BP นางเนตรดาว ทศพร โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร

Page 1

1. ชือ่ ผลงาน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้าน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) ใน รายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร การงานอาชีพและเทคโนโลยี บริหารจัดการชั้นเรียน

2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางเนตรดาว ทศพร 2.2 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2.3 โทรศัพท์ 081-9810647 e-mail netdao12@gmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) ในรายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) 2. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Base Learning) ในรายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) ในรายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) 4. ระยะเวลาในการพัฒนา ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2556 – ตุลาคม 2556 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของสพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา กลยุทธ์ของ สพฐ. กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้าน เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 4 เพิม่ ศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มืออาชีพ จุดเน้นที่ 5 นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความ พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม โดยการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้ตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 9 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต 6. แนวคิด/หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 ที่เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และทางด้าน สติปัญญานั้นจาเป็นต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนนั้นได้เกิดกระบวนการพัฒนาทักษะความคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการค้นคว้า การสืบค้น ด้วยตนเอง ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องปรับวิธีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการพัฒนาพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน ผู้พัฒนาจึงได้เลือกการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) ซึ่งเป็น กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้ นจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดยสร้างความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม เพื่อ แก้ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจาวันและมีความสาคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็น ตัวตั้งต้นของ กระบวนการเรียนรู้และเป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบค้นหาข้อมูลเพื่อ เข้าใจกลไกของตัวปัญหา รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะและ กระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองซึ่งผู้เรียนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ ความรู้ โ ดยผ่ านกระบวนการคิดด้ว ยการแก้ปัญ หาอย่างมีค วามหมายต่ อผู้ เรียน ส่ ว นครูผู้ ส อนเป็นเพีย ง ผู้สนับสนุนการเรียนรู้ (Facilitator) เท่านั้น ซึ่งจะสร้างความสนใจ ความกระตือรือร้นในการที่จะค้นหาข้อมูล ของปัญหาและร่วมระดมความคิดเห็น (Brain Storming) เพื่อหาข้อสรุปเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและการ พัฒนาให้เกิดขึ้นได้นั่นเอง ความหมาย ของ PBL เมื่อดูจากรูปคาศัพท์ Problem – based Learning Problem พรอบเบลม แปลว่า ปัญหา based เบด แปลว่า ฐาน พื้นฐาน Learning เลินนิ่ง แปลว่า การเรียนรู้ Problem – based Learning หรือ PBL ก็คือ วิธีการเรียนรู้วิธีหนึ่ง ที่มีรูปแบบการเรียนรู้ โดยการนาปัญหามาเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning หรือ PBL) เป็นรูปแบบการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivism) โดยให้ผู้เรียนสร้างความรู้


