BP นายสุรพล พละศักดิ์ ผอ.โรงเรียนบ้านใหม่ (จีนาภักดิ์วิทยา)

Page 1

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice: BP) นายสุรพล พละศักดิ์ ๑. ชื่อผลงาน BP “กระบวนการบริหาร ๗ ขั้นตอน ๗ กลยุทธ์ ๗ สร้าง สู่โรงเรียนคุณภาพ”

กรอบแนวคิด Best Practice “ กระบวนการบริหาร ๗ ขั้นตอน ๗ กลยุทธ์ ๗ สร๎าง สูํโรงเรียนคุณภาพ”

กระบวนการบริหาร ๗ ขั้นตอน ๑. ศึกษาสภาพ ปัจจุบัน

๒. ๓. ประเมิน วางแผนกล สภาพองค์กร ยุทธ์ระยะ 3-5 ปี

๔. วางแผน ปฏิบัติงาน ประจาปี

๕. ปฏิบัติตาม แผนปฏิบัติการ (Action plan)

๗ กลยุทธ์ ๑ ปรับปรุงสภาพแวดล๎อม

อาคารสถานที่ให๎มีความ พร๎อมเอื้อตํอการเรียนการ

เรียนรู๎

๖ ยกระดับคุณภาพนักเรียนด๎าน สุขภาพอนามัยนักเรียน ๗ สํงเสริมให๎ผู๎เรียนอนุรกั ษ์สิ่งแวดล๎อม และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

๗. ปรับปรุง พัฒนางาน อยํางตํอเนื่อง

๗ สร้าง ๑.สร๎างความตระหนักรักองค์กร

ความรู๎ความสามารถทางวิชาการ

คุณธรรม-จริยธรรม

๓ พัฒนาครู ด๎านความรู๎ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม

วงจรพัฒนาคุณภาพ

๔ ยกระดับคุณภาพนักเรียนด๎าน ๕ ยกระดับคุณภาพนักเรียนด๎าน

๒ เสริมสร๎างความเข๎มแข็ง ในบริหารจัดการ

๖. วัดและ ประเมินผลการ ดาเนินงาน

งาน / โครงการ รองรับ

P A

๒.สร๎างความสัมพันธ์ D

C

๓.สร๎างเป้าหมายรํวมกัน

๔.สร๎างแรงจูงใจ ๕.สร๎างความโปรํงใส ๖.สร๎างเครือขําย ๗.สร๎างความภาคภูมิใจ

โรงเรียนคุณภาพ ผลการประเมินภายนอก ผลการประเมินโรงเรียนดีศรีตาบล และรางวัลรองรับ กลุ่มสาระการเรียนรู้…-………………………………………………………………………….......... ด๎าน ( ) วิชาการ (/) บริหารจัดการศึกษา ( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู๎พัฒนา BP .........นายสุรพล พละศักดิ์..................................................... ๒.๒ โรงเรียน .........บ๎านใหมํ(จีนาภักดิ์วิทยา)........................................................ ๒.๓ โทรศัพท์.........๐๘๑-๙๙๕๒๑๘๐.. e-.=mail ……surapool2501@gmail.com………………………… ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบวิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล


