Best ครูสมหวัง เครื่องประดิษฐ์

Page 1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice ชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการสู่ โครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั"นมัธยมศึกษาปี ที% 1

โดย นางสมหวัง เครื%องประดิษฐ์ ตําแหน่ ง ครู ชํานาญการพิเศษ

โรงเรียนวัดท่ านํา" ตืน" อําเภอ เมืองกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี สํ านักงานเขตพืน" ที%การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั"นพืน" ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ผลงานนวัตกรรม Best Practice 1. ชื อผลงาน BP ชุดฝึ กทักษะกระบวนการสู่ โครงงานวิทยาศาสตร์ การพัฒนาผลสัมฤทธิ# ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์ โดยใช้ชุดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 โรงเรี ยนวัดท่านํ*าตื*น กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ด้ าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื,อการเรี ยนการสอน 2. ข้ อมูลทัวไปของผู้พฒ ั นา BP 2.1 ชื,อผูพ้ ฒั นา BP นางสมหวัง เครื, องประดิษฐ์ 2.2 โรงเรี ยน วัดท่านํ*าตื*น เครื อข่ายส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น 2.3 โทรศัพท์ 082 – 2487226 e-mail somwhong32@hotmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP 3.1 เพื,อพัฒนาผลสัมฤทธิ#ทางการเรี ยนวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 3.2 เพื,อให้นกั เรี ยนนําทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ 3.3 เพื,อพัฒนาความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ 3.4 เพื,อปลูกฝังให้นกั เรี ยนมีเจตคติที,ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ, มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที,ใช้ในการพัฒนา BP) เริ, มต้นการพัฒนาปี การศึกษา 2554 - ปี การศึกษา 2555 ต่อยอดสู่ โครงงานวิทยาศาสตร์ 5. ความเชื อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่ าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา เพื,อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั*นพื*นฐาน มาตรฐานที, 4 ผูเ้ รี ยนมีความสามารถใน การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรองและมีวิสัยทัศน์ รวมทั*ง พัฒนานักเรี ยนด้านความรู ้ ทักษะกระบวนการและเจตคติ เพิ,มศักยภาพทางการเรี ยนอย่างต่อเนื,อง การจัด กิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ชุดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จะเป็ นพื*นฐานสู่ การเรี ยนรู ้แบบ โครงงานวิทยาศาสตร์ ที,ช่วยพัฒนาความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ของนักเรี ยน เป็ นไปตามจุดเน้นของ ผูเ้ รี ยนที,มีทกั ษะการคิด มีทกั ษะชีวติ มีคุณลักษณะใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน, ในการทํางาน รักการทํางาน มีจิตสาธารณะ 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทีนํามาใช้ ในการพัฒนา BP การจัด การเรี ยนรู ้ ต ามแนวของหลัก สู ต รการศึ ก ษาขั*น พื* น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 เป็ น กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ที,มุ่งเน้นประโยชน์สูงสุ ดที,จะเกิ ดแก่ผูเ้ รี ยน เป็ นแนวคิ ดที,มุ่งให้ผูเ้ รี ยนได้มี โอกาสคิดอย่างอิสระ เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิจริ งด้วยวิธีการที,หลากหลาย โดยครู เปลี,ยนบทบาทของตนเอง


