ่มอรรถรสในอารมณ์ความรูส้ กึ ของการฟังอย่างมหาศาล สามารถ สร้างจินตนาการ ชักจูงและโน้มน้าวอารมณ์อย่างวิเศษ นอกจากนี้ดนตรียังมียังคุณค่ามากมาย ดังที่ สุนทรภู่ได้กล่าวไว้ในวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี ดังนี้ อันดนตรีมีคุณค่าทุกอย่างไป ย่อมใช้ได้ดังจินดาคาบุรินทร์ ถึงมนุษย์ครุฑาเทวราช จตุบาทกลางป่าพนาสิน แม้ปเี่ ราเป่าไปให้ได้ยิน ก็สุดสิน้ โทโสที่โกรธา ให้ใจอ่อนนอนหลับลืมสติ อันลัทธิดนตรีดีหนักหนา ที่สงสัยไม่สนิ้ ในวิญญาณ์ จงนิทราเถิดจะเป่าให้เจ้าฟัง ดังนั้นในการสอนดนตรีไม่ว่าในลักษณะใด ย่อมมีหลักการผู้สอนยึดเป็นแนวปฏิบัติการศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้ย่อมช่วยให้การสอนดนตรีมีประสิทธิภาพขึ้นได้ ทั้งนี้เพราะครูผู้สอนย่อมมีความเข้าใจ กระบวนการการเรียนของผู้ เรียน และสามารถจัดกิจกรรมการสอนดนตรีให้เหมาะสมกับผู้เรียนมาก ที่สุด ผู้สอนจึงควรมีความรูค้ วามเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ ๖.๒ หลักการสอนดนตรี การเรียนการสอนดนตรีไม่ว่าในระดับใดก็ตาม ถ้าผู้สอนมีหลักการสอนหรือเทคนิคการสอนที่ ถูกต้องและเหมาะสม ย่อมช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจในสาระดนตรีมากขึน้ ในระดับ ประถมศึกษาวิธีการสอนดนตรีจัดว่ามีความสาคัญมาก เนื่องจากผู้เรียนยังไม่สามารถเรียนรู้ในสิ่งทีเป็น นามธรรมได้อย่างถ่องแท้ ผู้สอนจึงควรหาวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในสาระต่างๆ ได้ดีขนึ้ ๑. หลักการสอนดนตรีของดาลโครซ ดาลโครซ เป็นครูสอนดนตรีชาวสวิส ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกเรื่องการเคลื่อนไหวกับดนตรี เชื่อว่า ร่ า งกายเป็ น เครื่ อ งตอบสนองต่ อ อารมณ์ ด นตรี ไ ด้ ดี ที่ สุ ด ดั ง นั้ น การแสดงออกทางดนตรี ด้ ว ยการ เคลื่อนไหวร่างกายจะเป็นการสร้างความเป็นนักดนตรีให้กับเด็กได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่าการ ใช้วิธีการยูริธึมมิกซ์ จะช่วยเสริมร่างกาย สมอง อารมณ์ สังคมของเด็กทาให้เกิดความรักและเข้าใจ ดนตรีมากขึน้ ๒. หลักการของออร์ฟ (Carl Orff) หลั ก การของออร์ ฟ เน้ น ที่ ก ระบวนการ ผู้ เ รี ย นมี โ อกาสในการทดลองส ารวจเกี่ ย วกั บ องค์ประกอบดนตรีซึ่งสัมพันธ์กับการเคลื่อนไหว และได้รับประสบการณ์ตรงจากการประกอบกิจกรรม ต่างๆ ในกระบวนการเรียนการสอน เรียนจากเรื่องง่ายไปสู่เรื่องที่ยากและลึกซึ้ง พยายามเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้สัมผัสกับดนตรีและถ่ายทอดโดยการเคลื่อนไหว ต่อพัฒนาการเคลื่อนไหวให้เป็นไปในรูปของ