๓.๒ เป้าหมาย ๑) โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกทั้งในระดับปฐมวัยและพื้นฐานทุกมาตรฐาน อยูํในระดับตั้งแตํดีขึ้นไปทุกมาตรฐาน ๒) โรงเรียนมีผลการประเมินโรงเรียนดีศรีตาบลผํานเกณฑ์ ทั้ง ๒๘ ประการ (โรงเรียนต๎นแบบ) ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปีการศึกษา ๒๕๕๓-๒๕๕๖ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหวําง BP กับเป้าหมาย/จุดเน๎นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ. สถานศึกษาทุกแหํงมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข๎มแข็งและได๎รับการรับรองจากการประเมิน คุณภาพภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ชนบท โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ โรงเรียนสูํมาตรฐานสากล จุดเน๎นของสถานศึกษา โรงเรียนบ๎านใหมํ(จีนาภักดิ์วิทยา) จัดการศึกษาสูํมาตรฐานโรงเรียนดีศรีตาบล เป็นผู๎นาด๎านการ สํงเสริมอําน ความเป็นไทย และประชาธิปไตยนักเรียน ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP แนวคิด การบริหารสถานศึกษาสูํความเป็นเลิศหรือการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ขึ้นอยูํกับผู๎บริหาร สถานศึกษา เพราะฉะนั้นผู๎บริหารสถานศึกษาจะต๎องทบทวนบทบาทและพัฒนาสมรรถนะ ดังนี้ เป็นผู๎ กาหนดทิศทางการบริหาร (Direction Setter) มีความสามารถกระตุ๎นคน (Leader Catalyst) ต๎องเป็นนัก วางแผน (Planner) ต๎องเป็นผู๎มีความสามารถในการตัดสินใจ (Decision Maker) ต๎องมีความสามารถใน การจัดองค์กร (Organizer) ต๎องเป็นผู๎กํอให๎เกิดการเปลี่ยนแปล(Change Manager) ต๎องเป็นผู๎ให๎ความรํวมมือ (Coordinator) ต๎องเป็นผู๎ติดตํอสื่อสารที่ดี (Communication) ต๎องเป็นผู๎แก๎ปัญหาขัดแย๎งในองค์กรได๎ (Conflict Manager) ต๎องสามารถบริหารปัญหาตําง ๆ ได๎ (Problem Manager) ต๎องรู๎จักวิเคราะห์และ จัดระบบงาน (System Manager) ต๎องมีความสามารถในด๎านวิชาการทั้งการเรียนและการสอน (Instructional Manager) ต๎องมีความสามารถบริหารงานบุคคล (Personnel Manager) ต๎องมี ความสามารถบริหารทรัพยากร (Resource Manager) ต๎องมีความสามารถในการประเมินผลงาน (Appraiser) ต๎องมีความสามารถในการประชาสัมพันธ์ (Public Relater) ต๎องสามารถเป็นผู๎นาในสังคมได๎ (Ceremonial Head) หลักการ การบริหารที่มีประสิทธิภาพ คือ การบริหารที่มีผู๎บริหารเพียงคนเดียวในองค์กร(Division of Labor) มี การกาหนดมาตรฐานทางานที่ชัดเจน (Standardization) มีเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) มีการกระจายอานาจความรับผิดชอบให๎แกํผรู๎ ํวมงาน (Delegation of Authority and Responsibility) มีการ แบํงฝ่ายงานและบุคลากรผู๎รับผิดชอบให๎แกํผู๎รํวมงาน (Division of Labor) มีการกาหนดมาตรฐานการ ทางานที่ชัดเจน (Span of Control) มีการมอบหมายการควบคุมดูแลที่เหมาะสม (Stability) เปิดโอกาส ให๎มีการเปลี่ยนแปลงใหมํ ๆ ในองค์กรได๎ (Flexibility) สามารถทาให๎คนในองค์กรเกิดความรู๎สึกอบอุํนและ ปลอดภัย (Security) มีการยอมรับนโยบายสํวนบุคคลที่มีความสามารถ (Personnel Policy) มีการ


ประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งสํวนบุคคลและองค์กร (Evaluation) ทฤษฎีทางการบริหาร ทฤษฎีการบริหารการศึกษาเพื่อสูํความเป็นเลิศ ได๎แกํ - ทฤษฎีกาหนดรูปแบบใหมํ มีสามองค์ประกอบ แทนที่จะมีสององค์ประกอบดังทฤษฎี ของ เฮอร์ซเบริร์ก ด๎วยการเพิ่มองค์ประกอบที่สามเข๎าไป ได๎แกํ ambient หมายถึง สิ่งแวดล๎อม ambient นี้มีสํวนประกอบที่กลําวถึงบํอย ๆ ได๎แกํสิ่งที่ทาให๎พึงพอใจและสิ่งที่ทาให๎ไมํพึง พอใจ สิ่งกระตุ๎นในฐานะกลุํมที่ตอบสนองตํอความพึงพอใจในการทางานมากกวําความไมํพึงพอใจตํอการ ทางาน การขาดแคลนตัวกระตุ๎นก็อาจเป็นบํอเกิดแหํงความไมํพึงพอใจก็ได๎ องค์ประกอบ ของ ambient นั้นมีอยูํ ๕ ประการด๎วยกัน คือ เงินเดือน โอกาสที่จะได๎เจริญงอกงาม โอกาสที่จะ เสียง ความสัมพันธ์ที่มีตํอผู๎บังคับบัญชา และสถานภาพ - ทฤษฎีบรรยากาศ อลัน บราวน์ ได๎เสนอกลยุทธ์สองประการสาหรับเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ ของโรงเรียน ประการแรกได๎แกํกลยุทธ์ด๎านคลินิก ประการที่สอง ได๎แกํกลยุทธ์ที่มุํงความเจริญงอกงามเป็น ศูนย์กลาง ทั้งสองกลยุทธ์ตํางก็ไมํได๎เป็นตัวเลือกแกํกันและกัน แตํสามารถใช๎ด๎วยกัน ทั้งสองกลยุทธ์ตํางก็มี ความจาเป็นตํอการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ด๎านคลินิกเน๎นที่ธรรมชาติของความสัมพันธ์ระหวํางกลุํมยํอยใน โรงเรียน มุํงดูที่ความรู๎ขององค์กรตํอจากนั้นก็วิเคราะห์บรรยากาศขององค์กร กาหนดลาดับขั้นความสาคัญ ของการปฏิบัติการและวางแผนดาเนินการ เมื่อปฏิบัติสาเร็จแล๎วก็มีการประเมินผลงานนั้น ในขณะที่กลยุทธ์ มุํงความเจริญงอกงามเป็นศูนย์กลางนั้นเน๎นที่การพัฒนาของเอกบุคคล - ทฤษฎีอานาจ และความขัดแย๎งในสถาบันการศึกษา ของวิตเตอร์ บอลด์ริดจ์ ทฤษฎีความ ขัดแย๎งเน๎นที่การแยกสํวนของระบบสังคมออกเป็นกลุํมผลประโยชน์ ซึง่ แตํละกลุมํ ตํางก็มีเป้าประสงค์ท่ี ตํางกันออกไป และแตํละกลุํมตํางก็พยายามที่จะได๎เปรียบอีกกลุํมหนึ่งหรือหลาย ๆ กลุํม - ทฤษฎีความต๎องการพื้นฐานของมนุษย์ (Basic human Needs) ความต๎องการพื้นฐาน เป็นปัจจัยที่สาคัญมากอยํางหนึ่งของความแตกตํางระหวํางบุคคล มาสโลว์ (Maslow) กลําววํา ความต๎องการพื้นฐานของมนุษย์ เป็นสัญชาตญาณที่ติดตัวมนุษย์มาแตํกาเนิดมีอยูํ 5 ขั้นตอน เริ่มจากต่าสุดไปสูงสุด โดยที่มนุษย์จาเป็นต๎องได๎รับการตอบสนองความต๎องการขั้นต่าสุดจนเป็นที่ พอใจกํอนที่ความต๎องการขั้นสูงความต๎องการของมนุษย์แตํละคนจะแตกตํางกันไป และพฤติกรรมหนึ่งก็ สามารถตอบสนองความต๎องการหลายๆอยํางได๎ในเวลาเดียวกัน มาสโลว์ ได้จัดความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ไว้ดังนี้ ๑. ความต๎องการทางด๎านรํางกาย (Basic Physioloyical Need) เป็นความต๎องการเกี่ยวกับ ปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญตํอการดารงชีวิต เชํน อากาศ อาหาร เครื่องนุํงหํม การพักผํอน การขับถํายเป็น ต๎น ๒. ความต๎องการความปลอดภัย (Safe and Security Need) เป็นความต๎องการความปลอดภัยมั่นคง ความคุ๎มครองปกป้อง ความต๎องการความมั่นคงทางวัตถุปัจจัยภายนอก ความปลอดภัยจากการ คุกคาม ปลอดภัยจากความวิตกกังวล อันตรายและความเจ็บปวดตํางๆ


