BP นางปัทมา รุ่งสว่าง

Page 1

ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice : BP) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการ ด้านวิชาการยอดเยี่ยม “มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด”

โดย นางปัทมา รุ่งสว่าง ครูชานาญการ

โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


2

คานา

ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice : BP) ของข้าพเจ้าได้จัดทา รายละเอียด เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในด้านการอ่านคา มาตราตัวสะกด ใช้สื่อแบบฝึกการอ่าน นวัตกรรมเป็นดอกทานตะวันมาตราแม่ต่าง ๆ ดอกไม้ตัวสะกด โดย ใช้ชื่อ “มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด” ของนักเรียนพิการเรียนร่วมที่ได้รับการพัฒนาเรียน อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในปีการศึกษา 2555 ของโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ผลปรากฎว่า จากการใช้สื่อแบบฝึกและนวัตกรรมพัฒนาแล้ว ทาให้นักเรียนพิการเรียนร่วมสามารถอ่าน คามาตราตัวสะกดแม่ต่าง ๆ ได้ในเกณฑ์ดี ข้าพเจ้าขอขอบคุณท่านผู้บริหารสถานศึกษาทุกท่าน และนางประไพ กลั่นบุศย์หัวหน้าสาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ที่ให้ข้อเสนอแนะ คาแนะนา และการสนับสนุนในการจัดทาข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice : BP) ด้วยดี

นางปัทมา รุ่งสว่าง ครูโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม


3

สารบัญ

หน้า คานา สารบัญ ความเป็นมา

4

ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice : BP)

8

โครงสร้างซีทเท็ด (SEATCD)

15

ภาคผนวก

18


4

ความเป็นมาของการจัดการศึกษาเด็กพิเศษโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พุทธศักราช 2542 หมวด 1 มาตรา 5 คนพิการมีสิทธิทางการศึกษา ข้อ 1 ระบุว่า ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ ความพิการจนตลอดชีวิต พร้อมทั้งได้รับเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการและความ ช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติ ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 มาตรา 10 บัญญัติไว้ว่า การ จัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่ รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความ บกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคล ดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ โดยจัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดย ไม่เสียค่าใช้จ่ายและให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลือ อื่นใดทางการศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง จากพระราชบัญญัติดังกล่าว ทาให้โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ซึ่งเป็นหน่วยงาน ในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความตระหนักและไม่อาจที่จะละเลยในภารกิจนี้ได้ จึงได้เริ่มเปิดรับนักเรียนที่ มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคมการสื่อสารและการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการ พร้อมทั้งโรงเรียนได้รับการคัดเลือกเป็น “โรงเรียนแกนนาจัดการเรียนร่วม ” ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 เป็นต้นมา ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครองและชุมชนที่ต้องการส่งบุตรหลานที่มีความ ต้องการจาเป็นพิเศษเข้ามารับการศึกษาในโรงเรียน จึงได้ประสานงานกับทางศูนย์การศึกษาพิเศษประจา จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อขอความช่วยเหลือด้านการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนพิการเรียนร่วมในการเรียน ร่วมกับนักเรียนปกติ ตลอดจนให้ความสาคัญถือเป็นพันธกิจและเปูาหมายของโรงเรียนในอันที่จะ ดาเนินการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม และห้องเรียนคู่ขนานบุคคลออทิสติก โดยมีเปูาประสงค์มุ่งให้ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ และบุคคลออทิสติกได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่าง เต็มศักยภาพ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม 1. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่วมเต็มตามศักยภาพ 2. เพื่อสร้างความรู้ ความสามารถ ให้นักเรียนพิการเรียนร่วมและช่วยเหลือตนเองได้ 3. เพื่อให้นักเรียนพิการเรียนร่วมดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติและมีความสุข 4. เพื่อให้นักเรียนพิการเรียนร่วมทาประโยชน์ให้แก่สังคมและประเทศชาติได้


5

วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. นาแผนสู่การปฏิบัติ 2. จัดอบรมครู 3. จัดประชุมผู้ปกครอง 4. คัดกรองนักเรียน 5. วินิจฉัยเชาว์ปัญญา 6. จัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) 7. การรายงานผลเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ปัจจุบันโรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม จัดการเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) ดังนี้ S – STUDENT (นักเรียน) 1. โรงเรียนได้เตรียมความพร้อมของนักเรียนพิการเรียนร่วม ที่มีความบกพร่องด้านใดด้านหนึ่ง ถ้า เป็นบุคคลออทิสติกจะส่งเข้าเรียนในห้องเรียนคู่ขนานบุคคลออทิสติก แต่เมื่อปรับพฤติกรรมได้เหมือน นักเรียนปกติแล้ว ก็จะจัดเข้าเรียนในชั้นเรียนปกติ สาหรับนักเรียนพิการเรียนร่วมที่มีความบกพร่อง ด้านอื่น ก็ส่งเข้าเรียนร่วมในห้องเรียนปกติกับนักเรียนทั่วไป เพื่อให้มีความคุ้นเคยกัน ครูประจาชั้นที่มี นักเรียนพิการเรียนร่วมคอยให้ความช่วยเหลือและดูแลอย่างใกล้ชิด ส่วนนักเรียนปกติทั่วไปที่เรียนร่วมกับ นักเรียนพิการเรียนร่วมเวลาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนี้ได้มีการแนะนานักเรียนพิการเรียนร่วมให้ นักเรียนปกติได้รู้จักในชั้นเรียน เพื่อทาความเข้าใจและให้ความช่วยเหลือนักเรียนพิการเรียนร่วม 2. โรงเรียนได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย ในรอบปีการศึกษา ในการนี้ ได้ให้นักเรียนพิการ เรียนร่วมเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีความหมาย เพื่อให้เขาได้รับการพัฒนาด้านสังคม โดยจัดให้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมของโรงเรียนทุกกิจกรรม เช่น กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมประชาธิปไตย กิจกรรม วันแม่ วันพ่อ กิจกรรมเข้าพรรษา ออกพรรษา กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมวันเด็ก เป็นต้น 3. โรงเรียนได้ให้ความช่วยเหลือนักเรียนพิการเรียนร่วมที่มีฐานะยากจน โดยการจัดการให้กิน อาหารกลางวันฟรี ให้ทุนการศึกษา อุปกรณ์การเรียน เป็นต้น E – ENVIRONMENT (การจัดสภาพแวดล้อม) 1. โรงเรียนได้จัดแหล่งเรียนรู้สาหรับนักเรียนพิการเรียนร่วมและนักเรียนปกติได้แก่ ห้องสมุด ห้องดนตรีไทย ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องวิทยาศาสตร์ สนามเด็กเล่น ซึ่งนักเรียนพิการเรียนร่วมสามารถ ใช้ร่วมกับนักเรียนปกติได้อย่างเพลิดเพลินและมีความสุข 2. โรงเรียนได้จัดที่นั่งพักผ่อนตามบริเวณต่าง ๆ ภายในโรงเรียน เช่น โรงอาหาร ข้าง สนาม กีฬา ใต้ต้นไม้หน้าอาคารเรียน ซึ่งภายในบริเวณโรงเรียนมีต้นไม้ใหญ่ให้ความร่มรื่น อากาศถ่ายเทได้ สะดวก ให้ความร่มเย็นแก่นักเรียนทุกคนที่มานั่งเล่น