2

จากผูใ้ ห้ความรู ้ ผูบ้ อกความรู ้ มาเป็ นผูท้ ี, ใ ห้การช่ วยเหลื อให้บริ การให้คาํ แนะนําแก่ ผูเ้ รี ย นในการใช้ กระบวนการคิดค้นหาความรู ้ ดว้ ยตนเอง ตลอดจนแก้ปัญหาด้วยตนเอง ครู เปลี,ยนบทบาทจากผูส้ อนมา เป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวก คือเป็ นผูเ้ ตรี ยมสถานการณ์ และสื, อการเรี ยนการสอน เพื,อให้ผูเ้ รี ยนใช้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง โดยสรุ ปก็คือ การจัดการเรี ยนการสอนที,เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญต้องมีการจัดการเรี ยนรู ้ ให้เหมาะสมกับศักยภาพของผูเ้ รี ยน และให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนอย่างมีความรู ้ เพื,อมุ่งสู่ ความเป็ นคนเก่ง และเป็ น คนดี จากเหตุผลดังกล่าวผูร้ ายงานจึงได้ทาํ การวิเคราะห์ผลการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ช* นั มัธ ยมศึ ก ษาปี ที, 1 จากการบันทึ ก หลัง สอนและผลสัม ฤทธิ# ทางการเรี ย นในปี การศึ ก ษา 2553 พบว่า ผลสัมฤทธิ# ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนยังไม่น่าพอใจ คือไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายที,กาํ หนด จากการวิเคราะห์ สาเหตุพบว่าครู ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ ที,ไม่คาํ นึ งถึ งความแตกต่างระหว่างบุคคลเท่าที,ควร นักเรี ยนขาด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที,นาํ ไปสู่ การเรี ยนรู ้ แบบโครงงานเพื,อพัฒนาความสามารถทางการ คิ ดวิเคราะห์ ของผูเ้ รี ยน ผูร้ ายงานจึ งจัดเนื* อหาและกิ จกรรมในชุ ดฝึ กเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนได้คิดและ แก้ปัญหาด้วยตนเอง สอดคล้องกับความสนใจ โดยให้นกั เรี ยนทดลองบ่อยๆ จะผิดจะถูกซึ, งครู จะคอย แนะนําและชี*แนะในข้อบกพร่ องของผูเ้ รี ยน การสร้ างชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยยึด หลักแนวคิด ทฤษฎี ดังนี* 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ ของธอร์ นไดค์ 1) กฎแห่งความพร้อม หมายถึง การเรี ยนรู ้จะเกิดขึ*นเมื,อบุคคลพร้อมที,จะกระทํา 2) กฎแห่ งผล หมายถึง กฎนี* เป็ นผลทําให้เกิดความพอใจ หากได้รับความพอใจจากผลการ ทํากิจกรรม ก็จะเกิดผลดีกบั การเรี ยนรู ้ทาํ ให้อยากเรี ยนรู ้เพิ,มมากขึ*นอีก 3) กฎแห่งการฝึ กหัด หมายถึง การฝึ กหัดให้บุคคลทํากิจกรรมต่าง ๆ นั*น ผูฝ้ ึ กจะต้องควบคุมและ จัดสภาพการให้ส อดคล้องกับ วัตถุ ประสงค์ของตนเอง การที, ผูเ้ รี ยนได้ฝึ กหัดหรื อกระทําซํ*าๆบ่ อยๆ ย่อมจะทําให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง การกระทําซํ*าจะทําให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี ดังนั*น ผูส้ ร้ างชุ ดฝึ กจึงจะต้องกําหนดกิ จกรรมตลอดจนคําสั,งต่าง ๆ ในแบบฝึ กให้ผูฝ้ ึ กได้ แสดงพฤติกรรมสอดคล้องกับจุดประสงค์ที,ผสู ้ ร้างต้องการ 2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ, งมีความเชื, อว่า สามารถควบคุมบุคคลให้ทาํ ตาม ความ ประสงค์หรื อแนวทางที, ก าํ หนดได้ เขาจึ งได้ท ดลองและสรุ ปได้ว่า บุ ค คลสามารถเรี ย นรู ้ ไ ด้ด้วยการ กระทํา โดยมีการเสริ มแรงเป็ นตัวการ เมื,อบุคคลตอบสนองการเร้ าควบคู่กนั ในช่ วงเวลาที,เหมาะสม สิ, ง เร้านั*นจะรักษาระดับหรื อเพิ,มการตอบสนองให้เข้มขึ*น 3. วิธีการสอนของกานิเย่ ซึ, งมีความเห็นว่าการเรี ยนรู ้มีลาํ ดับขั*น และผูเ้ รี ยนจะต้องเรี ยนรู ้เนื* อหา ที,ง่ายไปหายาก การสร้างแบบฝึ ก จึงควรคํานึงถึงการฝึ กตามลําดับขั*นจากง่ายไปหายาก 4. แนวคิ ด ของบลู ม ซึ, ง กล่ า วถึ ง ธรรมชาติ ข องผูเ้ รี ย นแต่ ล ะคนว่า มี ค วามแตกต่ า งกัน ผูเ้ รี ย น สามารถเรี ยนรู ้เนื*อหาในหน่วยย่อยต่าง ๆ ได้โดยใช้เวลาเรี ยนที,แตกต่างกัน