๓. ความต๎องการความรักและความเป็นเจ๎าของ (Love and Belonging Need) หมายถึงความต๎องการ ทางสังคม เชํน ความต๎องการความรัก อยากให๎ตนเป็นที่รักได๎รับการยอมรับจากกลุํม ต๎องการสํวน รํวมในกลุํม ๔. ความต๎องการการยอมรับนับถือ (Esteem Need) หมายถึง ความต๎องการความเคารพนับถือจากผู๎อื่น (respect from others) บางที่เรียกวํา Self Esteem ๕. ความต๎องการบรรลุศักยภาพสูงสุดแหํงตน (Self Actualization Need) เป็นความต๎องการสูงสุดของ บุคคล ที่จะต๎องพยายามทาทุกสิ่งทุกอยํางตามความเหมาะสมและความสามารถของตนเองในทางที่ สร๎างสรรค์ดีงาม

- ทฤษฎีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข๎องกับแรงจูงใจ สิ่งจูงใจ และความพึงพอใจ ทฤษฎีที่กลําวถึงแรงจูงใจ ในการทางาน สิ่งจูงใจในองค์กร ความพึงพอใจในงาน ความพึงพอใจตํอผลการปฏิบัติงาน ได๎แกํ ทฤษฎีวุฒิ ภาวะของอากิริส ทฤษฎีสององค์ประกอบของเฮอร์ซเบิร์ก ทฤษฎีการกํอตัวใหมํ (Reformulated theory) ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy theory) รูปแบบกระบวนการบริหารสู่ความเป็นเลิศ การบริหารสถานศึกษาสูํความเป็นเลิศ มีความจาเป็นต๎องอาศัย หลักการ แนวคิด และทฤษฎี ทางการบริหารการศึกษา ดังนี้


๑. การบริหารสถานศึกษาสูํการบริหารเชิงระบบ IPP CONTEXT ตามกระบวนการผลิต ทางการศึกษา ดังนี้ กระบวนการผลิตทางการศึกษา Environment (สภาพแวดล๎อม) INPUT เด็กและเยาวชน

PROCESS

PRODUCT

กระบวนการเรียนการสอนตามหลักสูตร การศึกษาของโรงเรียน

ผู๎สาเร็จการศึกษา

ย๎อนกลับ Feedback ๒. วงจรการควบคุมคุณภาพ PDCA P : Plan = วางแผน D : Do = ปฏิบัติตามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมินมาวิเคราะห์ A : Action = ปรับปรุงแก๎ไขดาเนินการให๎เหมาะสมตามผลการประเมิน

๓. การบริหารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) หลักการสาคัญในการบริหารแบบ (School-Based Management โดยทั่วไป ได๎แกํ