6

3. โรงเรียนได้จัดห้องสอนเสริมวิชาการสาหรับนักเรียนพิการเรียนร่วม เพื่อมาใช้พักผ่อนและ ผ่อนคลายอารมณ์ พร้อมทั้งสอนเสริมวิชาการให้ความรู้ด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนพิการเรียนร่วมสนใจตาม ความเหมาะสม 4. ครูผู้สอนในชั้นเรียนปกติและครูผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาเด็กพิเศษ มีการประสาน ความร่วมมือกัน ในด้านการจัดการเรียนการสอนอย่างเต็มที่ A – ACTIVITES (การจัดกิจกรรม) 1. โรงเรียนได้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยการจัดทา แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลให้สอดคล้องสาหรับนักเรียนพิการเรียนร่วม ตามศักยภาพของแต่ละ บุคคลตามความเหมาะสม 2. โรงเรียนจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนหลากหลายตามศักยภาพของผู้เรียน โดยเน้นการ เรียนที่มีผู้เรียนเป็นสาคัญ และให้เรียนอย่างมีความสุข 3. โรงเรียนจัดประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ผู้ปกครอง และ กรรมการสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน 4. ครูผู้สอนปรับการเรียนการสอน สาหรับนักเรียนพิการเรียนร่วม เพื่อให้เหมาะสมกับ ศักยภาพของแต่ละบุคคล พร้อมทั้งใช้เทคนิควิธีการสอนต่าง ๆ ให้มีความรู้ความเข้าใจในบทเรียน ได้ดียิ่งขึ้น T – TOOL (เครื่องมือ) การจัดการเรียนสอน โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ได้เน้นนโยบายการให้สิทธิ และโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่นักเรียนพิการเรียนร่วมทุกคนให้คนดี มีความสุขต่อไปข้างหน้า ทั้ง ทางด้านร่างกายและจิตใจ โดยให้การสนับสนุน จัดสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลายและมีการประสาน ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน


7

ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice : BP) “มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด”


8

ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice : BP) ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการ ด้านวิชาการยอดเยี่ยม 1. ชื่อ BP “ มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด” 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางปัทมา รุ่งสว่าง ตาแหน่ง ครูชานาญการ 2.2 โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1

3. เปูาหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อพัฒนาการอ่าน มาตราตัวสะกดของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ 3.2 เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ 3.3 เพื่อจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ 3.4 เพื่อจัดหาสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สนองต่อความต้องการของนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้

4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปีการศึกษา 2555 ถึง ปีการศึกษา 2555 ( 16 พฤษภาคม 2555 – 31 มีนาคม 2556)

5. ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเปูาหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา โรงเรียนดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเปูาหมายของหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับ นามา กาหนดในวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเปูาประสงค์ของโรงเรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝุายที่เกี่ยวข้องเข้ามามี ส่วนร่วมในการดาเนินการ


9

สาหรับ นักเรียนพิการเรียนร่วมทุกคนในโรงเรียน จะได้รับการพัฒนาด้านวิชาการ ในการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ได้คิดลงมือทากิจกรรมอย่าง กระตือรือร้น ตื่นตัว ตื่นใจ มีสิ่งกระตุ้นที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมความใฝุเรียนใฝุรู้ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการ ดูแลสนับสนุนด้านวิชาการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกระบวนการเรียนรู้ จัดหาสื่อ สิ่ง อานวยความสะดวกและเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่ จะส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของ นักเรียน พิการเรียนร่วม จนสามารถมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยช่วยเหลือตนเองได้ ใช้ ชีวิตประจาวันได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข

6. แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ความหมายของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ บกพร่องทางการเรียนรู้มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า Learning Disabilities นักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เป็นนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษประเภทหนึ่ง ซึ่งมีผู้ให้คานิยามไว้ มากมาย แต่ละนิยามได้สะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจของนักวิชาการเกี่ยวกับนักเรียนประเภทนี้ไว้ ดังนี้ เบญจพร ปัญญายง ( 2543 : 4 ) ได้ให้ความหมายของนักเรียนที่มีความบกพร่องในการ เรียนรู้ไว้ ว่า (Learning Disabilities, LD) เป็นความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้ ที่แสดงออกมาในรูป ของปัญหาการอ่าน การเขียน การสะกดคา การคานวณและเหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ เกิดจากการ ทางานที่ผิดปกติของสมอง ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าที่ควรจะเป็นโดยพิจารณาจากผลการเรียน เปรียบเทียบกับระดับเชาวน์ปัญญา ศรียา นิยมธรรม ( 2537 : 3 ) ได้ให้ความหมายของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ไว้ว่าเด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้ ( Learning Disabled Children ) หมายถึง เด็กที่มีความ ผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างของขบวนการพื้นฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับความ เข้าใจ การใช้ภาษาพูด หรือภาษาเขียน ซึ่งความผิดปกตินี้อาจเห็นได้ในลักษณะของการมีปัญหาในการ รับฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน การสะกด หรือการคานวณ ตลอดจนการรับรู้อันเป็นผล จากความผิดปกติทางสมอง แต่ไม่รวมถึงเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ อันเนื่องมาจากการมองไม่ เห็น ปัญญาอ่อน การไม่ได้ยิน การเคลื่อนไหวไม่ปกติเนื่องจากร่างกายพิการ หรืออารมณ์แปรปรวน หรือเด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ( 2541 : 9 ) ได้ให้ความหมายของ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องในกระบวนการทางจิตวิทยา ทาให้เด็กมีปัญหาในการใช้ภาษาทั้งในการฟังการพูด การอ่าน การเขียนและการสะกดคาหรือมีปัญหาใน การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ปัญหาดังกล่าวมิได้มีสาเหตุมาจากความบกพร่องทางร่างกาย แขน ขา ลาตัว สายตา การได้ยิน ระดับสติปัญญา อารมณ์ สภาพ จิตเวชและสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก


10

จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่านักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ หมายถึง เด็กที่มีความ บกพร่องทางกระบวนการทางจิตวิทยา ทาให้นักเรียนมีปัญหาที่แสดงออกมาในรูปของปัญหาการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ การเคลื่อนไหว และการรับรู้ ปัญหาดังกล่าวไม่ได้มีสาเหตุมาจากความบกพร่อง ทางด้านร่างกาย การมองเห็น การได้ยิน ความบกพร่องทางด้านสติปัญญา อารมณ์และสภาพแวดล้อม ต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเด็ก ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทาให้สมรรถภาพของนักเรียนอยู่ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ปกติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าระดับความสามารถทางสมอง จาเป็นจะต้องได้รับการบริการทางการศึกษาที่ แตกต่างจากเด็กปกติ คือ การศึกษาพิเศษ สาเหตุของความบกพร่องทางการเรียนรู้ ความบกพร่องทางการเรียนรู้ ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านการเรียน การค้นหาสาเหตุของ ความบกพร่องส่วนใหญ่แล้วเป็นหน้าที่ของบุคลากรทางด้านสาธารณสุข แต่ในประเทศไทยบุคลากร สาธารณสุขทางด้านนี้ยังมีน้อย ไม่เพียงพอในการดูแลบุคลากรทางด้านการศึกษาซึ่งเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับ นักเรียนเหล่านี้มากที่สุด จาเป็นต้องรับรู้สาเหตุของความบกพร่อง เพื่อหาทางจัดการศึกษาให้สอดคล้อง กับปัญหาและความต้องการของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ สาเหตุของความบกพร่อง จาแนกได้ ดังนี้ เบญจพร ปัญญายง ( 2543 : 13 ) กล่าวไว้ว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจจะมี สาเหตุมาจากสมองทางานผิดปกติโดยมีรายงานการวิจัยสนับสนุน ดังนี้ 1. พยาธิสภาพของสมองอาจมีสาเหตุมาจากการที่สมองได้รับการกระทบกระเทือน อาจจะ เป็นการได้รับการกระทบกระเทือน ก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอดก็ได้ การ กระทบกระเทือนนี้ ทาให้ระบบประสาทส่วนกลางไม่สามารถทางานได้เต็มที่ ทาให้นักเรียนมีความ บกพร่องในการรับรู้ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 2. ความผิดปกติของสมองซีกซ้าย โดยปกติสมองซีกซ้ายจะควบคุมการแสดงออกทางด้าน ภาษา และสมองซีกซ้ายจะมีขนาดโตกว่าซีกขวาแต่เด็ก LD สมองซีกซ้ายและซีกขวามีขนาดเท่ากัน และมีความผิดปกติอื่น ๆ ที่สมองซีกซ้ายด้วย 3. ความผิดปกติของคลื่นสมอง เด็ก LD จะมีคลื่นอัลฟาที่สมองซีกซ้ายมากกว่าเด็กปกติ 4. กรรมพันธุ์ เด็กที่มีปัญหาการอ่าน บางรายมีความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 15 และ สมาชิกของครอบครัวเคยเป็นLDโดยที่พ่อแม่มักเล่าว่าเมื่อตอนเด็ก ๆ ตนเคยมีลักษณะคล้ายกัน 5. พัฒนาการล่าช้า เดิมเชื่อว่าเด็ก LD มีผลจากพัฒนาการล่าช้า แต่ปัจจุบันไม่เชื่อเช่นนั้น เพราะเมื่อโตขึ้นเด็กไม่ได้หายจากโรคนี้ ลิขติ กาญจนาภรณ์ (2548 : 68-69 ) กล่าวถึงการทางานของสมองซีกขวาและสมองซีก ซ้ายว่า สมองซีกขวาและสมองซีกซ้ายทางานสลับกันในการควบคุมพฤติกรรมการเคลื่อนไหว ( motor ) นั่นคือสมองซีกขวาควบคุมพฤติกรรมการเคลื่อนไหวในซีกซ้ายของสมองซีกซ้ายควบคุม พฤติกรรมพฤติกรรมการเคลื่อนไหวในซีกขวาของร่างกาย นอกจากนั้นสมองซีกขวาและสมองซีกซ้ายยัง ทาหน้าที่ควบคุมสมรรถภาพในด้านต่าง ๆ เช่น


