BP นายภูมิพัฒน์ ภาคภูมิ ผอ.ร.ร.วัดกาญจนบุรีเก่า "อุดมราษฎร์วิทยา"

Page 1

การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

การบริหารสถานศึกษาด้วยจตุทา

“จตุทา Model”

ผู้อานวยการสถานศึกษายอดเยี่ยม

ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม

โรงเรียน น่าอยู่ คุณครู น่ารัก

นักเรียน น่าชม สังคม น่าภูมิใจ

นายภูมิพัฒน์ ภาคภูมิ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา”

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๑. ชื่อผลงาน BP การบริหารสถานศึกษาด้วย “จตุทา Model” ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา นายภูมิพัฒน์ ภาคภูมิ ผู้อานวยสถานศึกษา ๒.๒ โรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘-๙๘๓๖-๙๕๐๗ e- mail pum_pat@hotmail.com ๓. เป้าหมาย /วัตถุประสงค์ ๓.๑ เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารจัดการตามบริบทของโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์ วิทยา” ๓.๒ เพื่อพัฒนาโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ให้มีคุณภาพทั้งระบบ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา ๒๕๕๔ และปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๕. การเชื่อมโยง/สัมพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย / ของ สพฐ / สพท./ สถานศึกษา จุดเน้นของสพป. / สพฐ. /สถานศึกษา  พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัด

เป้าหมายของ BP  โรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า“อุดมราษฎร์

การศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมจากทุก

วิทยา”ใช้นวัตกรรม การบริหารอย่าง

ภาคส่วน

เป็นระบบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ได้นาแนวคิดหลักการ และทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา BP ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษาดังนี้ หลักและทฤษฎีการบริหารทั้งระบบ System Theory และวงจรคุณภาพ PDCA ของ เอ็ดเวิร์ด เดมมิ่ง


๒ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ ๗.๑.๑

กรณีศึกษา โรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่

การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ๗.๒.๑ วิเคราะห์องค์กรด้วยทฤษฎีระบบ โรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” เป็นโรงเรียนขนาดกลางสังกัดสานักงานเขต พืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยูท่ ี่ ๓๔๕ หมู่ที่ ๒ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองกาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี รหัสไปรษณีย์ ๗๑๑๙๐ Website : www.kankao.ac.th และ Facebook : kankao_sch@hotmail.com มีเนื้อที่ ๒๗ ไร ๑ งาน ๖๖ ตารางวา โดยจัดการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ตั้งแต่ การศึกษา ปฐมวัย ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที ๖ มีนักเรียน จานวน ๑๕๒ คน จากแนวคิดเชิงระบบประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต จึงนามาเป็นกรอบแนวคิดใช้ดาเนินงานตั้งแต่เริ่มเป็นผูบ้ ริหารสถานศึกษา และประสบการณ์ในการ บริหารจัดการ ๑๐ ปีการศึกษาจึงประยุกต์เป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการ บริหารจัดการสถานศึกษา และวิเคราะห์โรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” โดยศึกษา จากสถานการณ์จริง จากการสังเกต การสัมภาษณ์ สอบถาม และศึกษาเอกสารต่างๆ ของโรงเรียน พบปัญหาต่างๆ ที่สาคัญดังนี้ ๑) สภาพแวดล้อมภายนอก

Context

สภาพชุมชนโดยรอบของโรงเรียนเป็นชุมชนผสมผสานระหว่างครอบครัวใหญ่ และครอบครัวใหม่อยูร่ ะหว่าง กึ่งชุมชนเมืองกับชุมชนชนบทนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในครอบครัวใหม่ ซึ่งไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ นักเรียนขาดการดูแลเอาใจใส่ ขาดความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ขาดระเบียบวินัย รวมถึง คุณธรรมจริยธรรม ขาดความรักโรงเรียน รวมถึงปัญหายาเสพติดที่เกิดขึน้ ในครอบครัว ผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในเมืองใหญ่ทิ้งลูกหลานให้อยู่กับ ปู่ย่า ตายาย มากกว่าร้อยละ ๘๐ และ ประกอบอาชีพรับจ้างในชุมชน รายได้ส่วนใหญ่ต่ากว่า ๔๐,๐๐๐ บาท มีจานวนถึงร้อยละ ๖๐ และ ภาพรวมผู้ปกครองนักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อโรงเรียน โดยผู้ที่มีความพร้อมในการช่วยเหลือย้าย นักเรียนออกไปเรียนที่อื่น จึงส่งผลให้การระดมทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนสถานศึกษาในด้านต่างๆ