๑) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) ซึ่งเป็นการกระจายอานาจการจัด การศึกษาจากกระทรวงและสํวนกลางไปยังสถานศึกษาให๎มากที่สุด โดยมีความเชื่อวําโรงเรียนเป็นหนํวยสาคัญ ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการศึกษาเด็ก ๒) หลักการมีสํวนรํวม (Participation or Collaboration or Involvement) เปิดโอกาสให๎ ผู๎เกี่ยวข๎องและผู๎มีสํวนได๎สํวนเสียได๎มีสํวนรํวมในการบริหาร ตัดสินใจ และรํวมจัดการศึกษา ทั้งครู ผู๎ปกครอง ตัวแทนศิษย์เกํา และตัวแทนนักเรียน การที่บุคคลมีสํวนรํวมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู๎สึกเป็นเจ๎าของ และจะรับผิดชอบในการจัดการศึกษามากขึ้น ๓) หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให๎ประชาชน (Return Power to People) ในอดีตการ จัดการศึกษาจะทาหลากหลายทั้งวัดและองค์กรในท๎องถิ่นเป็นผู๎ดาเนินการ ตํอมามีการรํวมการจัดการศึกษาไป ให๎กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให๎เกิดเอกภาพและมาตรฐานทางการศึกษา แตํเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น ความเจริญ ตําง ๆ ก๎าวไปอยํางรวดเร็ว การจัดการศึกษาโดยสํวนกลางเริ่มมีข๎อจากัด เกิดความลําช๎าและไมํสนองความ ต๎องการของผู๎เรียนและชุมชนอยํางแท๎จริง จึงต๎องมีการคืนอานาจให๎ท๎องถิ่นและประชาชนได๎จัดการศึกษาเอง อีกครั้ง ๔) หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) ในระบบการศึกษาทั่วไป มักจะกาหนดให๎ โรงเรียนเป็นหนํวยปฏิบัติตามนโยบายของสํวนกลาง โรงเรียนไมํมีอานาจอยํางแท๎จริง สาหรับการบริหารโดย ใช๎โรงเรียนเป็นฐานนั้น ไมํได๎ปฏิเสธเรื่องการทางานให๎บรรลุเป้าหมาย และนโยบายของสํวนรวม แตํมีความเชื่อ วําวิธีการทางานให๎บรรลุเป้าหมายนั้นทาได๎หลายวิธี การที่สํวนกลางทาหน๎าที่เพียงกาหนดนโยบายและ เป้าหมายแล๎วปลํอยให๎โรงเรียนมีระบบการบริหารด๎วยตนเอง โดยให๎โรงเรียนมีอานาจหน๎าที่และความ รับผิดชอบในการดาเนินงาน ซึ่งอาจดาเนินการได๎หลากหลายด๎วยวิธีการที่แตกตํางกัน แล๎วแตํความพร๎อมและ สถานการณ์ของโรงเรียน ผลที่ได๎นําจะมีประสิทธิภาพสูงกวําเดิม ที่ทุกอยํางกาหนดมาจากสํวนกลาง ไมํวําจะ โดยทางตรงหรือทางอ๎อม ๕) หลักการตรวจสอบและถํวงดุล (Check and Balance) สํวนกลางมีหน๎าที่กาหนดนโยบาย และควบคุมมาตราฐาน มีองค์กรอิสระทาหน๎าที่ตรวจสอบคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อให๎มี คุณภาพและมาตรฐานเป็นไปตามกาหนดและมาตรฐานเป็นไปตามกาหนด และเป็นไปตามนโยบายของชาติ จากหลักการดังกลําวทาให๎เกิดความเชื่อมั่นวําการบริหารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน จะเป็นการบริหารงานที่ทาให๎ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกวํารูปแบบการจัดการศึกษาที่ผํานมา รูปแบบการบริหารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) ๑) รูปแบบที่มีผู๎บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) ผู๎บริหารเป็น ประธานคณะกรรมการ สํวนกรรมการอื่น ๆ ได๎จากการเลือกตั้งหรือคัดเลือกจากกลุํมผู๎ปกครอง ครู และชุมชน คณะกรรมการมีบทบาทให๎คาปรึกษา แตํอานาจการตัดสินใจยังคงอยูํที่ผู๎บริหารโรงเรียน ๒) รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) เกิดจากแนวคิดที่วํา ครูเป็นผู๎ใกล๎ชิด นักเรียนมากที่สุด ยํอมรู๎ปัญหาได๎ดีกวําและสามารถแก๎ปัญหาได๎ตรงจุด ตัวแทนคณะครูจะมีสัดสํวนมาก ที่สุด ในคณะกรรมการโรงเรียน ผู๎บริหารยังเป็นประธานคณะกรรมการโรงเรียนบทบาทของคณะกรรมการโรงเรียน เป็นคณะกรรมการบริหาร ๓) รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control SBM) แนวคิดสาคัญ คือ การจัดการ ศึกษาควรตอบสนองความต๎องการและคํานิยมของผู๎ปกครองและชุมชนมากที่สุด ตัวแทนของผู๎ปกครอง และ