การสร้างสรรค์ และสุดท้ายเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสบการณ์ทางดนตรีที่ ผู้เรียนแต่ละคนมีอยู่หรือได้รับจากกระบวนการเรียนสอน ๓. หลักการสอนของโคดาย (Zoltal Kodaly) ๑.) เริ่มต้นการเรียนรู้ด้วยเครื่องดนตรีธรรมชาติที่ทุกคนมีอยู่ประจาตัว คือ เสียงร้อง ๒.) การเรียนดนตรีให้เกิดการรับรูโ้ ดยสมบูรณ์ควรเริ่มตัง้ แต่ระดับอนุบาลหรือประถมศึกษา ๓.) ควรเริ่มจากการเรียนดนตรีพ้นื บ้าน ๔.) ดนตรีท่ใี ช้เรียนควรเป็นดนตรีที่มีคุณค่าพอเพียง ๖.๓ ทฤษฎีดนตรีสากลเบือ้ งต้น ภาษาของมนุ ษ ย์ มี ค วามแตกต่ า งกั น ไปตามชนชาติ แ ละภู มิ ล าเนาของแต่ ล ะชาติ ชาติ ใ ด เจริญรุ่งเรือง ภาษาของชาตินั้นก็จะเป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย ในภาษาต่างๆ เหล่านี้มีภาษาหนึ่งที่ทุกชาติ ทุกภาษารู้ความหมายเข้าใจกันได้ ภาษานั้นคือ ภาษาดนตรี แม้วา่ ภาษาแต่ละชนชาติจะไม่เหมือนกัน แต่ ภาษาดนตรีก่อให้เกิดความรู้สึกที่เหมือนกันทางด้านอารมณ์ เช่น ความรัก ความเศร้า ความตื่นเต้น ความดีใจ ฯลฯ โดยไม่เลือกชนชาติ ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ ดนตรีเป็นภาษาสากล การเรียนรู้ทฤษฎีดนตรีสากลเริ่มด้วยการทาความเข้าใจกับเครื่องหมายดนตรีในระดับพืน้ ฐาน ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่มีความสาคัญอาจเปรียบได้กับพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ อันเป็นเครื่องหมาย ที่ใช้ในการเขียนและการอ่านภาษาไทยซึ่งใช้สอนผู้เริ่มเรียน เช่น ๑.) โน้ต (Note) ๒.) เครื่องหมายหยุดหรือตัวหยุด (Rests) ๓.) บรรทัด ๕ เส้น ๔.) กุญแจประจาหลัก (Time Signature) ๕.) เครื่องหมายกาหนดจังหวะ ๖.) การกั้นห้องเพลง ๖.๔ ทักษะทางดนตรี ส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งของสาระดนตรีคือ ทักษะทางดนตรีซึ่งเป็นส่วนที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจ สาระดนตรีได้และจัดเป็นหัวใจของการศึกษาดนตรี ทักษะดนตรีแต่ละประเภทย่อมมีความสาคัญเท่า เทียมกัน ดังนัน้ ในการจัดการเรียนการสอนดนตรี ควรมีการเสนอทักษะดนตรีต่างๆ อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ ๑.) ทักษะการฟัง ๒.) ทักษะการร้อง ๓.) ทักษะการเล่น ๔.) การเคลื่อนไหว ๕.) การสร้างสรรค์ ๖.) การอ่าน


๗. กระบวนการพัฒนา Best Practice ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา ไปใช้ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนวัดหนองเสือที่เรียนวิชาดนตรี ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จานวน ๑๕ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice

P

ขัน้ ที่ ๑ ขัน้ การเตรียมความพร้อม ๑.๑ วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุการเรียนการสอน ๑.๒ ศึกษาหลักสูตร วิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์ และกิจกรรม ๑.๓ ศึกษารูปแบบของการเขียนเอกสารประกอบการเรียน

D

ขัน้ ที่ ๒ ขัน้ ดาเนินการ ๒.๑ รวบรวมข้อมูลเพื่อนามากาหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๒.๒ จัดทาเอกสารประกอบการเรียนการสอน แบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบ

C

ขัน้ ที่ ๓ ขัน้ ตรวจสอบประเมินผล ๓.๑ ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ๓.๒ นาไปทดลองใช้ในห้องเรียนและเก็บบันทึกผลการใช้ ๓.๓ การประเมินผลตามสภาพจริง

A ข้อมูลย้อนกลับ

ขัน้ ที่ ๔ ขัน้ การปรับปรุงและประยุกต์ใช้ นวัตกรรมปฏิบัตกิ ารสอน ๔.๑ นาผลที่ ไ ด้ รั บ มาพิ จ ารณาเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขส่ ว นที่ บกพร่ อ ง ๔.๒ นาไปใช้จริงเพื่อแก้ไขปัญหาที่พบ ๔.๓ นาไปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ านในครัง้ ต่อๆ ไป