๓ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๒) ปัจจัยนาเข้า

Input

โรงเรียนขาดแหล่งเรียนรู้ที่เอือ้ ให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริงการจัดการเรียน การสอนไม่เต็มประสิทธิภาพ ขาดทิศทางในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากไม่มีผู้บริหารจานวน ๒ ปีการศึกษา การจัดการศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาไม่มากนัก ผู้ปกครอง ชุมชนมีทัศนคติไม่ดตี ่อโรงเรียนโดยเฉพาะด้านบุคลากรภายในโรงเรียน ผู้ปกครองมีความคาดหวังการจัดการเรียนการสอนสูงจึงส่งผลให้มีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ เรียนการสอนเป็นเรื่องหลัก ๓) ด้านกระบวนการ

Process

มีการจัดทาโครงสร้างในการดาเนินงานของสถานศึกษาตามกรอบของการบริหาร โรงเรียนนิติบุคคล คือ การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคลากร และการ บริหารงานทั่วไป ซึ่งบางกลุ่มงานมีภาระงานชัดเจนแต่ขาดการนาปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ทาให้การบริหารไม่เต็มประสิทธิภาพ มีความขัดแย้ง ขาดการยอมรับของบุคลากรภายในโรงเรียน ภาพรวมคนในองค์กรยังไม่รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของการจัดการศึกษาตามสถานการณ์ตามสังคม ยุคปัจจุบัน การบริหารส่วนใหญ่ขาดความเป็นเอกภาพ และความเสมอภาค ขาดการจัดการตามระบบ ธรรมาภิบาล ผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉพาะ O-Net ต่ามาก บางส่วนขาดการเอาใจใส่ ของครูพฤติกรรมจึงไม่เป็นไปตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๔) ด้านผลิต

Output จากการศึกษาข้อมูลโดยภาพรวม นักเรียนโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์

วิทยา” ไม่เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง มีปัญหาด้านการอ่านออก เขียนได้ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และผลสัมฤทธิ์ต่าทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ ขาดทักษะกระบวนการคิด กระบวนการทางาน ซึ่ง โรงเรียนมีกจิ กรรมและโครงการมากกว่า ๔๐ โครงการแต่ไม่สนองต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูและ บุคลากร และผู้ปกครอง มีความพึงพอใจในการบริหารจัดการโรงเรียนน้อย ๗.๒.๒ การออกแบบนวัตกรรม จากการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการจึงนามาซึ่งการออกแบบนวัตกรรม “การบริหาร สถานศึกษาด้วย จตุทา Model” พัฒนาโดยใช้กระบวนการ PDCA ให้ทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการ ออกแบบนวัตกรรมจัดทาตามกรอบแนวคิด ดังนี้


๔ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๑) สารวจปัญหาและความต้องการของ คณะกรรมการสถานศึกษา ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน และนามาจัดลาดับความสาคัญ ตามความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนวัด กาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา”เพื่อนามากาหนดประเด็นในการออกแบบ ๒) ขั้นวางแผน Plan เป็นการวางแผนออกแบบนวัตกรรม และดาเนินกิจกรรมตาม สภาพปัญหาและความต้องการ จากแนวคิดการบริหารเชิงระบบ และวงจรเดมมิ่งซึ่งวิเคราะห์ภาพรวม เชิงระบบ และใช้กระบวนการบริหารด้วย PDCA ให้เหมาะสม และมีความเป็นไปได้ตามบริบทของ โรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” โดยอาศัยหลักการร่วมคิด ร่วมทา และพาทา ของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง จึงเป็นที่มาของ “จตุทา Model” ๓) ขั้นดาเนินการ DO เป็นการดาเนินการตามที่ได้ออกแบบไว้ ๔ ประการ คือ ทาโรงเรียนให้น่าอยู่ ทาคุณครูให้น่ารัก ทานักเรียนให้น่าชม ทาสังคมให้น่าภูมใิ จ ๔) ขั้นตรวจสอบ Check เป็นการประเมินผล และตรวจสอบการดาเนินการด้านการ บริหารจัดการโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา”จากการใช้นวัตกรรม จตุทา Model ซึ่งประเมินคุณภาพผู้เรียนรายสาระการเรียนรู้ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๕) ขั้นปรับปรุง Action เป็นการนาผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนและโรงเรียนทั้งระบบ มาพิจารณา และวิเคราะห์หาจุดที่ควรปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนากระบวนการใช้นวัตกรรม จตุทา Model ให้สมบูรณ์ และนาไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตลอดจนการพัฒนานวัตกรรมอย่างยั่งยืน