ชุมชนจึงมีสัดสํวนในคณะกรรมการโรงเรียนมากที่สุด ตัวแทนผู๎ปกครองและชุมชนเป็นประธานคณะกรรมการ โดยมีผู๎บริหารโรงเรียนเป็นกรรมการและเลขานุการ บทบาท หน๎าที่ของคณะกรรมการ โรงเรียนเป็นคณะ กรรมการบริหาร ๔) รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) แนวคิด เรื่องนี้เชื่อวํา ทั้งครูและผู๎ปกครองตํางมีความสาคัญในการจัดการศึกษาให๎แกํเด็ก เนื่องจากทั้ง 2 กลุํมตํางอยูํ ใกล๎ชิดนักเรียนมากที่สุด รับรู๎ปัญหาและความต๎องการได๎ดีที่สุดสัดสํวนของครูและผู๎ปกครอง (ชุมชน) ใน คณะกรรมการโรงเรียนจะมีเทํา ๆ กันแตํมากกวําตัวแทนกลุํมอื่น ๆ ผู๎บริหารโรงเรียนเป็นประธาน บทบาท หน๎าที่ของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑กลุํมเป้าหมายในการนา BP ไปใช๎ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุํมเป้าหมาย)

โรงเรียนบ๎านบ๎านใหมํ(จีนาภักดิ์วิทยา) ปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖ ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขันตอนการพัฒนา) ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี หลักการ รูปแบบการบริหาร จัดการที่สํงผลตํอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ

ศึกษานโยบายของหนํวยงานต๎นสังกัด บริบทของ สถานศึกษา

สถานศึกษา

สังเคราะห์รูปแบบบริหาร สถานศึกษา ผู๎ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ ให๎คาแนะนา ปรับปรุงรูปแบบบริหาร สถานศึกษา

ใช๎จริง

ประเมินปรับปรุง

ใช๎จริง

ปรับปรุง

ประเมินหาประสิทธิภาพเมื่อ สิ้นปี

พัฒนา


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพทีไ่ ด๎) วิธีการตรวจสอบคุณภาพ มีการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดย ผู๎ทรงคุณวุฒิ จานวน ๓ ทํานเป็น

ผู๎พิจารณา ให๎ความเห็น ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได๎ ผู๎ทรงคุณวุฒิ มีความเห็นวํารูปแบบการบริหารสถานศึกษา เป็นรูปแบบที่มีความเหมาะสมกับ สถานศึกษา มีกระบวนการที่ครบถ๎วน ใช๎เทคนิควิธีการที่ดี และครอบคลุมภาระงาน ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช๎ประโยชน์

ผู๎บริหารนาไปใช๎กับโรงเรียนบ๎านใหมํ(จีนาภักดิ์วิทยา) ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ตํอไป ๘. รายละเอียด PB “กระบวนการบริหาร ๗ ขั้นตอน ๗ กลยุทธ์ ๗ สร้าง สู่โรงเรียนคุณภาพ” ๘.๑ รูปแบบ กระบวนการบริหาร ๗ ขั้นตอน ๑ ๒ ๓

ศึกษาสภาพปัญหา สารวจความต๎องการพัฒนา ศึกษาข๎อมูลพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา

๒. ประเมินสภาพองค์กร

ประชุมตัวแทนจากทุกภาคสํวน วิเคราะห์ สถานศึกษา (SWOT) ศึกษาจัดจุดอํอน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค สังเคราะห์สภาพสถานศึกษา

๓. วางแผนกลยุทธ์ระยะ ๓-๕ ปี

๑ ๒ ๓ ๔

กาหนด วิสัยทัศน์ พันธ์กิจ กลยุทธ์ กาหนดโครงการ กาหนดเป้าหมายรายปี จัดทาแผนพัฒนาการศึกษา

๔. วางแผนปฏิบัติงานประจาปี

๑ ๒ ๓

กาหนดผู๎รับผิดชอบโครงการ พิจารณาจัดสรรงบประมาณ จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี

๑. ศึกษาสภาพปัจจุบัน

๕ ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ (Action plan) P

D C A

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓

ประชุมชี้แจงโครงการ กาหนดทีมงานรับผิดชอบ กาหนดปฏิทนิ ปฏิบตั ิงาน วางแผนการใช๎งบประมาณ จัดทาเอกสาร เครื่องมือตําง ๆ ดาเนินการ ตามปฏิทนิ ปฏิบัติงานทุกกิจกรรม เบิกจํายงบประมาณ สรุปการดาเนินงานรายกิจกรรม

๑ ๒ ๑

ประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมาย จัดทารายงานโครงการ ประชุมสรุปผลการดาเนินงาน กาหนดแนวทางพัฒนาในปีการศึกษา ตํอไป รายงานให๎ผู๎มีสํวนได๎สํวนเสียรับทราบ


๖. วัดและประเมินผลการดาเนินงาน ๗. ปรับปรุงพัฒนางานอยํางตํอเนื่อง

๑ ๒ ๑ ๒

นาผลการประเมินทุกโครงการ สรุปผลการดาเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการประจาปี ประชุมแจ๎งผู๎เกี่ยวข๎องทุกภาคสํวน จัดทาข๎อมูลสารสนเทศที่เกิดผลจากโครงการ นาข๎อมูลสารสนเทศ ข๎อเสนอแนะ ไปปรับปรุงหรือ พัฒนาแผน

๘.๒ ๗ กลยุทธ์ กลยุทธ์

โครงการรองรับ

๑. ปรับปรุงสภาพแวดล๎อม อาคารสถานที่ให๎มีความพร๎อมเอื้อตํอการ เรียนการเรียนรู๎ และมีบรรยากาศที่ดี