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice ๗.๓.๑ วิธีการตรวจสอบคุณภาพ ๑.) ทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการ ทดสอบปฏิบัตวิ ัดทักษะพืน้ ฐานด้านดนตรี ๒.) ดาเนินการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ๓.) ทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนที่ใช้เอกสารประกอบการเรียนการ โดยการทดสอบปฏิบัติ ทักษะพืน้ ฐานด้านดนตรีและใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๗.๓.๒ ผลการตรวจสอบคุณภาพ ๑.) ผลจาการประเมิ นความรู้ ความเข้าใจของนั กเรียน โดยการหาผลการประเมิ น ประสิทธิภาพของ เอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ในชุดที่ สร้างขึ้นนี้มีค่าเท่ากับ ๘๑.๙๐ / ๘๒.๒๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ตี งั้ ไว้คอื ๘๐ / ๘๐ ๒.) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิตทิ ี่ระดับ ๐.๐๑ ๗.๔ แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ประโยชน์ ๑. นักเรียนมีพัฒนาการด้านการเรียนในรายวิชาดนตรีดขี ้ึน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สาระการเรียนรู้ศิลปะพัฒนามากกว่าเดิม และผลการทดสอบระดับชาติผ่านเกณฑ์ (สูงกว่าระดับ ประเทศ ) ๒. สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ดูจาก การแสดงการยอมรับในผลการทดสอบระดับชาติในปีที่ผ่านมาของโรงเรียน และจากผลงานการ ประกวดแข่งขันในระดับต่าง ๆ ๓. นักเรียนได้รับรางวัลจากการร่วมการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่ใน ระดับภาคและระดับชาติอกี ด้วย ๔. สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ดูจาก การแสดงการยอมรับ และขอรับความอนุเคราะห์ให้นักเรียนที่ขา้ พเจ้าสอนในรายวิชาดนตรีนนั้ ไป แสดงเนื่องในงานต่าง ๆ ทั้งในระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ ๘. ผลสารวจที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณและคุณภาพ ๑.) ผลจาการประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียน โดยการหาผลการประเมินประสิทธิภาพ ของเอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุม่ สาระการเรียนรู้กลุ่มศิลปะ (สาระดนตรี) ในชุดที่สร้างขึ้นนี้ มีค่าเท่ากับ ๘๑.๙๐ / ๘๒.๒๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ตี งั้ ไว้คอื ๘๐ / ๘๐


๒.) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ ๐.๐๑ ๓.) ผลจากการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน ทาให้นักเรียนมีพ้ืนฐานเรื่องโน้ตดนตรี สากล และสามารถต่อยอดความรูใ้ นการปฏิบัตเิ ครื่องเป่าดนตรีสากลประเภทอื่นๆ ต่อไปได้ ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนที่เมื่อได้รับการพัฒนาแล้ว เมื่อเข้าแข่งขันในระดับต่าง ๆ ประสบผลสาเร็จตามลาดับ ดังนี้ ๑. ได้รับรางวัล เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม วงดนตรีลูกทุ่งประเภท ทีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปี ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม วงดนตรี ลูกทุ่งประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ๓. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน ประเภทกิจกรรม วงดนตรี ลูกทุ่งประเภททีม ก ระดับชั้น ม. ๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี ๔. ได้รับรางวัล เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม วงดนตรีลูกทุ่งประเภท ทีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปี ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๕. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม วงดนตรี ลูกทุ่งประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง ๖. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน ประเภทกิจกรรม วงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม. ๑-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี ๗. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยสากลและเพลงสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและ ภาคตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ๘. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยลูกทุ่ง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง


๙. ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน ประเภทกิจกรรม ขับร้องเพลง ไทยสากลและเพลงสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและ ภาคตะวันออก ครัง้ ที่ ๖๒ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ดนตรีสากลโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการ โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๑.) ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุนและให้คาปรึกษาในการจัดทาและส่งนักเรียนเข้า แข่งขันการประกวดทักษะทางวิชาการ ๒.) คณะครูในโรงเรียนให้ความร่วมมือและให้กาลังใจในการทางานและส่งนักเรียนไปร่วม แข่งขันทางวิชาการ ๓.) คณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนุน ๔.) ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้นักเรียนฝึกซ้อมดนตรีหลังเลิกเรียน และวันหยุดเสาร์อาทิตย์ ๕.) นักเรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธกี ารตรวจสอบซ้า Best Practice นาเอกสารประกอบการเรียนการสอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ไปใช้สอนนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีถัดไป แล้วสารวจผลการเรียนว่าเป็นไปตามการประเมินครั้งแรกหรือไม่ ถ้าผล การเรียนลดลงต้องแก้ไขในเอกสารประกอบการเรียนและแบบทดสอบเพื่อปรับปรุงงานให้พัฒนาขึ้น ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อปรับปรุง พบว่า การเรียนด้วยเอกสารมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จาก ผลการสอบโอเน็ต (O-net) ประจาปี ๒๕๕๕ พบว่า นักเรียนที่ขา้ พเจ้าทาการสอนในรายวิชาศิลปะมีผล การเรียนเฉลี่ยที่ ๔๕.๖๘ ซึง่ สูงกว่าผลการเรียนวิชาศิลปะในระดับประเทศที่เฉลี่ย ๔๓.๓๑ สรุปได้ว่า เอกสารประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์มีประสิทธิภาพตามผลการประเมิน


๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ๑๐.๑ ประชาสัมพันธ์ในวารสารโรงเรียน ๑๐.๒ รายงานผลการพัฒนาให้ต้นสังกัดทราบ ๑๐.๓ เผยแพร่ผลงานของนักเรียนโดยจัดเวทีการแสดงดนตรีในงานต่างๆ ของโรงเรียน หลังจากที่นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะจากเอกสารประกอบการเรียนการสอนแล้ว โรงเรียนจึงจัด ให้มีการแสดงออกทางดนตรีเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดทักษะและความชานาญมากยิ่งขึน้ ดังนี้  วงดุริยางค์เดินขบวนแห่เทียนเข้าพรรษา  วงดุริยางค์เดินพาเหรดนาขบวนนักกีฬา งานกีฬาเครือข่ายชาววัง  การแสดงวงดนตรีลูกทุ่ง เนื่องในวันรับการประเมินโรงเรียนพระราชทาน  การแสดงวงดนตรีลูกทุ่ง เนื่องในงานวันพ่อแห่งชาติ  การแสดงวงดนตรีลูกทุ่ง เนื่องในงานมอบใบประกาศนียบัตรนักเรียนที่จบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดหนองเสือ  วงดุริยางค์เดินพาเหรดนาขบวนนักกีฬาเทศบาลตาบลวังศาลา เนื่องในงานกีฬา เทศบาลตาบลวังศาลา  การแสดงวงดนตรีลูกทุ่ง เนื่องในงานวันลอยกระทง ณ วัดหนองเสือ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี  การแสดงวงดนตรีลูกทุ่ง ในงานโรงเรียนและชุมชน ๑๐.๔ ขยายผลในวงกว้าง รูปแบบการขยายผล Best Practice สูอ่ งค์กร และหน่วยงานที่มีส่วนร่วมกลุ่มเป้าหมาย มีดังนี้  งานเผยแพร่ Best Practice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๕ ณ โรงเรียนวัดไชยชุม พลชนะสงคราม โดยวิธีการนาเสนอผลงานของตนเอง และแจก เอกสารแนะนาผู้เข้าร่วม ประชุม  งานเผยแพร่ Best Practice ของครูผู้สอนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ งานศิลปหัตถกรรม ครัง้ ที่ ๖๒ วันที่ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ โรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ลาดหญ้า โดยวิธกี ารนาเสนอผลงาน ของตนเอง และแจก เอกสารแนะนาผู้เข้าร่วมประชุม


ภาพความสาเร็จ นักเรียนได้รับรางวัลจากการประกวดวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-ม.๖ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๕


นักเรียนได้รับรางวัลจากการประกวดวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-ม.๖ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ปีการศึกษา ๒๕๕๕


นักเรียนได้รับรางวัลจากการประกวดวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-ม.๖ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๔


นักเรียนได้รับรางวัลจากการประกวดวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภททีม ก ระดับชั้น ม.๑-ม.๖ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ปีการศึกษา ๒๕๕๔


การแสดงดนตรี วงดนตรีลูกทุ่ง ของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองเสือ ในงานต่างๆ ของชุมชน


การแสดงดนตรี วงดนตรีลูกทุ่ง ของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองเสือ ในงานต่างๆ ของโรงเรียน


การแสดงดนตรี วงดนตรีลูกทุ่ง ของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองเสือ ในงานวันพ่อแห่งชาติ


นานักเรียนที่มีความสามารถด้านดนตรีสากล แสดงในงานต่าง ๆ ของกับชุมชน


การแสดงดนตรี วงดนตรีลูกทุ่ง ของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองเสือ ในงานวันลอยกระทง


การแสดงดนตรี วงดนตรีลูกทุ่ง ของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองเสือ ในงานโรงเรียน


กิจกรรมการฝึกทักษะดนตรีสากล


กิจกรรมการฝึกทักษะดนตรีสากล หลังเลิกเรียน และวันหยุดเสาร์-อาทิตย์


เกียรติบัตร



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.