11

สมองซีกขวาควบคุมการทางานการเคลื่อนไหวของอวัยวะซีกซ้าย ทาหน้าที่ควบคุมสมรรถภาพที่ ต้องอาศัยการสังเคราะห์ เช่น การจารายละเอียด การออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ มิติสัมพันธ์ ( Spatial construction ) จินตนาการ ความซาบซึ้งในดนตรี ศิลปะ สมองซีกซ้ายควบคุมการทางานการเคลื่อนไหวของอวัยวะซีกขวา ทาหน้าที่ควบคุม สมรรถภาพที่ต้องอาศัยการวิเคราะห์ เช่น การอ่าน การเขียน การพูด ซึ่งเป็นสมรรถภาพทาง ภาษา การคิดเชิงตรรก การคิดคานวณ วิทยาศาสตร์ สมทรัพย์ สุขอนันต์ ( เอกสารอัดสาเนา : 3) กล่าวว่าความบกพร่องทางการเรียนรู้เกิด จากสาเหตุหลายประการด้วยกัน โดยจาแนกเป็นด้าน ๆ ดังต่อไปนี้ 1. สาเหตุทางพันธุกรรม จากการวิจัยหลายเรื่องนามาสู่ข้อสรุปที่ว่าความบกพร่องทางการ เรียนรู้มีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม แม้การวิจัยเหล่านั้นไม่อาจโยงความสัมพันธ์ที่ชัดเจนถึงความเป็นเหตุ เป็นผลดังกล่าวได้ แต่ความถี่ของปรากฏการณ์ในระหว่างคนสายเลือดเดียวกันมีสูงมาก ดังเช่น งานวิจัยของ Finucci และคณะ ( Finucci et al , 1976 ) พบว่า 45 % ของญาติสนิทของเด็กที่ เป็น LD ด้านการอ่าน มีปัญหาในด้านการอ่าน ในขณะที่งานวิจัยของ Smith และคณะ (Smith et al , 1982 ) พบว่าโครโมโซมบางตัวทาให้เกิดความบกพร่องด้านการอ่าน 2. สาเหตุในระหว่างตั้งครรภ์และการคลอด ในกรณีนี้จะเป็นเรื่องของการได้รับสารเคมีบาง ชนิด ยาเสพติด ตลอดจนโรคภัยไข้เจ็บในระหว่างการตั้งครรภ์ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ อาจมีผลกระทบต่อ พัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์ไม่มากก็น้อย มารดาที่คลอดยาก ต้องใช้เครื่องมือทาง การแพทย์บางชนิดมาช่วย บางครั้งทาให้เกิดความกระทบกระเทือนสมองชนิดที่เรียกว่า minimal brain damage ซึ่งความผิดปกติในลักษณะนี้เป็นสาเหตุสาคัญของการเป็น LD ในปี 1978 Rourke ได้รวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับความบกพร่องของระบบประสาทที่มีผลต่อการอ่านของเด็ก พบว่า เด็กที่มีความยากลาบากในการอ่าน มักมีประวัติเคยได้รับความกระทบกระเทือนทางสมองในลักษณะต่าง ๆไม่มากก็น้อย นอกจากนี้ยังมีรายงานการวิจัยอื่น ๆ ซึ่งยืนยันว่าทารกคลอดก่อนกาหนดมาก ๆ จะมี ความเสี่ยงสูงมากต่อการเป็น LD 3. สาเหตุภายหลังการคลอด ได้แก่ โรคภัยไข้เจ็บ ตลอดจนอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น กับเด็ก เช่นเด็กที่เคยมีประวัติเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ( meningitis )หรือสมองอักเสบ ( encephalitis) จะเป็นเด็ก LD สูงกว่าเด็กซึ่งไม่เคยมีโรคภัยไข้เจ็บเช่นนั้น ผดุง อารยะวิญญู ( 2542 : 7 – 8 ) กล่าวไว้ว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้ก่อให้เกิด ปัญหาในการเรียนเนื่องจากเด็กไม่สามารถเรียนได้ดีเท่ากับเด็กปกติทั่วไป การค้นหาความบกพร่องของ เด็กส่วนมากเป็นหน้าที่ของบุคลากรทางสาธารณสุข บุคลากรทางการศึกษาอาจจาเป็นต้องรับรู้ไว้เพื่อจะ ได้หาทางจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับปัญหาของเด็กต่อไป สาเหตุของความบกพร่องนี้อาจจาแนกได้ ดังนี้


12

1. สมองได้รับการกระทบกระเทือน บุคลากรทางการแพทย์เชื่อว่าสาเหตุสาคัญที่ทาให้เด็ก เหล่านี้ไม่สามารถเรียนรู้ได้ดีนั้นเนื่องมาจากสมองได้รับการกระทบกระเทือน( brain amage) อาจมี สาเหตุมาจากการได้รับบาดเจ็บก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอดก็ได้ การกระทบ กระเทือน นี้ ทาให้ระบบประสาทส่วนกลางไม่สามารถทางานได้เต็มที่ ทาให้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการรับรู้ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 2. งานวิจัย เป็นจานวนมากระบุว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้บางอย่างสามารถถ่ายทอด ทางกรรมพันธุ์ได้ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้บางคน อาจมีพี่น้องที่เกิดจากท้องเดียวกัน มีความบกพร่องทางการเรียนรู้เช่นกัน หรืออาจมีพ่อแม่ พี่น้อง หรือญาติใกล้ชิดที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้เช่นเดียวกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาในการอ่าน การเขียนและการเข้าใจภาษา การศึกษาสาเหตุของพันธุกรรมต่อการเกิดความบกพร่องทางการเรียนรู้นัน้ นักวิจยั ศึกษาจาก ฝาแฝดชนิดไข่ใบเดียวกัน ( Identical Twins ) พบว่า ถ้าฝาแฝดคนใดคนหนึ่ง มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ ฝาแฝดอีกคนหนึ่งก็จะมีปัญหาทางการเรียนรู้ด้วย จึงนาไปสู่ข้อสรุปว่าความบกพร่อง ทางการเรียนรู้อาจสืบทอดทางพันธุกรรมได้ 3. สิ่งแวดล้อม สาเหตุทางสภาพแวดล้อมในที่นี้ หมายถึง สาเหตุอื่นที่ไม่ใช่การได้รับความ กระทบกระเทือนทางสมองและกรรมพันธุ์ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับเด็กภายหลังการคลอด เมื่อเด็กเติบโต ขึ้นมาในสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง การขาดสารอาหารในวัยทารกและวัยเด็ก การที่ร่างกาย ได้รับสารบางชนิด อันเนื่องมาจากมลพิษในสภาพแวดล้อม การสอนที่ไม่มีประสิทธิภาพของครู ตลอดจนขาดโอกาสในการศึกษา เป็นต้น จากสาเหตุดังกล่าว สรุปได้ว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีสาเหตุมาจากพันธุกรรมการ ได้รับสารเคมีบางชนิด ยาเสพติด ระบบการทางานของสมองส่วนกลางผิดปกติ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อสมอง ได้รับการกระทบกระเทือนหรือได้รับบาดเจ็บก่อนคลอด ระหว่างคลอด หลังคลอด ทาให้เกิดความ ผิดปกติที่สมองซีกซ้ายซึ่งควบคุมการรับรู้ และแสดงออกทางด้านภาษา ประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การรับรู้สัญลักษณ์ การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ และการคิดคานวณ ลักษณะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ความบกพร่องทางการเรียนรู้ คือ ภาวะทีไ่ ม่สอดคล้องกันระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับ ความสามารถทางสติปัญญาของนักเรียน กล่าวคือ นักเรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพทาง สติปัญญาของเขา นอกจากนี้ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มักมีความบกพร่องทางด้าน อื่นร่วมด้วย คือ ทางการเคลื่อนไหว ทางด้านสังคม และทางด้านจิตใจ ส่งผลให้ศักยภาพของนักเรียน ลดลง ขาดความมั่นใจในตนเอง นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มักจะพบลักษณะของความ บกพร่อง ในเรื่องต่อไปนี้ ผดุง อารยะวิญญู ( 2542 : 3 – 4 ) กล่าวว่า นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ อาจมีลักษณะดังต่อไปนี้