๕ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

กรอบแนวคิดในการพัฒนา “การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model”

วิเคราะห์โรงเรียนทั้งระบบ สภาพปัญหาความต้องการตามบริบท

สภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต

วางแผนออกแบบนวัตกรรมและดาเนินการ

Plan

โรงเรียน น่าอยู่

คุณครู น่ารัก

จตุทา Model

Do

นักเรียน น่าชม สังคม น่าภูมิใจ

สภาพแวดล้อมและ แหล่งเรียนรู้ -ภายในห้องเรียน -ภายนอกห้องเรียน

กระบวนการสอน -การออกแบบการสอน

-สื่อเทคโนโลยี -การวัดผล -การวิจัยชั้นเรียน

คุณภาพผู้เรียน -คุณลักษณะที่พึงประสงค์ -ผลสัมฤทธิ์รายสาระ -การอ่าน และคิดคานวณ

คุณภาพของโรงเรียนทั้งระบบ

การมีส่วนร่วม -วางแผน -ดาเนินการ -ตรวจสอบ -ปรับปรุง

Check

ใช่ ปรับปรุง

ไม่ใช่ พัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง และเผยแพร่

การบริหารโรงเรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มุ่งสู่มคุณภาพโรงเรียนดีประจาหมู่บ้าน

Action


๖ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๗.๒.๓ ขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนา การดาเนินงานพัฒนานวัตกรรม การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model ดาเนินการ ตามกระบวนการ PDCA และมีกระบวนการ ๗ ขั้นตอนคือ ๑. วิเคราะห์โรงเรียนทั้งระบบ ๒. คิดคบหลักจตุทา ๓. ตั้งธงนาการพัฒนา ๔. จัดหาโครงการลงสูแ่ ผน ๕. แนะนาแทนการประเมิน ๖. สรุปประเมิน รายงานผลการพัฒนา ๗. ภูมิใจในคุณค่าด้วยการปรับปรุง ขั้นที่ ๑ วิเคราะห์โรงเรียนทั้งระบบ Plan ๑) จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง คณะครู เพื่ออภิปรายในประเด็น ปัญหาความต้องการในการพัฒนาโรงเรียนและ เก็บข้อมูลโดยการเยี่ยมบ้านผูป้ กครองในเขต หมู่ ๒ และหมู่ ๖ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองกาญจนบุรี ๒) แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน กาหนดภาระงาน และบทบาทหน้าที่ตามกรอบ แนวคิดทฤษฏีระบบ system theory ตามบริบทของโรงเรียน คือ สภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจัย กระบวนการ และ ผลผลิต ๓) สารวจสภาพปัญหาและความต้องการโดยอาศัยการมีส่วนร่วม ของครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานด้วยการสอบถาม และการประชุม เพื่อระดมความคิดเห็น ๔) ออกแบบ และวางแผนการพัฒนานวัตกรรม จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์จากข้อมูล เพื่อกาหนดเป็นกรอบในการพัฒนานวัตกรรม ขั้นที่ ๒ คิดคบหลักจตุทา Plan ออกแบบนวัตกรรมที่กาหนดไว้โดยการมีส่วนรวมของคณะกรรมการสถานศึกษา คณะ ครูร่วมดาเนินการได้แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” เพื่อทา ให้เป็นโรงเรียนดีประจาหมู่บ้าน คือรูปแบบการบริหารสถานศึกษา จตุทา Model ซึ่งประกอบด้วยการ บริหารตามกรอบ ๔ ประการ ๑) ทาโรงเรียนให้น่าอยู่ หมายถึงการทาสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ แหล่งเรียน ทั้งภายในห้องเรียนและภายนอกห้องเรียนให้เอือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างแท้จริง


