ผลงาน best practice ครูสุธีรา ท้าวเวชสุวรรณ

Page 1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice การพัฒนากล้ ามเนือ้ เล็ก โดยการสร้ างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การศึกษาปฐมวัย โดย

นางสุ ธีรา ท้ าวเวชสุ วรรณ ตาแหน่ ง ครูชานาญการพิเศษ

โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี อาเภอ เมืองกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice 1. ชื่อผลงาน BP การพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การศึกษาปฐมวัย ด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BP 2.1 ชื่อผูพ้ ฒั นา BP นางสุ ธีรา ท้าวเวชสุ วรรณ 2.2 โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี เครื อข่ายส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการศึกษาระดับ ปฐมวัย 2.3 โทรศัพท์ 085 – 2664651 e – mail Sutheera @ windowslive.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP 3.1 เด็กปฐมวัยสามารถพัฒนากล้ามเนื้อเล็กจากการย่นกระดาษได้ 3.2 เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ได้ 3.2 เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่ องเกี่ยวกับผลงานจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ได้ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ถึง กันยายน พ.ศ. 2556 5. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของสพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา เป็ นการเตรี ยมความพร้อมด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามหลักสู ตร การศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาด้านร่ างกาย โดยเฉพาะพัฒนากล้ามเนื้ อ มัดเล็กในการปั้ น การย่นกระดาษ พัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กพึงพอใจที่ได้ลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง เด็กๆมีความสุ ข พัฒนาด้านสังคม เด็กทางานร่ วมกับเพื่อนๆ ได้เข้าสังคมกับกลุ่มเพื่อน พัฒนาด้าน สติปัญญา การสร้างสรรค์ภาพและการเล่าเรื่ องเป็ นการส่ งเสริ มด้านสติปัญญา และการใช้วสั ดุเหลือ ใช้ เช่น หนังสื อพิมพ์ สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนาBP ทฤษฎีการเรียนรู้ ของบรู เนอร์ (Jerome S. Bruner) กระทรวงศึกษาธิการ(2549:18) บรู เนอร์ (1956) เป็ นนักจิตวิทยายุคใหม่ชาวอเมริ กนั คนแรกที่ สื บสานความคิดของเพียเจต์ โดยเชื่ อว่าพัฒนาการและการเรี ยนรู ้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายใน อินทรี ย ์ เน้นความสาคัญของสิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แวดล้อม เด็กจะพัฒนาได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่ กับประสบการณ์และสิ่ งแวดล้อมรอบตัวเด็ก เขาคิดว่าควรศึกษาตัวเด็กในชั้นเรี ยน บรู เนอร์ แบ่งขั้น พัฒนาการคิดในการเรี ยนรู ้เป็ น 3 ขั้นด้วยกัน ได้แก่ 1. ขั้นการกระทา เด็กเรี ยนรู้จากการกระทาและการสัมผัส


2 2. ขั้นคิดจินตนาการหรื อสร้างมโนภาพ เด็กเกิดความคิดจากการรับรู ้ตามความเป็ นจริ งและ การคิดจากจินตนาการ 3. ขั้นใช้สัญลักษณ์และความคิดรวบยอด เด็กเริ่ มเข้าใจเรี ยนรู ้ความสัมพันธ์ของสิ่ งต่างๆ รอบตัวและพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่ งที่พบเห็น 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้ าหมาย) นักเรี ยนชายและนักเรี ยนหญิงที่กาลังศึกษาชั้นอนุ บาลปี ที่ 1/4 โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี ปี การศึกษา 2556 จานวน 22 คน เป็ นนักเรี ยนชายจานวน 13 คน นักเรี ยนหญิงจานวน 9 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) การดาเนินการพัฒนา BP การพัฒนากล้ามเนื้ อเล็กโดยการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ เริ่ มจากการที่ผรู้ ับผิดชอบ สร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์เป็ นสื่ อใช้ประกอบการจัดประสบการณ์ เด็กๆสนใจมาก ประกอบกับเด็กปฐมวัยในชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 กล้ามเนื้อมัดเล็กยังไม่แข็งแรงมากนัก จึงนาการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์มาเป็ นนวัตกรรมพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก มีข้ นั ตอนการพัฒนาดังนี้ 7.2.1 ระดมความคิดการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ จากเด็กว่าจะทาอะไรได้บา้ ง เช่น การปั้ น การย่น การสร้างภาพ การประดิษฐ์ 7.2.2 เด็กปฐมวัยทดลองสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์โดยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การปั้ น การย่นกระดาษ การสร้างภาพ การประดิษฐ์ 7.2.3 นาผลงานของเด็กแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั ครู ปฐมวัยโรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี เพื่อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน และให้ผเู้ ชี่ยวชาญด้านการศึกษาปฐมวัย ตรวจสอบพร้อมคาแนะนา 7.2.4 ปรับปรุ งงานตามคาแนะนา เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็กปฐมวัย ในการ สร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ 7.2.5 เด็กปฐมวัยสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ในกิจกรรมสร้างสรรค์ เด็กปฐมวัยสามารถ สร้างภาพโดยการปั้ น การย่น การสร้างภาพ การประดิษฐ์ได้ตามวัย เล่าเรื่ องจากผลงาน 7.2.6 นามาขยายผล หรื อเผยแพร่ ให้กบั ครู ปฐมวัยและครู ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู สาขา การศึกษาปฐมวัย ในโรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี ตลอดจนครู ปฐมวัยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