13

1. มีความบกพร่องทางการพูดและการใช้ภาษา 2. มีความบกพร่องทางการสื่อสาร 3. มีความบกพร่องในการเรียนวิชาทักษะ เช่น วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ 4. มีความบกพร่องในการสร้างแนวความคิดรวบยอด 5. การทดสอบผลการเรียนให้ผลไม่แน่นอน 6. มีความบกพร่องทางการรับรู้ 7. มีความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว 8. มีอารมณ์ไม่คงที่ บางครั้งระเบิดอารมณ์ใส่ผู้อื่น ความผิดหวังเล็ก ๆ น้อย ๆ อาจทา ให้เสียอารมณ์อย่างรุนแรงได้ 9. โยกตัวหรือผงกศีรษะบ่อย ๆ 10. ลักษณะการนอนไม่คงที่ บางครั้งหลับบางครั้งไม่หลับ ไม่เป็นเวลาที่ แน่นอน 11. มีพัฒนาการทางร่างกายไม่คงที่ 12. มีพฤติกรรมไม่คงเส้นคงวา 13. เสียสมาธิง่าย มีช่วงความสนใจสั้น 14. แสดงพฤติกรรมแปลก ๆ 15. มีปัญหาในการสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อน 16. มีความจาในระยะสั้น ศรียา นิยมธรรม ( 2541 : 40 ) ได้จัดกลุ่มลักษณะรวม ๆ ของความบกพร่องทางการ เรียนรู้ได้ 4 ด้านใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ด้านพุทธิพิสัยหรือการรู้คิด ( Cognitive ) ความบกพร่องทางการเรียนรู้ส่วนมาก จะส่งผล ด้านการคิดทางวิชาการ นิยามของความบกพร่องทางการเรียนรู้สาหรับคนอเมริกัน จึงมักเอ่ยอ้างถึง ปัญหาความยุ่งยากในด้านการอ่าน การสะกดคา คณิตศาสตร์ การฟัง การคิด และภาษา โดยเน้น ความสาคัญที่ผลการเรียนเป็นปัญหาหลักของนักเรียนกลุ่มนี้ ทั้ง ๆ ที่นักเรียนเหล่านี้มิได้เป็นนักเรียนที่ มีสติปัญญาในระดับต่าแต่อย่างใด 2. ด้านภาษา ( Language ) ปัญหาการเข้าใจและการแสดงออกทางภาษา เป็นเรื่องที่พบ บ่อย ๆ ในนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ นักวิจัยบางคนที่ศึกษาความบกพร่องทางการ เรียนรู้เชื่อว่าปัญหาด้านภาษาเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดของเรื่องความบกพร่องการเรียนรู้ นักเรียนทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้หลายคน มีปัญหาเกีย่ วกับเรื่องกฎเกณฑ์และการ นามาใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ นักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้มักสับสนเกี่ยวกับการจาแนกเสียง เช่น เสียง ม น หรือ ด ต นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ยังมีปัญหาเกี่ยวกับเสียงสระเดี่ยว และเสียงสระประสม นอกจากนี้ยังใช้ไวยากรณ์ผิด มีปัญหาในการเรียบเรียงประโยค นักเรียนที่มีปัญหา ทางการเรียนรู้บางคนจึงมักใช้วิธีเขียนประโยคง่าย ๆ สั้น ๆ ทาให้ขาดความสละสลวยของภาษาปัญหา