3

ดังนั*น การสร้ างชุ ดฝึ กจึงต้องมีการกําหนดเงื, อนไขที,จะช่ วยให้ผูเ้ รี ยนทุกคนสามารถผ่านลําดับ ขั*นตอนของทุ ก หน่ วยการเรี ยนได้ ถ้า นัก เรี ยนได้เรี ย นตามอัตราการเรี ยนของตน ก็ จะทํา ให้นัก เรี ย น ประสบความสําเร็ จมากขึ*น (สุ วิทย์ มูลคํา. 2550 : 54) จากหลักจิตวิทยาเกี,ยวกับการสร้างแบบฝึ ก ซึ, ง นักการศึกษาได้เสนอไว้ดงั กล่าว สรุ ปได้วา่ การสร้างแบบฝึ กเสริ มทักษะที,มีประสิ ทธิ ภาพนั*น ต้องสร้าง โดยคํานึ งถึ งหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ การใช้ภาษาและวิธีการฝึ กที,เหมาะสมกับความพร้ อม วัย และ ความสามารถของนักเรี ยน มี การดึ งดู ดความสนใจของผูเ้ รี ยน มี การกําหนดจุ ดประสงค์ของการฝึ กที, ชัดเจนรวมทั*งมีการประเมินผล โดยแจ้งผลความก้าวหน้าในการฝึ กให้นกั เรี ยนทราบทันทีทุกครั*ง 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนํา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกียวกับประเภทและจํานวนกลุ่มเป้าหมาย) นักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 โรงเรี ยนวัดท่านํ*าตื*น ปี การศึกษา 2554 จํานวน 25 คน 7.2 ขัHนตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขัHนตอนการพัฒนา)


4

ขัHนตอนการพัฒนานวัตกรรม ชุดฝึ กทักษะกระบวนการสู่ โครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาสภาพปั ญหาการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 หาแนวทางแก้ไขโดยใช้(นวัตกรรม)

วิเคราะห์หลักสู ตรแกนกลางหลักสู ตรสถานศึกษา,มาตรฐาน,ตัวชี*วดั

ศึกษารู ปแบบ แนวคิด ทฤษฎีชุดฝึ กทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เป้าหมาย - นักเรี ยนมีทกั ษะฯ สู่ โครงงานวิทยาศาสตร์ - นักเรี ยนมีทกั ษะ การคิดวิเคราะห์ - นักเรี ยนมีความรู ้ กระบวนการ เจตคติ - พัฒนาผลสัมฤทธิ# ทางการเรี ยน

สร้างชุดฝึ กทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ (เล่ม)