3

แผนภูมขิ ้นั ตอนการพัฒนา BP

การสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์

ระดมความคิดจากเด็กปฐมวัย

เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 ทดลองสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ ด้วยวิธีที่หลากหลาย ได้แก่ การปั้ น การย่น การสร้างภาพ การประดิษฐ์

นาผลงานของเด็กให้คณะครู ปฐมวัย โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี และผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบ เพื่อขอคาแนะนา และนามาปรับปรุ ง

เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 ช่วยกันสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ โดยการปั้ น การย่น การสร้างภาพ การประดิษฐ์ เล่าเรื่ องจากผลงาน

เผยแพร่ สู่ครู ปฐมวัย/ครู ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี และครู ปฐมวัย สพป.กจ.เขต1


4

แผนภาพการสร้ างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์

การสร้างภาพ จากหนังสื อพิมพ์

ระดมความคิดจากเด็ก

ปั้ น

สร้างภาพ

ผลงานภาพ

ย่น

สร้างภาพ

ผลงานภาพ


5 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) 7.3.1 วิธีการตรวจสอบคุณภาพการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ โดยใช้แบบสอบถาม ความพึงพอใจของเด็กปฐมวัย ผลการตรวจสอบคุณภาพความพึงพอใจที่ได้ คิดเป็ นร้อยละ 90 อยูใ่ นระดับดีมาก 7.3.2 ตรวจผลงานการสร้างภาพกระดาษหนังสื อพิมพ์ภายในระยะเวลา 1 ชัว่ โมง 7.3.3 นาเสนอผลงานการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ ให้ครู ปฐมวัยและผูเ้ ชี่ยวชาญ ตรวจสอบและแสดงความคิดเห็น 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ 7.4.1 เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ได้ตามวัย 7.4.2 เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ ทั้งรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม 7.4.3 เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนากล้ามเนื้ อมัดเล็ก 7.4.4 ครู ปฐมวัยสามารถผลิตสื่ อ นวัตกรรม โดยการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ ใช้ ประกอบการจัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรี ยนรู ้ 8. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP (เปรี ยบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็ จเชิงปริ มาณ 8.1.1 เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ได้ทุกคนคิดเป็ นร้อยละ 92.00 8.1.2 เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่ องจากผลงานได้ทุกคน คิดเป็ นร้อยละ 95.00 8.1.3 เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กทุกคน คิดเป็ นร้อยละ 93.00 8.2 ผลสาเร็ จเชิงคุณภาพ 8.2.1 เด็กปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ได้ในระดับ ดีมาก 8.2.2 เด็กปฐมวัยสามารถพัฒนากล้ามเนื้ อมัดเล็กโดยการย่น / ปั้ นกระดาษ ได้ระดับดีมาก 8.2.3 เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่ องจากผลงานการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ได้ระดับ ดีมาก 8.3 ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผูเ้ กี่ยวข้องและวิธีการ ได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ)

ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องต่อ BP เด็กปฐมวัยคิดเป็ นร้อยละ 90 ครู ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ คิดเป็ นร้อยละ 95 ครู ปฐมวัยพึงพอใจคิดเป็ นร้อยละ 95 วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ โดยการสอบถามความพึงพอใจ 8.4 ปัจจัยความสาเร็ จของการพัฒนา BP /ประสบการณ์เรี ยนรู้จากการนา BPไปใช้ 8.4.1 เด็กปฐมวัยมีความสนใจการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์และเล่าเรื่ องได้ทุกคน 8.4.2 ครู ปฐมวัยสามารถนากระดาษหนังสื อพิมพ์มาให้ใช้เป็ นวัสดุในการสร้างภาพได้ 8.4.3 ครู ปฐมวัยสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์และเป็ นวิทยากรได้ทุกคน