14

อีกอย่างหนึ่งคือการใช้ภาษาไม่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ทางสังคม นักเรียนเหล่านี้มักเป็นผู้ สนทนาที่ไม่ดีนัก เพราะอาจพูดขัดแซงขึ้นมาแต่เป็นคนละเรื่องกับที่เขาสนทนาอยู่ หรือบางทีก็มีวิธีพูดที่ ทาให้คนอื่น ๆ ในวงสนทนาฟังแล้วแปลก ๆ หรืออึดอัดไม่สบายใจ 3. ด้านกลไกการเคลื่อนไหว ( Motor ) ปัญหาด้านกลไกการเคลื่อนไหว ทั้งกล้ามเนื้อ มัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ และทักษะในการเรียนรู้กลไกการเคลื่อนไหวมักเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันกับความ บกพร่องการเรียนรู้ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้มักมีปัญหาในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 การประสานสัมพันธ์ของสายตาและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น การยืน เดิน วิ่ง กระโดด โยนรับสิ่งของ เป็นต้น 3.2 การทรงตัว 3.3 การรู้จักซ้าย ขวา 3.4 จังหวะในการเคลื่อนไหว 3.5 ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ 3.6 การขว้าง การกระโดด การก้าวกระโดด การทรงตัว 3.7 การวาด การเขียน 3.8 การใช้กรรไกร 3.9 การลอกรูปตามแบบ 3.10 การประสานสัมพันธ์ของสายตาและกล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น การร้อยลูกปัด การ ผูกเชือกรองเท้า การหยิบจับสิ่งของ การระบายสีให้อยู่ในกรอบ เรื่องทักษะด้านการเคลือ่ นไหวนี้ เป็นเรื่องทีผ่ ูท้ างานเกีย่ วกับนักเรียนทีม่ ีปัญหาทางการเรียนรู้ เน้นว่ามีความสาคัญมาก โดยเฉพาะในช่วงระหว่าง ค.ศ. 1960 – 1970 โดยคิดกันว่าหากนักเรียน ปรับปรุงด้านกลไกการเคลื่อนไหวแล้ว ก็จะสามารถเอาชนะปัญหาการเรียนรู้ที่โรงเรียน ทั้งนี้ เพราะดูเหมือนว่าการเรียนรู้มักเกี่ยวข้องกับทักษะการรับรู้ของกลไกการเคลื่อนไหว แต่ผลการวิจัยกับ แสดงให้เห็นว่า วิธีการดังกล่าวไม่ได้มีประสิทธิผลสาหรับการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้ทั้งหมดได้ 4. ด้านสังคม ( Social ) นักเรียนที่ บกพร่องทางการเรียนรู้หลายคนมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง สัมพันธภาพทางสังคม ปัญหาการปรับตัวเป็นเรื่องที่พบบ่อยมากในนักเรียนกลุ่มนี้ นอกจากผลการ ประเมินจากเพื่อน ๆ ครูและผู้ปกครองก็มีความคงที่และสอดคล้องกันว่านักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ นั้น มีพฤติกรรมทางสังคมไม่ดีเท่ากับนักเรียนทั่วไป ปัญหาในทานองนี้ก็จะยืดเยื้อไปจนถึงวัยผู้ใหญ่

7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเปูาหมายในการนา BP ไปใช้ กลุ่มเปูาหมายที่นา BP ไปใช้ คือ นักเรียนพิการเรียนร่วม ครู ผู้ปกครองที่เกี่ยวข้องกับ นักเรียนพิการเรียนร่วม และโรงเรียนแกนนาจัดการเรียนร่วม ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนตนเองได้ และโรงเรียนยังต่อยอดพัฒนาต่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพคุณภาพให้สูงขึ้น


15

7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice โดยใช้กระบวนการการบริหารจัดการเรียนร่วม โครงสร้างซีท (SEAT) ของ สพฐ. มาสู่การดาเนินงาน ได้แก่

S

โครงสร้างซีทเท็ด (SEATCE)

- STUDENT (นักเรียน) – เตรียมความพร้อมนักเรียนพิการเรียนร่วม - ให้ความรัก ความเข้าใจ ดูแลช่วยเหลือใกล้ชิด

E

- ENVIRONMENT (การจัดสภาพแวดล้อม) -

A

- จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ตามความสนใจและมีความสุขในการเรียน

- ACTIVITES (การจัดกิจกรรม)

- จัดทาแผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) โครงสร้างซีทเท็ ด - ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ (SEATCD) - ปรับหลักสูตรตามความศักยภาพของแต่ละบุคคล

T

- TOOL (เครื่องมือ) - สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา - ครูสอนเสริมวิชาการ

C

- COOKING (การประกอบอาหาร) - ฝึกทักษะในชีวิตประจาวัน - ฝืกสมาธิ - ฝึกให้รู้จักการรอคอย

D

- DANCING (การเต้นประกอบเพลง) - ผ่อนคลายความตึงเครียด - เกิดความสนุกสนาน อารมณ์ดี ร่าเริงแจ่มใส - เคารพกฎกติกา มารยาท สร้างความสามัคคี

ดังนี้


16

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP โรงเรียนมีการตรวจสอบคุณภาพ BPโดยใช้วิธีการประเมินผลการดาเนินงาน 3 ระยะ ทุกกิจกรรม คือ ประเมินก่อนดาเนินการ ประเมินระหว่างดาเนินการ และประเมินหลังดาเนินการ ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินจะมีหลากหลาย เช่น แบบคัดกรอง แบบทดสอบ แบบสารวจ แบบสังเกต เป็นต้น และเมื่อประมวลผลจากการประเมินแล้วาจะนาผลที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนา BP ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ซึ่งจะเป็นกระบวนการพัฒนานักเรียนพิการเรียนร่วม

8. ผลสาเร็จเชิงปริมาณ รายงานความก้าวหน้า นักเรียนเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงครามตาบลบ้านใต้ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีความ บกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการอ่าน สมาธิสั้น จา – ลืม จึงพัฒนาความสามารถในการอ่านคามาตรา ตัวสะกด ก่อนและหลังการเรียน โดยใช้สื่อแบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด ดอกทานตะวันมาตรา ตัวสะกดแม่ต่าง ๆ ดอกไม้ตัวสะกด และทาแบบฝึกระหว่างเรียน ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน ๘ แผน นักเรียนได้คะแนนก่อนเรียน ๖ คะแนน คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ ๖๐.๐๐ และหลังการเรียน ได้ คะแนน ๘ คะแนน คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ ๘๐.๐๐ และระหว่างเรียนทาได้คะแนนรวมทั้งสิ้น ๖๕ คะแนน คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ ๘๑.๒๕ แสดงว่านักเรียนได้รับการพัฒนาด้านการอ่านอยู่ในเกณฑ์ดี

9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP การตรวจสอบซ้าใช้วิธีการเดิมที่ตรวจสอบในครั้งแรกเพื่อดูความเที่ยงตรงของกระบวนการ ดาเนินงาน 9.2 ผลการตรวจซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นาผลประเมินมาปรับปรุง พัฒนาเทคนิคการสอนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้นและมีการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย ทั้งนักเรียนพิการเรียนร่วมและนักเรียนปกติทั่วไป