๑. ปรับปรุงอาคารสถานที่ สิ่งแวดล๎อม แหลํงเรียนรู๎ และ บริการ

๒. สร๎างความเข๎มแข็งในบริหารจัดการโดยนานวัตกรรม เทคโนโลยี มา ใช๎ เน๎นกระบวนการการมีสํวนรํวม เสริมสร๎างความสัมพันธ์ระหวํางบ๎าน วัด โรงเรียน มุํงให๎ทุกฝ่ายมีความรัก ผูกพันตํอองค์กร

๒. พัฒนาผู๎บริหาร ๓. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา และผู๎ปกครอง นักเรียน ๔. พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ๕. สํงเสริมการมีสํวนรํวมในการบริหารจัดการศึกษา

๓. ยกระดับพฤติกรรมนักเรียนด๎านการเรียน พัฒนาระบบการจัดการ ๖. พัฒนาการจัดการเรียนรู๎ และกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียน เรียนรู๎สูํความเป็นเลิศทางวิชาการ พัฒนาระบบดูแลชํวยเหลือนักเรียนให๎ ๗. สํงเสริมนิสัยรักการอําน เต็มรูปแบบ ๘. สํงเสริมการใช๎เทคโนโลยี แหลํงเรียนรู๎และภูมิ-ปัญญา ท๎องถิ่น ๙.พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนประถมศึกษา ๑๐. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๔. ยกระดับพฤติกรรมนักเรียนด๎านคุณธรรม-จริยธรรม

๑๑. นาหลักเศรษฐกิจพอเพียงสูํการเรียนรู๎

๕. ยกระดับพฤติกรรมนักเรียนด๎านสุขภาพอนามัยนักเรียน

๑๒. สํงเสริมสุขภาพนักเรียน ๑๓. สํงเสริมศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ

๖.สํงเสริมให๎ผู๎เรียนอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อม และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๑๔. โรงเรียนวิถีพุทธ ๑๕. สืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ๗. พัฒนาศักยภาพครู

๑๖. พัฒนาครูสูํมาตรฐาน


๘.๓ ๗ สร้าง ๑. สร๎างความตระหนักรักองค์กร ๒. สร๎างความสัมพันธ์ ๓. สร๎างเป้าหมาย ๔. สร๎างแรงจูใจ ๕. สร๎างความโปรํงใส ๖. สร๎างเครือขําย ๗. สร๎างความภาคภูมิใจ

บูรณาการ ทุกขั้นตอน การปฏิบัติงาน และ เวลาที่เหมาะสม

ความร่วมมือ

๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ

มีผู๎เกี่ยวข๎องเข๎ามา มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้น ได๎แกํ คณะครู นักเรียน คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู๎ปกครองนักเรียน พระสงฆ์ บุคคลสาคัญในชุมชน สํวนที่เป็นองค์กรได๎แกํ วัด องค์การบริหาร สํวนตาบล เครือขํายพัฒนาคุณภาพการศึกษาบ๎านใหมํ โรงพยาบาล เป็นต๎น ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๑) ผลการประเมินคุณภาพนอกรอบสาม ผลการประเมินภายนอกในระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับดี…๖…ตัวบํงชี้ ดีมาก ๖ ตัวบํงชี้

คะแนนรวม ร้อยละ ๘๗.๓๑ อยู่ในระดับ ดี ๒) ผลการประเมินภายนอกในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน:ประถมศึกษา ระดับดี…๑….ตัวบํงชี้ ดี มาก ๑๑ ตัวบํงชี้ คะแนนรวม ร้อยละ ๙๔.๘๐ อยู่ในระดับ ดีมาก ๓) ผลการประเมินโรงเรียนดีศรีตาบล ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้ง ๕ ด้าน ทุกเป้าหมาย ๒๘ เป้าหมาย ได้รับรองเป็น โรงเรียนดีศรีตาบลต้นแบบ ๔) ได๎รับเกียรติบัตร สถานศึกษาพอเพียง ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๕) ได๎รับโลํรางวัล ห๎องสมุดดีเดํน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๖) ได๎รับการคัดเลือกเผยแพรํ นวัตกรรม โครงการสํงเสริมนิสัยรักการอํานดีเดํน เผยแพรํทางทีวี ไทย ของสานักงานสํงเสริมสังคมแหํงการเรียนรู๎และพัฒนาคุณภาพเยาวชน ๘) ผลการสอบ O-net นักเรียนปีการศึกษา ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับ


สังกัด และระดับประเทศทุกสาระ (ยกเว๎นภาษาอังกฤษในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ต่ากวําคําเฉลี่ยระดับประเทศ เล็กน๎อย) ๘.๓ ความพึงพอใจของผู๎เกี่ยวข๎องตํอ BP