6 9. กระบวนการตรวจสอบซ้า เพือ่ พัฒนาปรับปรุ ง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้ า BP จัดกิจกรรมการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์อย่างต่อเนื่ อง เช่น ขยายผลกับผูป้ กครอง เด็กปฐมวัยตัวแทนเครื อข่ายห้องเรี ยน 9.2 ผลการตรวจสอบซ้ า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุ ง BP -เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน ซึ่งสามารถสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ได้ -เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเรื่ องจากผลงานการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ได้ 10. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวนั เวลาและรู ปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล)

การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ผลงานการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ ดังนี้ 1. จัดทาแผ่นพับขั้นตอน การสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ 2. เผยแพร่ ผลงานในรายการเสี ยงตามสาย โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี 3. เผยแพร่ ลงใน Facebook ของ sutheera@windowslive.com 4. ขยายผลการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ให้กบั ครู ปฐมวัยโรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี โดยการอธิบาย การสาธิต การลงมือปฏิบตั ิจริ ง การสร้างผลงานเดี่ยว วันที่ 15 สิ งหาคม 2555 5. ขยายผลการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ให้กบั ครู ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ชั้นปี ที่ 5 สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี โดยการอธิบาย การสาธิต การลงมือปฏิบตั ิจริ ง การสร้างผลงานเดี่ยว วันที่ 20 สิ งหาคม 2555 6. ขยายผลการสร้างภาพจากหนังสื อพิมพ์ให้กบั ครู ปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โดยการแจกแผ่นพับ อธิบาย การสาธิต การลงมือปฏิบตั ิจริ ง การสร้าง ผลงานเดี่ยว รุ่ นที่ 1 และรุ่ นที่ 2 วันที่ 1 – 2 กันยายน พ.ศ.2555 ลงชื่อ ผูร้ ายงาน (นางสุ ธีรา ท้าวเวชสุ วรรณ) ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ ผูใ้ ห้ความเห็นชอบ

(นายเสกสรรค์ เห็นประเสริ ฐ) ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี ประธานเครื อข่ายส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย สพป.กจ. เขต 1


7

ภาคผนวก


8

ขั้นตอนการสร้ างภาพจากหนังสือพิมพ์ โดยสุ ธีรา ท้าวเวชสุ วรรณ ขั้นตอนที่ 1 เตรี ยมอุปกรณ์ เช่น หนังสื อพิมพ์ กาว กรรไกร ไม้บรรทัด ไม้ตะเกียบ

ขั้นตอนที่ 2 เตรี ยมกระดาษ หนังสื อพิมพ์ไว้ หลายๆฉบับ

ขั้นตอนที่ 3 กระดาษหนังสื อพิมพ์ 1 คู่ แบ่งออกเป็ น 4 แผ่น


9

ขั้นตอนที่ 4 นากระดาษหนังสื อพิมพ์ ม้วนกลมๆทาไว้มากๆ ม้วนหลวมๆ

ขั้นตอนที่ 5 นากระดาษที่มว้ นแล้วสอดไม้ เข้าไปใช้มือที่ถนัดจับไว้ อีกมือย่นกระดาษลงมาเรื่ อยๆ จนหมดค่อยๆหมุนดึงไม้ออก

ขั้นตอนที่ 6 นากระดาษหนังสื อพิมพ์ ที่ยน่ เสร็ จแล้วมาสร้าง เป็ นภาพตามต้องการ


10

ภาพจากการขยายผล คณะครู ปฐมวัย โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ.2555

นางสุ ธีรา ท้าวเวชสุ วรรณ อธิบายขั้นตอนการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ พร้อมสื่ อต้นแบบสามารถใช้เป็ นสื่ อประกอบตามหน่วยการเรี ยนรู ้ได้เป็ นอย่างดี

คณะครู ปฐมวัยโรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี ปฏิบตั ิจริ งการม้วนกระดาษ การย่นกระดาษ เพื่อใช้ในการสร้างภาพจากกระดาษหนังสื อพิมพ์ที่ไม่ใช้แล้ว


11

ภาพจากการขยายผล ครู ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู สาขาการศึกษาปฐมวัย โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี จากมหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วันที่ 20 สิ งหาคม พ.ศ.2555