๗ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๒) ทาคุณครูให้น่ารัก หมายถึง พัฒนาครูและบุคลกรให้มีศักยภาพในด้าน การจัดการเรียนการสอน การออกแบบการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อและนวัตกรรม การวัดผลและ ประเมินผล และการพัฒนาผู้เรียนด้วยการวิจัยในชั้นเรียน ๓) ทานักเรียนให้น่าชม หมายถึง การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามกรอบ ๓ ร. ได้แก่ ร. ตัวแรก คือ รู้สึก สร้างให้ผู้เรียนเกิดความรูส้ กึ ด้านจิตใจมีความรักในความรู้ มีทัศนคติที่ดีต่อครู และโรงเรียน ร. ตัวที่สอง คือ รู้เรื่อง สร้างให้ผู้เรียนอ่านคล่อง เขียนคล่อง มีความรู้ ตามกลุม่ สาระการเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร. ตัวที่สาม คือ รู้จริง สร้าง ให้ผู้เรียน มีทักษะในการปฏิบัตหิ น้าที่ที่รับมอบหมายได้ดว้ ยตัวเอง และมีทักษะในการค้นความหา ความรูไ้ ด้ด้วยตนเอง ๔) ทาสังคมให้น่าภูมใิ จ หมายถึง การพัฒนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชนแวดล้อมของ โรงเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน ด้วยการร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วมตรวจสอบ และปรับปรุงพัฒนา ขั้นที่ ๓ ตั้งธงนาการพัฒนา Plan การตั้งธงนาการพัฒนาหมายถึง การกาหนดให้ทุกฝ่ายทั้งคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน นามาบูรณาการกับหลักจตุทา ใช้เป็นกรอบแนวคิดในการ บริหารจัดการ ขั้นที่ ๔ จัดหาโครงการลงสูแ่ ผน Do กาหนดให้มีคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติราชการประจาปี และคณะครูปฏิบัตหิ น้าที่การสอน งานสนับสนุนการสอน และจัดทาโครงการรองรับตามรูปแบบจตุทา เพื่อการดาเนินงานภายในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ ขัน้ ที่ ๕ แนะนาแทนการประเมิน กาหนดให้มี คณะกรรมการนิเทศติดตามแบบกัลยาณมิตร เพื่อแนะนาการดาเนินงาน ตามโครงการที่กาหนด โดยมีกจิ กรรมหลัก เช่น พบครูทุกวันจันทร์ เยี่ยมห้องเรียน นิเทศ ๑๐๐ % เน้นการประเมินตนเองตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นที่ ๖ สรุปประเมิน รายงานผลการพัฒนา Check กาหนดให้มีคณะครูประเมินตนเอง และจัดทารายงานตนเอง และคณะกรรมการ ประเมินแผนพัฒนาคุณภาพประจาปี ตามกรอบจตุทาโรงเรียนรายงานผลการดาเนินงานประจาปี ต่อหน่วยงานต้นสังกัด และชุมชนด้วยการประชุมเอกสารประชาสัมพันธ์ และ เว็บไซด์ รวมทั้ง จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการโรงเรียน ขั้นที่ ๗ ภูมิใจในคุณค่าด้วยการปรับปรุง Action คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู บุคลากร และผู้ปกครองร่วมประชุมวิเคราะห์ผล การดาเนินงานในรอบปีการศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุ๘รีเก่า

๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP เป็นการประเมินผลและตรวจสอบการดาเนินงาน และการบริหารโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” จากการใช้นวัตกรรม จตุทา Model ซึ่งประเมินคุณภาพโรงเรียน ๔ ด้านด้วย วิธีการที่หลากหลายตามกรอบดังนี้ จตุทา Model