10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ประชาสัมพันธ์ในสารสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน รายงานให้คณะกรรมการสถานศึกษาทราบ รายงานให้หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ประชาสัมพันธ์ให้แก่โรงเรียนภายในกลุ่มเครือข่าย จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ BP ในระหว่างโรงเรียนแกนนาจัดการเรียนร่วม ประชาสัมพันธ์โดยศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดกาญจนบุรี


17

11. ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการดาเนินงาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เข้าใจนักเรียนพิการเรียนร่วมและมีสัมพันธภาพกับเด็กเป็นอย่างดี สร้างความสนิทสนมคุ้นให้ความรัก ความอบอุ่น ครูผู้สอนต้องมีความอดทน ตั้งใจสอนอย่างค่อยเป็นค่อยไป มีความต่อเนื่องและสม่าเสมอ ลดพฤติกรรมความก้าวร้าวของนักเรียนพิการเรียนร่วม ดึงดูดความสนใจ และสร้างความพร้อมในการสอนภาษาและการพูด เป็นแบบอย่างในการพูดที่ดีให้แก่ นักเรียนพิการเรียนร่วม ให้แรงเสริมทางบวก เช่น คาชมเชย รางวัล

12. บทสรุปและความภาคภูมิใจ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นักเรียนพิการเรียนร่วมได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีทักษะทางสังคมดีขึ้น ลดข้อจากัดในการเรียนรู้ของนักเรียนพิการเรียนร่วม นักเรียนพิการเรียนร่วมยอมรับตนเอง และประสบผลสาเร็จในการดาเนินชีวิต ผู้ปกครองนักเรียนพิการเรียนร่วมทุกคนมีความสุข และความภาคภูมิใจในความสาเร็จ ครูและบุคลากรในโรงเรียนให้การยอมรับนักเรียนพิการเรียนร่วมทุกคน นักเรียนพิการเรียนร่วมในโรงเรียน เมื่อได้รับการพัฒนาแล้ว สามารถเข้าร่วมแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมจนได้รับรางวัลชนะเลิศระดับเขตพื้นที่ ระดับภาค และระดับชาติ ทาให้โรงเรียน มีชื่อเสียงเป็นอันมาก


18

ภาคผนวก


19

มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ปีการศึกษา ๒๕๕๕

โดย นางปัทมา รุ่งสว่าง ครูชานาญการ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

โรงเรียนอนุบาลวัดไชยชุมพลชนะสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


20

ชื่องานวิจัย

มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

ความสาคัญของปัญหาการวิจัย จากการสอนเสริมวิชาการนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เรียนร่วมอยู่ในชั้นเรียน ปกติ จานวน 1 คน เรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 พบว่า มีระดับสติปัญญาปกติและไม่มีความ พิการอื่นใดทางร่างกาย แต่มีปัญหาในกระบวนการทางจิตวิทยา ทาให้นักเรียนไม่สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เนื่องจาก มีความจาสั้น คือ จา – ลืม และสมาธิสั้น จึงรู้จักและอ่านคามาตราตัวสะกดได้ ยากกว่านักเรียนในระดับเดียวกัน ดังนั้น จาเป็นต้องพัฒนาทักษะการอ่านคามาตราตัวสะกดอย่างมี ทิศทางและต่อเนื่อง ปัญหาการวิจัย การสอนโดยใช้สื่อแบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด ทาให้ความสามารถในการอ่านคามาตรา ตัวสะกดของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้สูงขึ้นหรือไม่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านคามาตราตัวสะกด ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ก่อนและหลังการสอน โดยใช้แบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ สามารถอ่านคามาตราตัวสะกดได้ 2. นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีความสุขในการเรียน 3. นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น 4. นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ นาความรู้ไปเรียนวิชาอื่น ๆ ดีขึ้น 5. ผู้ ที่เกี่ยวข้องทางการศึกษาและผู้ที่สนใจ สามารถที่จะนาการสอนโดยใช้แบบฝึก การอ่านคามาตราตัวสะกด ไปพัฒนาทักษะความสามารถทางการเรียนรู้ด้านการอ่านคาสาหรับนักเรียนที่มี ความบกพร่องทางการเรียนรู้ วิธีดาเนินการวิจัย 1. รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ใช้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้โดย มีการทดสอบก่อนและหลังการเรียน โดยใช้แบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด 2. กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กชายธงชัย ศรีจันทร์ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ กาลังเรียนอยูช่ ั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนอนุบาล วัดไชยชุมพลชนะสงคราม ตาบลบ้านใต้ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


21

1. 3. 4. 5.

เครื่องมือการวิจัย เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนการอ่านคามาตรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 2. แบบบันทึกข้อมูลฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด บัตรภาพและบัตรคา ดอกไม้ชื่อมาตราตัวสะกด ชุดแบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด

เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1. แบบบันทึกคะแนน 2. แบบบันทึกการอ่าน 3. การสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการกับครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 และชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/2 เพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนที่ผ่านมาและปัจจุบัน 4. การสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการกับผู้ปกครองนักเรียนเกี่ยวกับความก้าวหน้าในการอ่าน ของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนก่อนและหลังการเรียน โดยใช้แบบฝึกการอ่านคา มาตราตัวสะกด แล้วหาค่าร้อยละระหว่างเรียนเพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้าในการอ่าน ผลการวิจัย ตารางที่ 1 แสดงคะแนนระหว่างเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านหลังการใช้แบบฝึกของนักเรียนที่มี ความบกพร่องทางเรียนรู้ ที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน ก่อนเรียน

จานวนนักเรียน 1

ค่าเฉลี่ยร้อยละ 60.00

คะแนนระหว่างเรียนร้อยละ 81.25

หลังเรียน

1

80.00

จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนได้คะแนนระหว่างเรียนเฉลี่ยร้อยละ 81.25 และ สัมฤทธิ์ทางการอ่านหลังการใช้สื่อแบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกดได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.00