ผู๎เกี่ยวข๎องมีความพึงพอใจตํอการบริหารจัดการ ในระดับดี-ดีมาก ร๎อยละ ๙๘.๕๐ โดยการสอบถาม ผู๎เกี่ยวข๎อง ได๎แกํตัวแทนนักเรียน ตัวแทนครู ตัวแทนผู๎ปกครองนักเรียน และตัวแทนคณะกรรมการ สถานศึกษา เป็นต๎น ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู๎จากการพัฒนา BP ไปใช๎ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP ๑) ความเป็นผู๎นา ความมุํงมั่น การเป็นแบบอยํางที่ดี ความคิดริเริ่มสร๎างสรรค์ของผู๎บริหาร โรงเรียน บุคคลสาคัญ ใน ๒) บทบาทของประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ที่มีความรู๎ และเป็นนายกองค์การบริหารสํวน ตาบลบ๎านใหมํ ๓) ความมุํงมั่นในการปฏิบัติงานของคณะครู นักเรียน ที่ต๎องการความสาเร็จ ประสบการณ์เรียนรู๎จากการพัฒนา BP ไปใช๎ จากการใช๎ Best Practice “กระบวนการบริหาร ๗ ขั้นตอน ๗ กลยุทธ์ ๗ สร๎าง สูํโรงเรียนคุณภาพ” สํงผลให๎เกิดวัฒนธรรมใหมํขององค์กร ที่ ทุกฝ่ายรักและผูกพันตํอโรงเรียน ให๎ความรํวมมือมุํงมั่นทุํมเทในการ ปฏิบัติงาน มีบรรยากาศที่ดี รักสามัคคีกัน ผู๎ปกครองนักเรียน ชุมชนให๎ความรํวมมือ ยอมรับนาบุตรหลานเข๎า เรียนสํงผลให๎โรงเรียนมีจานวนนักเรียนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังทาให๎ผู๎บริหารโรงเรียนเกิดความรู๎ความเข๎าใจ เกี่ยวกับรูปแบบการบริหาร แนวคิดทฤษฏี หลักการบริหาร กระบวนการบริหารสถานศึกษาเพิ่มขึ้นสํงผลตํอ การพัฒนาอยํางตํอเนื่อง ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให๎เกิดผลดีอยํางตํอเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP มีการตรวจสอบโดยให๎ผทู๎ ี่มีความเชี่ยวชาญ ผู๎มีประสบการณ์ ให๎ข๎อเสนอแนะ นาไปใช๎แล๎วปรับปรุงหรือพัฒนา อยํางตํอเนื่องระหวํางปีการศึกษา และเมือสิ้นสุดปีการศึกษา ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพือ่ การพัฒนาและปรับปรุง BP มีรูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพรํ ขยายผล ในวงกว๎าง (ระบุวนั เวลา และ รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพรํ และขยายผล) มีการดาเนินการเผยแพรํผลการบริหารที่ใช๎รูปแบบการบริหารนี้อยํางตํอเนื่อง ทั้งในเครือขํายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาบ๎านใหมํ โรงเรียนทีม่ าศึกษาดูงาน และผํานทางสื่อออนไลด์

หมายเหตุ ๑. อาจมีภาพถําย เอกสาร หลักฐาน หรือผลงานประกอบ ๒. กรุณาสํงทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ poopiyanard@gmail.com


ภาพประกอบภาพที่เกี่ยวข้อง ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ประชุมบุคคลสาคัญในเขตบริการ

ประชุมบุคคลสาคัญในเขตบริการ

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

ประชุมผู๎ปกครองนักเรียน

ประชุมผู๎ปกครองนักเรียน


ภาพประกอบภาพทีเ่ กี่ยวข้อง ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ประชุมครู

ประชุมครู

ประชุมผู๎ปกครองชั้นเรียน

ผู๎ปกครองเข๎าประชุม

ประชุมนักเรียน

ประชุมนักเรียน


ภาพประกอบที่เกี่ยวข้อง ปีการศึกษา ๒๕๕๕

เยี่ยมบ๎านนักเรียน

เยี่ยมบ๎านนักเรียน

สร๎างความสัมพันธ์

สร๎างความสัมพันธ์

ผู๎ปกครองรํวมทาความสะอาดโรงเรียน

ผู๎ปกครองรํวมทาความสะอาดโรงเรียน


ภาพความสาเร็จ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ (อาคารสถานที่)

อาคารเรียนได๎รับการปรับปรุง

อาคารเรียนได๎รับการปรับปรุง

สุขารํวมใจ

สร๎างความสัมพันธ์

รั้วรํวมใจ

ลานธรรม


ภาพความสาเร็จ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ (อาคารสถานที่)

ภูมิทัศน์สวยงาม

ภูมิทัศน์สวยงาม

รํมรื่น

รํมรื่น

รํมรื่น

รํมรื่น


ภาพความสาเร็จการปรับปรุงอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ซํอมแซมอาคารเรียน(ระดับประถมศึกษา)

ซํอมแซมอาคารอนุบาล ๑

ซํอมแซมอาคารอนุบาล ๒

ซํอมแซมอาคารเรียน(ระดับประถมศึกษา)

ซํอมแซมอาคารเรียน(ระดับประถมศึกษา)

ซํอมแซมอาคารเรียน(ระดับประถมศึกษา)


ภาพความสาเร็จการปรับปรุงอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ปีการศึกษา ๒๕๕๕