สภาพแวดล้อมและ แหล่งเรียนรู้ -ภายในห้องเรียน -ภายนอกห้องเรียน

กระบวนการสอน -การออกแบบการสอน

-สื่อเทคโนโลยี -การวัดผล -การวิจัยชั้นเรียน

คุณภาพผู้เรียน -คุณลักษณะที่พึงประสงค์ -ผลสัมฤทธิ์รายสาระ -การอ่าน และคิดคานวณ

การมีส่วนร่วม -วางแผน -ดาเนินการ -ตรวจสอบ -ปรับปรุง

๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๗.๔.๑ จัดทาคู่มือการใช้เพื่อเป็นแนวทางใช้บริหารสถานศึกษาโดยกาหนดรายละเอียดใน การดาเนินงานตาม หลักจตุทา Model ๘. ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ จากผลการพัฒนานวัตกรรม การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model และนาไปใช้บริหาร จัดการโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” และรายงานผลตามกรอบ ทาโรงเรียนให้น่าอยู่ ทาคุณครูให้น่ารัก ทานักเรียนให้น่าชม และทาสังคมให้น่าภูมใิ จ ดังนี้ ๘.๑.๑ ทาโรงเรียนให้น่าอยู่

ภาพรวมโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า มีพนื้ ที่กว้างส่วนใหญ่พนื้ ที่

โดยรอบอาคารเรียนอาคารประกอบเป็นพืน้ ที่ว่างขาดการจัดการอย่างต่อเนื่องอาคารเรียนอาคาร ประกอบมีจานวนมากขาดการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันแหล่งเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ขาดการจัดระบบให้บริการผู้เรียน หลังจากใช้การบริหารสถานศึกษาด้วยจตุทาภาพรวมโรงเรียนมี ความสะอาดร่มรื่น สวยงาม เอือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์นอกห้องเรียน ได้รับการปรับปรุงและพัฒนาเต็มบริเวณโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนได้รับ การปรับปรุงเหมาะสาหรับการจัดการเรียนรู้และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บรรยากาศภายในห้องเรียน มีการเปลี่ยนแปลงสอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกห้องเรียนมากขึน้ ๘.๑.๒ ทาคุณครูให้น่ารัก

ภาพรวมของครูและบุคลากร ขาดความเชื่อมั่นในการ

จัดการเรียนการสอน ขาดผู้นาในการทางาน สอนไม่ตรงกับความรู้ความสามารถ มีความขัดแย้ง


๙ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

ระหว่างบุคคล ในองค์กร บรรยากาศการทางานไม่เป็นธรรมชาติ งานมีระบบแต่ไม่สมบูรณ์ หลังจาก การใช้การบริหารสถานศึกษาด้วยจตุทา ครูและบุคลากรมีสมรรถนะในการทางานสูงขึน้ มีความรัก และสามัคคีเอือ้ เฟื้อเผื่อแผ่ทางวิชาการการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนเต็มศักยภาพ ๘.๑.๓ ทานักเรียนให้น่าชม ภาพรวมนักเรียนโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ขาดระเบียบวินัย และมารยาทที่เหมาะสมกับวัย ผู้เรียนมีอัตราการอ่านออกเขียนได้ค่อนข้างต่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า โดยเฉพาะผลการทดสอบ O-NET และ NT ต่ามากทาให้การประเมิน ภายนอกตัวบ่งชีท้ ี่ ๕ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน หลังจากใช้การบริหารสถานศึกษาด้วยจตุทาผู้เรียนมีความ เป็นระเบียบวินัย มีมารยาท และมีความรักและสามัคคีในหมู่คณะมากขึน้ อัตราการอ่าน และการคิดคานวณดีขนึ้ โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบ ระดับชาติ O-NET พัฒนาสูงขึน้ ตามลาดับส่งผลให้มคี ะแนนรวมสูงกว่าขีดจากัดล่างในภาพรวมของ โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๘.๑.๔ ทาสังคมให้น่าภูมใิ จ

ภาพรวมความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง

ชุมชน ขาดการเปิดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน การให้ความร่วมมือน้อย มีทัศนคติที่ไม่ดีกับการจัดการเรียนการสอน หลักจากการใช้การบริหารสถานศึกษาด้วยจตุทาโรงเรียน ได้รับความร่วมมือให้การสนับสนุนและส่งเสริมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนด้วยดีและต่อเนื่อง มีทัศนคติที่ดีต่อการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสูงขึน้ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ การพัฒนาโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ภาพรวมของ โรงเรียนน่าอยู่ คุณครูน่ารัก นักเรียนน่าชม และสังคมน่าภูมใิ จ ส่งผลให้การยอมรับในการจัดการศึกษาสูงขึน้ ทั้งใน ระดับชุมชนและหน่วยงานต้นสังกัด โดยมีผลงานด้านวิชาการที่ได้รับรางวัลทั้ง ด้านโรงเรียน ผู้บริหาร ครูและบุคลากร นักเรียน ทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค ระดับเขตพืน้ ที่ โดยเฉพาะ ด้านผู้เรียนมีผล การทดสอบระดับชาติ O-NET สูงขึน้ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และผ่านการประเมินภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องของโรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” คือ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เป็นตัวชีวัดผลการดาเนินงานของโรงเรียนที่สาคัญ จากการใช้การบริหาร สถานศึกษาด้วยจตุทา ทาให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการและ การจัดการศึกษาของโรงเรียนเพิ่มสูงขึน้ โดยสรุปเป็นภาพรวมความสาเร็จหลังจากการใช้การบริหาร สถานศึกษาด้วยจตุทา ได้ดังนี้


๑๐ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

ผู้เรียน มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม มีความรักโรงเรียน รักการอ่าน ค้นคว้าหาความรู้ สามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะด้านการอนุรักษ์สืบสานวิถีไทย วัฒนธรรมไทย นาเสนอผลงานต่อสาธารณะได้ และตั้งมั่นในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ครู มีทักษะในการจัดการเรียนการสอน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความรักสามัคคี ในหมู่คณะ ออกแบบจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรม ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมาะสมกับผู้เรียนมีความ กระตือรือร้น เอาใจใส่ผู้เรียนดูแลผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพ ผู้บริหาร เป็นผูน้ าการเปลี่ยนแปลง ให้ความเสมอภาคเพื่อสร้างความเอกภาพในโรงเรียน และดาเนินการบริหารจัดการด้วยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ชุมชน

ให้การยอมรับและมีทัศนคติที่ต่อโรงเรียนร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมและให้ความ

ไว้วางใจในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน คณะกรรมการ ผู้ปกครองและชุมชน ให้ความ ร่วมมือในการดาเนินการบริหารจัดการตามขั้นตอนการบริหารโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์ วิทยา” ด้วยจตุทา Model อย่างต่อเนื่อง ๘.๔.๒ การบริหารโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ด้วยจตุทา Model เป็นกรอบในการบริหารที่เป็นรูปธรรม สามารถปฏิบัตไิ ด้จริง ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ดาเนินการบริหารโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ด้วยจตุทา Model เต็มรูปแบบ ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ และนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุงBP ผลการตรวจสอบหลังการใช้รูปแบบ การบริหารสถานศึกษาด้วยหลักจตุทา “จตุทา Model” พบว่าโรงเรียนมีการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม มีคุณภาพ มีบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ปลอดภัย เอือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้ มีความเด่นด้านความรักความสามัคคีของครูและบุคลากรซึ่งเกิด จากการได้รับโอกาสให้ร่วมคิด ร่วมทาอย่างเสมอภาค และผู้เรียนมีศักยภาพด้านการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย และได้รับการสนับสนุนจากชุมชน และทุกภาคส่วน ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง ๑๐.๑ เผยแพร่ทาง Website ของโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ๑๐.๒ เผยแพร่ทาง Facebook ของโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” ๑๐.๓ เผยแพร่ทาง จุลสาร ของโรงเรียนวัดกาญจนบุรเี ก่า “อุดมราษฎร์วิทยา”


๑๑ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

ภาพถ่าย “การบริหารจัดการด้วยหลักจตุทา “จตุทา Model” ๑. ทาโรงเรียนให้น่าอยู่


๑๒ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๒. ทาคุณครูให้น่ารัก


๑๓ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๓. ทานักเรียนให้น่าชม


๑๔ การบริหารสถานศึกษาด้วย จตุทา Model โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า

๔. ทาสังคมให้น่าภูมิใจ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.