ครู ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ชั้นปี ที่ 5 สาขาการศึกษาปฐมวัยสามารถสร้างภาพได้


12

ภาพจากการปฏิบัตจิ ริงการย่ นกระดาษ เด็กปฐมวัยย่นกระดาษหนังสื อพิมพ์ โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี วันที่ 20 สิ งหาคม พ.ศ.2555

เด็กปฐมวัยสามารถย่นกระดาษได้ และสามารถนามาสร้างภาพได้ตามวัย โดยครู แนะนาการม้วนกระดาษหนังสื อพิมพ์ตอ้ งจับเบาๆมือและทากาว หลังจากนั้นค่อยๆย่นกระดาษทีละน้อยจนกระดาษหมด หมุนๆไม้ดึงไม้ออก จะ ได้กระดาษที่ยน่ เสร็ จและสามารถนามาสร้างผลงานได้


13

ผลงานการสร้ างภาพจากกระดาษหนังสือพิมพ์ ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 ปี การศึกษา 2555 *************************************

เด็กๆช่วยกันย่นกระดาษหนังสื อพิมพ์และนามาสร้างภาพ แบ่งกลุ่มตาม ความสมัครใจ สมาชิกตกลงกันก่อนว่าจะต่อเป็ นรู ปอะไร ลองตัดกระดาษที่ยน่ แล้วลองวางก่อนทากาว


14

ผลงานการสร้างภาพจากการปั้นกระดาษหนังสื อพิมพ์ ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 ปี การศึกษา 2555 *************************************

เด็กๆกาลังปั้นกระดาษหนังสื อพิมพ์ให้กลมๆเล็กๆเพื่อใช้สร้างภาพ

เด็กๆนากระดาษที่ช่วยกันปั้นมาสร้างภาพ เป็ นกิจกรรมกลุ่มๆละ 3 – 4 คน


15

ผลงานการสร้างภาพจากการปั้นกระดาษหนังสื อพิมพ์ ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปี ที่ 1/4 *************************************

ภาพที่เกิดจากการปั้นกระดาษหนังสื อพิมพ์ให้กลมๆเล็กๆ จากนั้นนามา สร้างเป็ นภาพโดยช่วยกันคิดว่า ต้องการได้ภาพอะไร เมื่อได้ภาพก็แบ่งกลุ่มตาม ความสมัครใจ เลือกภาพระบายสี ก่อนแล้วจึงนากระดาษที่ป้ ันไว้ทากาว แปะลง ในภาพให้สวยงาม ทุกคนในกลุ่มช่วยกันแต่งเติมให้สวยงาม


16

ขยายผลการสร้ างภาพจากหนังสือพิมพ์ให้ กบั ครูปฐมวัย สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 รุ่นที่ 1 และ2 วันที่ 1 – 2 กันยายน พ.ศ.2555

เป็ นวิทยากรในการให้ความรู ้ครู ปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 แจกแผ่นพับ อธิ บาย การสาธิ ต การลงมือปฏิบตั ิจริ ง การสร้างผลงานเดี่ยว รุ่ นที่ 1 และ 2 วันที่ 1 – 2 กันยายน พ.ศ.2555 ณ โรงแรมริ เวอร์ แคว จังหวัดกาญจนบุรี


17

ภาพจากการปฏิบัตจิ ริง เด็กปฐมวัยสร้างภาพจากการย่นกระดาษหนังสื อพิมพ์ โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี

การม้วนกระดาษ วันจันทร์ ที่ 9 กันยายน 2556

เด็กๆตั้งใจม้วนกระดาษ วันจันทร์ ที่ 9 กันยายน 2556 วันที่ 9 กันยายน 2556

เด็กๆตั้งใจฟังวิธีการย่นกระดาษทุกคน วันพุธที่ 11 กันยายน 2556


18

ภาพจากการปฏิบัตจิ ริง เด็กปฐมวัยสร้างภาพจากการย่นกระดาษหนังสื อพิมพ์ โรงเรี ยนอนุบาลกาญจนบุรี

เด็กๆกาลังย่นกระดาษหนังสื อพิมพ์ วันพุธที่ 11 กันยายน 2556

เด็กๆกาลังสร้างภาพจาก กระดาษที่ยน่ ไว้แล้ว วันพุธที่ 18 กันยายน 2556

เด็กกับผลงานภาพที่สร้างเสร็ จแล้ว และเล่าเรื่ องจากภาพงานกลุ่ม วันพุธที่ 18 กันยายน 2556


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.