เขียนโครงสร้าง

เสนอผูเ้ ชี,ยวชาญตรวจสอบ

ทดลองใช้กบั นักเรี ยน ม. 1 แบบหนึ,งต่อหนึ,ง แบบกลุ่มเล็ก แบบภาคสนาม

ปรับปรุ งแก้ไขชุ ดฝึ กฯ

ให้ผเู ้ ชี,ยวชาญตรวจสอบและปรับปรุ งแก้ไข

นําไปใช้จริ งกับกลุ่มเป้ าหมาย

ต่ อยอด

ชุดกิจกรรมโครงงาน วิทยาศาสตร์


5

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพทีได้ ) 1. ตรวจสอบคุณภาพชุ ดฝึ กโดยผูเ้ ชี,ยวชาญจํานวน 5 ท่าน 2. การหาค่าประสิ ทธิ ภาพของชุดฝึ กเท่ากับ 83.35/83.02และมีประสิ ทธิ ผลเท่ากับ 0.60 3. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ# ทางการเรี ยนระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน มีนยั สําคัญที,ระดับ 0.05 4. การใช้แบบสอบถาม สอบถามความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที,เรี ยนรู ้โดยใช้ชุดฝึ ก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 80 7.4 แนวทางการนํา BP ไปใช้ ประโยชน์ 1. นําไปใช้กบั การจัดการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ช* นั ม. 1 2. นําไปใช้กบั การจัดการเรี ยนรู ้เสริ มให้กบั นักเรี ยนในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ช* นั อื,นๆ 3. นําไปให้นกั เรี ยนศึกษาด้วยตนเองเพื,อเป็ นพื*นฐานสู่ การทําโครงงานวิทยาศาสตร์ ต่อไป 4. เผยแพร่ แก่เพื,อนครู ท* งั ในและนอกสถานศึกษา 8. ผลสํ าเร็จทีเกิดขึนH จากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ ของ BP) 8.1 ผลสํ าเร็จเชิ งปริมาณ 1. นักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 มีผลสัมฤทธิ#ทางการเรี ยนเกี,ยวกับทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เพิ,มขึ*นร้อยละ 60 2. นักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 มีผลสัมฤทธิ#หลังเรี ยนร้อยละ 83.02 8.2 ผลสํ าเร็จเชิ งคุณภาพ 1. การจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ โดยใช้ชุดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สู่ กระบวนการ เรี ยนรู ้แบบโครงงานที,เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื,อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักเรี ยนชั*น ม.1 และนักเรี ยนมีผลการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชั*น ม.1-3 ได้เหรี ยญทอง ระดับเขตเหรี ยญเงิ นระดับภาค จังหวัดระยอง และผลการแข่งขันอัจฉริ ยภาพทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั*น ม.1-3 ได้เหรี ยญทองระดับเขต 2. นําผลงานมายึดถือเป็ นแบบอย่างได้ ส่ งผลสัมฤทธิ# ต่อการเรี ยนของนักเรี ยน การจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ กลุ่ มสาระวิทยาศาสตร์ ได้ส่งเสริ มให้นักเรี ยนมี การศึ กษาค้นคว้า ข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีการทําชุ ดฝึ กทักษะ 13 ทักษะ(13 เล่ม)แต่ละทักษะ มี 6 แบบฝึ ก และชุ ดกิจกรรม การทําโครงงาน 10 ชุ ด ทั*ง 2 ผลงานจะต่อเนื, องกันซึ, งเป็ นกระบวนการเรี ย นรู ้ ที,หลากหลาย ช่ วยให้ นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ เนื* อหาวิชา ฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึ กกระบวนการคิดและแสวงหา ความรู ้ ดว้ ยการปฏิ บตั ิจริ ง อย่างมีระบบ ทําให้นกั เรี ยนมีเจตคติที,ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ช่วยให้การเรี ยน วิทยาศาสตร์ มีประสิ ทธิ ภาพขึ*นส่ งผลให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ# ทางการเรี ยนพัฒนาขึ*น เป็ นกิ จกรรมการ


6

เรี ยนรู ้ ที,สนองนโยบายการปฏิ รูปการศึ กษาและยังได้รับรางวัลการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ การ แข่งขันอัจฉริ ยภาพทางวิทยาศาสตร์ 3. นักเรี ยนมีเจตคติที,ดีต่อการเรี ยนวิทยาศาสตร์ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกียวข้ องต่ อ BP (ระบุค่าร้ อยละของความพึงพอใจจากผู้เกียวข้ องและวิธีการ ได้ มาเกียวกับข้ อมูลความพึงพอใจ) 1. จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมมีค่าเฉลี,ยเท่ากับ 4.02 ค่าเบี,ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79 คิดเป็ นร้อยละ 80 อยูใ่ นระดับมาก 8.4 ปัจจัยความสํ าเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์ เรี ยนรู้ จากการนํา BP ไปใช้ 1. ครู ผสู ้ อนวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนและสาเหตุของปั ญหาได้ถูกต้องเพื,อให้สามารถจัดการเรี ยนรู ้ ที,เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน และครู มีความมุ่งมัน, ปรับการเรี ยนเปลี,ยนการสอน 2. ผูเ้ ชี,ยวชาญให้คาํ ชี*แนะ ช่วยเหลือในการพัฒนางาน 3. ได้รับความร่ วมมือจากนักเรี ยนชั*นมัธยมศึกษาปี ที, 1 4. ได้รับความร่ วมมือจากผูบ้ ริ หารและคณะครู ในโรงเรี ยน 9. กระบวนการตรวจสอบซํHาเพือพัฒนาปรับปรุ ง BP ให้ เกิดผลดีอย่ างต่ อเนือง 9.1 วิธีการตรวจสอบซํHา BP เมื,อนํามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนกับนักเรี ยนชั*น ม. 1 ปี ถัดมาได้บนั ทึกและ วิเคราะห์ผลการเรี ยนทุกครั*ง แล้วทําการปรับปรุ งพัฒนาข้อบกพร่ อง โดยกระบวนการวิจยั และต่อยอด การทําโครงงานวิทยาศาสตร์ 9.2 ผลการตรวจสอบซํHาเพือการพัฒนาและปรับปรุ ง BP นักเรี ยนมีผลการเรี ยนความแตกต่างจากก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที,ระดับ 0.05 จึงถือได้ ว่าชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จึงเป็ นเครื, องมือที, สามารถทําให้นกั เรี ยนพัฒนาตนเองได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 10. การประชาสั มพันธ์ ผลสํ าเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้ าง (ระบุวันเวลา และรู ปแบบ/ วิธีการประชาสั มพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) 1. งานศิลปหัตถกรรมครั*งที, 62 ที,โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้า กาญจนบุรี 2. เผยแพร่ เอกสารแผ่นพับ 3. เผยแพร่ ผลงานให้แก่เพื,อนครู ในโรงเรี ยนและโรงเรี ยนกลุ่มเครื อข่ายและผูม้ าศึกษาดูงาน 4. เผยแพร่ ผลงานเป็ น Coaching ให้ครู โรงเรี ยนบ้านหนองสองตอน 5. นักเรี ยนที,ได้เรี ยนรู ้จากชุดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทาํ ให้นาํ ไปสู่ การทํา