22

ตารางที่ 2 แสดงการพัฒนาความก้าวหน้าของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ก่อนและหลัง การเรียน และระหว่างเรียนโดยใช้แบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด และนวัตกรรม “มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด” ประกอบการเรียนรู้ ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 1112. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19

รายการ ทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกที่ 1 แบบฝึกที่ 2 แบบฝึกที่ 3 แบบฝึกที่ 4 แบบฝึกที่ 5 แบบฝึกที่ 6 แบบฝึกที่ 7 แบบฝึกที่ 8 แบบฝึกที่ 9 แบบฝึกที่ 10 แบบฝึกที่ 11 แบบฝึกที่ 12 แบบฝึกที่ 13 แบบฝึกที่ 14 แบบฝึกที่ 15 แบบฝึกที่ 16 รวม ทดสอบหลังเรียน

คะแนนเต็ม 10 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 80 10

ได้คะแนน 6 3 4 4 5 4 4 3 4 4 5 5 3 3 4 5 5 65 8

ค่าเฉลี่ยร้อยละ 60.00

81.25 80.00

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนได้คะแนนก่อนและหลังการเรียน โดยมีคะแนนก่อนเรียน เฉลี่ยร้อยละ 60.00 ระหว่างเรียนเฉลี่ยร้อยละ 81.25 และหลังเรียนเฉลี่ยร้อยละ 80.00 การสะท้อนผลการวิจัย จากการวิจัย พบว่า การสอนโดยใช้แบบฝึกการอ่านคามาตราตัวสะกด และนวัตกรรม “มนต์บุปผา พาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด ” ประกอบการเรียนรู้ สามารถทาให้นักเรียนที่มีความ บกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการอ่านมีการพัฒนาขึ้นจากเดิม นักเรียนรู้จักคามาตราตัวสะกด ซึ่งเป็นพื้นฐานในการอ่านหนังสือได้


23

และเข้าใจในสิ่งที่อ่าน เป็นการจัดการรียนรู้อย่างมีความหมาย สนุกสนานเพลิดเพลินกับรูปภาพ ทาให้ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีความสามารถในการอ่านคามาตราตัวสะกดตามที่สอนได้ เป็น การส่งเสริมและพัฒนาความสามารถทางภาษา แก้ปัญหาการเรียนรู้ด้านการอ่าน ทาให้ปัญหาลดลงและ ประสบผลสาเร็จในการเรียน

มนต์บุปผาพาเรียนรู้สู่มาตราตัวสะกด


24

ผลงานที่น่าภาคภูมิใจของ นางปัทมา รุ่งสว่าง ๑) ผู้มีผลงานดีเด่นด้านกระบวนการเรียนการสอน ระดับภูมิภาค ปี ๒๕๕๒ ๒) ครูผู้ฝึกสอนการเล่านิทานประเภทออทิสติก ช่วงชั้นที่ ๒ ปี ๒๕๕๒ ได้รับ รางวัล เหรียญทองยอดเยี่ยม ระดับประเทศ ๓) ครูผู้ฝึกสอนการร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทบกพร่องทางการเห็น ไม่จากัดช่วงชั้น ได้รับรางวัลเหรียญทอง ปี ๒๕๕๒ ระดับประเทศ ๔) รางวัล Best Practice ผู้บริหารและครูในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตาม โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ ด้านการศึกษาพิเศษ จาก สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ ประจาปี ๒๕๕๔ ๕) รางวัล Best Practice การจัดการเรียนร่วมดีเด่น ระดับจังหวัด สาขา ครูผู้สอนประจาปี ๒๕๕๔ จาก ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดกาญจนบุรี ๖) ครูผู้ฝึกสอนการจัดสวนถาดแบบแห้ง (ออทิสติก) ไม่กาหนดช่วงชั้น ปี ๒๕๕๔ ได้รับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศ ระดับประเทศ ๗) ครูผู้ฝึกสอนการเต้นหางเครื่องประกอบเพลง (ออทิสติก) ช่วงชั้นที่ ๒ ปี ๒๕๕๔ ได้รับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศ ระดับประเทศ ๘) ครูระดับประถมศึกษา วิชาบูรณาการยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน ผู้มีผลงานดีเด่น ที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ชนะเลิศเหรียญทอง ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๔ ระดับประเทศ ๙) รางวัลครูสายการสอน “ผู้ทาคุณประโยชน์ของสานักงานคณะกรรมการ “สกสค.” กระทรวงศักษาธิการ ประจาปี ๒๕๕๕ ระดับประเทศ ๑๐) รางวัล Best Practice ผู้บริหารและครูในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตาม โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ ด้านการศึกษาพิเศษ จาก สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ ประจาปี ๒๕๕๕ ๑๑) รางวัลบุคคลและหน่วยงานที่ทาคุณประโยชน์เพื่อบุคคลออทิสติก และบุคคล ออทิสติกดีเด่น ระดับประเทศ ประจาปี ๒๕๕๔ เพื่อเข้ารับรางวัล พระราชทานจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ของมูลนิธิคุณพุ่ม ประเภทครูผู้สอนบุคคลออทิสติก ระดับประถมศึกษา


25

๑๒) ครูผู้ฝึกสอนการจัดสวนถาดแบบแห้ง (ออทิสติก) ไม่กาหนดช่วงชั้น ปี ๒๕๕๕ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับประเทศ ๑๓) ครูผู้ฝึกสอนการเต้นหางเครื่องประกอบเพลง (ออทิสติก) ช่วงชั้นที่ ๒ ปี ๒๕๕๕ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับประเทศ ๑๔) ครูระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระบูรณาการ ด้านการบริหารจัดการ ชั้นเรียน ผู้มีผลงาน ดีเด่น ที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ รับรางวัล ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) เหรียญเงิน (ได้เหรียญเงินทุกคน) ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ ระดับประเทศ ๑๕) รางวัลหนึ่งแสนครูดี ประจาปี ๒๕๕๕ จาก คุรุสภา


26


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.