ใหม่ จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในโลก เป็นบริบท (context) ของการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะใน การคิดวิเคราะห์ และคิดแก้ปัญหา รวมทั้งได้ ความรู้ตามศาสตร์ในสาขาวิชาที่ตนศึกษา ไปพร้อมกันด้ว ย การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจึงเป็นผลมาจากกระบวนการทางานที่ต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไข ปัญหาเป็นหลัก การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีลักษณะเด่นดังนี้ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้น โดยสร้างความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม เพื่อแก้ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจาวันและมี ความสาคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็นจัดตั้งต้นของกระบวนการเรียนรู้และเป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะการ แก้ ปั ญหาด้ว ยเหตุ ผ ลและการสื บ ค้ น หาข้ อมู ล เพื่ อ เข้ า ใจกลไกของตัว ปั ญหาของตัว ปั ญหา รวมทั้ ง วิธี ก าร แก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะและกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้ สามารถเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองซึ่งผู้เรียนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยการ แก้ปัญหาอย่างมีความหมายต่อผู้เรียน ถ้ามองในแง่ของยุทธศาสตร์การสอน PBL เป็นเทคนิคการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง เผชิญหน้ากับปัญหาด้วยตนเอง จะทาให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการคิดหลายรูปแบบ เช่น การคิด วิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ ลักษณะของปัญหาที่ใช้ในการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 1. เกิดขึ้นในชีวิตจริงและเกิดจากประสบการณ์ของผู้เรียนหรือผู้เรียนอาจมีโอกาสเผชิญกั บปัญหานั้น 2. เป็นปัญหาที่พบบ่อย มีความสาคัญ มีข้อมูลประกอบเพียงพอสาหรับการค้นคว้า 3. เป็นปัญหาที่ยังไม่มีคาตอบชัดเจนตายตัว เป็นปัญหาที่มีความซับซ้อน คลุมเครือ หรือผู้เรียนเกิด ความสับสน 4. ปัญหาที่เป็นประเด็นขัดแย้ง ข้อถกเถียงในสังคมยังไม่มีข้อยุติ 5. เป็นปัญหาอยู่ในความสนใจ เป็นสิ่งที่อยากรู้แต่ไม่รู้ 6. ปัญหาที่สร้างความเดือดร้อน เสียหาย เกิดโทษภัยเป็นสิ่งที่ไม่ดีหากใช้ข้อมูลโดยลาพังคนเดียวอาจ ทาให้ตอบปัญหาผิดพลาด 7. เป็นปัญหาที่มีการยอมรับว่าจริง ถูกต้อง แต่ผู้เรียนไม่เชื่อจริง ไม่สอดคล้องกับความคิดของผู้เรียน 8. ปั ญหาที่อาจมีคาตอบหรือแนวทางในการแสวงหาคาตอบได้หลายทาง ครอบคลุ มการเรียนรู้ที่ กว้างขวางหลากหลายเนื้อหา 9. เป็นปัญหาที่มีความยากความง่ายเหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน 10. เป็นปัญหาที่ไม่สามารถหาคาตอบได้ทันที ต้องการการสารวจค้นคว้าและการรวบรวมข้อมูลหรือ ทดลองดูก่อนจึงจะได้คาตอบ ไม่สามารถที่จะคาดเดาหรือทานายได้ง่าย ๆ ว่าต้องใช้ความรู้อะไร ยุทธวิธีในการ สืบเสาะหาความรู้จะเป็นอย่างไรหรือคาตอบหรือผลของความรู้เป็นอย่างไร 11. เป็ น ปั ญหาส่ งเสริ มความรู้ ด้านเนื้อหาทักษะ สอดคล้ องกับหลั กสู ตรการศึกษา ปัญหาที่นามา ประกอบในการจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องเป็นปัญหาที่มีความเป็นปัจจุบันและอยู่ในความสนใจ ของสังคมที่ยัง


หาข้อยุติไม่ได้ พบเจออยู่บ่อยครั้งในชีวิตประจาวันหรือเป็นเหตุการณ์ประสบการตรงจากผู้เรียนเอง โดยปัญหา ที่สร้างขึ้นจะต้องสอดคล้องกับสภาพพื้นฐานของผู้เรียนและตัวหลักสูตรการศึกษา มีข้อมูลประกอบเพียงพอ สาหรับการศึกษาค้นคว้า นอกจากนี้ยังต้องเป็นปัญหา ที่ไม่สามารถหาคาตอบได้ทันที ต้องเกิดกระบวนการ ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลหรือการทดลองเพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบ บทบาทของครูในชั้นเรียน PBL ผู้สอนมีบทบาทโดยตรงต่อการจัดการเรียนรู้ดังนั้นลักษณะของผู้สอนที่เอื้อต่อการจัดการเรี ยนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน ควรมีลักษณะดังนี้ (สมรัชนีกร อ่องเอิบ และคณะ ) 1. ผู้สอนต้องมุ่งมั่นตั้งใจสูง รู้จักแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 2. ผู้ ส อนต้ อ งรู้ จั ก นั ก เรี ย นเป็ น รายบุ ค คลเข้ า ใจศั ก ยภาพของนั ก เรี ย นเพื่ อ สามารถให้ ค าแนะน า ช่วยเหลือนักเรียนได้ทุกเมื่อทุกเวลา 3. ผู้สอนต้องเข้าใจขั้นตอนของแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานอย่างถ่องแท้ชัดเจนทุก ขั้นตอน เพื่อจะได้แนะนาให้คาปรึกษาแก่นักเรียนได้ถูกต้อง 4. ผู้สอนต้องมีทักษะและศักยภาพสูงในสังคมยังไม่มีข้อยุติ 5. ผู้สอนต้องเป็นผู้อานวยความสะดวกด้วยการจัดหา สนับสนุนสื่ ออุปกรณ์การเรียนรู้ให้เหมาะสม เพียงพอ จัดเตรียม ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ฯลฯ 6. ผู้สอนต้องมีจิตวิทยาสร้างแรงจูงใจแก่นักเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการตื่นตัวในการเรียนรู้ ตลอดเวลา 7. ผู้สอนต้องชี้แจงและปรับทัศนะคติของ นักเรียนให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการเรียนรู้แบบนี้ 8. ผู้สอนต้องมีความรู้ ความสามารถ ด้านการวัดและประเมินผลนักเรียนตามสภาพจริง ให้ครอบคลุม ทัง้ ด้านความรู้ทักษะกระบวนการและเจตคติให้ครบทุกขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ จะเห็นได้ว่าบทบาทของผู้สอนนั้นเป็นเพียงผู้ที่ คอยแนะนาให้นักเรียนดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้โดย ผู้สอนจะคอยอานวยความสะดวก ส่งเสริม สนับ การดาเนินกิจกรรมของผู้เรียนในทุกขั้นตอน การจัดการเรียนรู้ และการติดตามประเมินผลการพัฒนาของนักเรียน 7. กระบวนการพัฒนา 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนาไปใช้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร ประจาปีการศึกษา 2556 จานวน 36 คน