7

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประสบผลสําเร็ จจนได้เป็ นตัวแทนเขตพื*นที,ไปแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ในระดับภาคงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนครั*งที, 62 ปี การศึกษา 2555 ณ จังหวัดระยอง ได้รับรางวัล เหรี ยญเงิน ผูส้ ่ งผลงาน (นางสมหวัง เครื, องประดิษฐ์) ผูใ้ ห้ความเห็นชอบ (นายชัชชน ทองแย้ม ) ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนวัดท่านํ*าตื*น


8

ภาคผนวก


9

ชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จํานวน 13 เล่ ม (13 ทักษะ)

แต่ ละชุ ด (ทักษะ) มี 6 แบบฝึ ก


10

ชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชุ ดที 4 การคํานวณ


11

ชุ ดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ 10 เล่ มและคู่มือการใช้


12

นักเรี ยนทําแบบฝึ กแต่ ละชุ ดโดยการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง


13

นักเรี ยนศึกษาชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ให้ เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน

นักเรี ยนนําทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ ทาํ โครงงาน (นําความรู้ มาต่ อยอด)


14

นักเรี ยนทําโครงงานทํานําH ยาลบหมึกปากกาไวท์ บอร์ ด (นําความรู้ มาต่ อยอด)

ผลสํ าเร็จเชิ งคุณภาพ รางวัลเหรียญเงิน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชัH น ม. 1- 3 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ครัHงที 62 ปี 2555 ภาคกลางและตะวันออก ณ จังหวัด ระยอง


15

การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชัH น ม. 1- 3

นักเรี ยนทําโครงงานเทียนสมุนไพรไล่ ยุง (นําความรู้ มาต่ อยอด)


16

นักเรี ยนทําโครงงานเทียนสมุนไพรไล่ ยุง (นําความรู้ มาต่ อยอด)


17

แสดงผลงานร่ วมกับกลุ่มเครื อข่ ายฯ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ปี 2555 ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้ า กาญจนบุรี


18

เผยแพร่ ผลงานเป็ น Coaching ให้ ครู โรงเรียนบ้ านหนองสองตอน


19

ผลสํ าเร็จเชิ งคุณภาพ

รางวัลเหรียญทอง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชัH น ม.1- 3 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ปี 2555 ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้ า กาญจนบุรี

รางวัลเหรียญทอง กิจกรรม อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ ระดับชัH น ม.1- 3 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ปี 2555 ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้ า กาญจนบุรี


20

ผลสํ าเร็จเชิ งคุณภาพ

รางวัลเหรียญเงิน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชัH น ม. 1- 3 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ครัHงที 62 ปี 2555 ภาคกลางและตะวันออก ณ จังหวัด ระยอง


21

ตัวอย่ างนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์


ชุ ดฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชุ ดที 12 เรือง การทดลอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั$นมัธยมศึกษาปี ที 1

นางสมหวัง เครืองประดิษฐ์ ตําแหน่ ง ครู ชํานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดท่ านํา$ ตืน$ สํ านักงานเขตพืน$ ทีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั$นพืน$ ฐาน



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.