สร๎างอาคารเพาะเห็ดและจัดเก็บอุปกรณ์

สร๎างอาคารเพาะเห็ด

ขุดสระน้าเลี้ยงปลา

ปรับปรุงแปลงเกษตร

ปรับปรุงอํางล๎างมือ

ปรับปรุงอํางล๎างมือ


ภาพความสาเร็จปรับปรุงอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ปรับปรุงสนามหญ๎าหน๎าอาคาเรียน

จัดทาป้ายตะเกรงประชาสัมพันธ์ลวดหน๎าโรงเรียน

ปรับปรุงไหลํถนน

จัดทาป้ายโรงเรียนดีประจาตาบล

รถน้ากันฝุ่นละออง

ปรับปรุงสนามเด็กเลํน


ภาพความสาเร็จการปรับปรุงอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ชุมชนหมูํ ๑ ๒ และ ๑๑

รํวมพัฒนาโรงเรียน

นายกองค์การบริหารสํวนตาบลให๎การสนับสนุน

ปรับปรุงป้ายหน๎าโรงเรียน

ตัดแตํงกิ่งไม๎ในบริเวณโรงเรียน

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี


ภาพความสาเร็จ ด้านพฤติกรรมนิสัยรักการอ่าน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

สํงเสริมการใช๎ห๎องสมุด

กลํองความรูส๎ ูํชุมชน

ยอดนักอําน

นักเขียนน๎อย

แฟนพันธุ์แท๎ราชาศัพท์

เขียนศัพท์ภาษาอังกฤษ

พี่สอนน๎อง

ตามรอยพระบาทพระเทพฯ


ภาพความสาเร็จ ด้านพฤติกรรมนิสัยรักการอ่าน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

สํงเสริมแหลํงเรียนรู๎ ICT

สร๎างคาสร๎างประโยค

ทํองอาขยานอํานทานองเสนาะ

ภาษาอังกฤษวันละประโยค (One Day One Sentence)

สัปดาห์ห๎องสมุด

นันทนาการจากคาราโอเกะ

ทัศนศึกษาห๎องสมุดประชาชน

แขํงขันเขียนคา


ภาพความสาเร็จ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕


ภาพความสาเร็จ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕


ภาพความสาเร็จ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕


ภาพความสาเร็จ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕


ภาพความสาเร็จ ด้านสุขนิสัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ประชุมนักเรียน ประชุมครู

แขํงขันชักเยอ

เจ๎าหน๎าที่ตารวจให๎ความรู๎เกี่ยวกับสิ่งเสพติด/จราจร


ภาพความสาเร็จ ด้านสุขนิสัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ฝึกซ๎อมกรีฑานักเรียน

แขํงขันเก๎าอี้ดนตรี

ออกกาลังกายโดยการบาเพ็ญประโยชน์

รํวมแขํงขันชักเยอกับผู๎ปกครอง


ภาพความสาเร็จ ด้านสุขนิสัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

เจ๎าหน๎าที่สาธารณสุขตรวจฟันนักเรียน

ฝีกซ๎อมและแขํงขันกีฬา

ตรวจสุขภาพนักเรียนโดยครู/นักเรียน

ฝึกล๎างมือ


ภาพความสาเร็จ ด้านสุขนิสัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ชุมชนนาอาหารเลี้ยงนักเรียน

เลี้ยงปลาในโรงเรียนสนับสนุนอาหารกกลาวัน

เจ๎าหน๎าที่ศูนย์เกษตรเยาวชนอบรมนักเรียนเกี่ยวกับการทาปุ๋ยน้าหมักชีวภาพ

เพาะถั่วงอกสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน

ผลิตน้ายาล๎างจาน/ล๎างมือ

ผลผลิตน้ายาล๎างจาน/ล๎างมือ

ผลิตผักปลอดสารพิษสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน


ภาพความสาเร็จ ด้านสุขนิสัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ชุมชนเลี้ยงอาหารนักเรียน

ผักปลอดสารพิษจากแปลงเกษตร

ขนมกล๎วยจากผลผลิตในโรงเรียน

การละเลํนไทยเพื่อสุขภาพ

เดินรณรงค์ไข๎เลือดออกรํวมกับ อบต.บ๎านใหมํ


ภาพความสาเร็จ ด้านสุขนิสัยนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

สาธิตการใช๎ห๎องพยาบาล

ให๎ความรู๎เกี่ยวกับสิ่งเสพติด

บริการอาการกลางวัน ครบทุกคน

แปรงฟันหลังอาหาร

กายบริหาร


ภาพความสาเร็จ ของโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔-๒๕๕๖

ผู้อานวยการรับรางวัลครูดีไม่มีอบายมุข

รางวัลโรงเรียนดีศรีตาบลต้นแบบ

รับโล่รางวัลโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนา รุ่น ๔

รางวัลหนึ่งแสนครูดี

รับโล่รางวัลห้องสมุดดีเด่นระดับเขตฯ

นางสาวปวริศา ดอกมะลิ บรรณรักษ์ดัเด่น

รางวัลสถานศึกษาพอเพียง

โล่รางวัลโรงเรียนดีศรีตาบล



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.