7.2 ขั้นตอนการพัฒนา วิธีการของรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 กาหนดปัญหา จัดสถานการณ์ต่าง ๆ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจ และมองเห็นปัญหา สามารถ กาหนดสิ่งที่เป็นปัญหาที่ผู้เรียนอยากรู้ อยากเรียนเกิดความสนใจที่จะค้นหาคาตอบ

ขั้นที่ 2 ทาความเข้าใจกับปัญหา ปัญหาที่ต้องการเรียนรู้ ต้องสามารถอธิบายสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปัญหาได้

ขั้นที่ 3 ดาเนินการศึกษาค้นคว้า นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองด้วยวิธีการหลากหลาย

ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ นักเรียนนาความรู้ที่ได้ค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าหาคาตอบ นักเรียนแต่ละกลุ่ม สรุปผลงานของกลุ่มตนเอง และประเมินผลงานว่าข้อมูลที่ ศึกษาค้นคว้ามีความเหมาะสม หรือไม่เพียงใด

ขั้นที่ 6 นาเสนอและประเมินผลงาน นักเรียนนาข้อมูลที่ได้มาจัดระบบองค์ความรู้ และนาเสนอเป็นผลงานในรูปแบบที่หลากหลาย


7.3 การตรวจสอบคุณภาพ 1. การตรวจสอบแบบทดสอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ 2. การหาค่าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแบบทดสอบ 3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เมื่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ในรายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2555 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 4. การใช้แบบสอบถาม สอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้นี้ 7.4 แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ 7.4.1 นาไปจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นอื่น ๆ 7.4.2 นาไปประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอนในวิชาอื่น ๆ 7.4.3 เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้กับครูผู้สอนและผู้ที่สนใจ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเมื่อจัดการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ในรายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประจาปี การศึกษา 2556 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร เพิ่มขึ้น 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เกิดแนวความคิดแก้ปัญหา การคิดสืบเสาะหาคาตอบ คิด วิเคราะห์และเกิดความคิดสร้างสรรค์ ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพิ่มมากขึ้น 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานในรายวิชา ง 21203 (การปลูกหม่อนเพื่อแปรรูป) 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ 1. ตัวนักเรียน นักเรียนต้องมีความสนใจที่จะปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน และมี ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว 2. ครูผู้สอน ต้องมีใจรักในงาน อุทิศเวลา ทุ่มเท สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาผู้เรียน อย่างเต็มที่ รวมถึงสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองเพื่อให้เกิดความไว้วางใจกับครูผู้สอน 3. ผู้ปกครอง มีส่วนสาคัญยิ่งเพราะเป็นผู้ให้การสนับสนุนส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีดังกล่าว 4. ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารโรงเรียนในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน มีวิสัยทัศน์ ในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างเต็มที่ สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนและผู้ปกครอง เปิดโอกาสให้


นักเรียนนาเสนอผลงานต่อสาธารณชน ตรวจสอบติดตามและประเมินผลการส่งเสริมการทากิจกรรมอย่าง ใกล้ชิด 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP นาการจัดการเรียนรู้นี้ไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 3 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง รายงานผลการจัดการเรียนรู้นี้ 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมที่กาหนดในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนี้ได้ 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง เว็บไซต์ www.kan1.go.th/


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.