BP เรียนคณิตกับลูกคิดไทย

Page 1

1

Best Practice เรี ยนคณิตกับลูกคิดไทย

นางอธิชา ใจบุญ ครูชานาญการ โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา” สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


2

Best Practice เรียนคณิตกับลูกคิดไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอนยอดเยี่ยม ชื่อผูพ้ ฒั นา นางอธิชา ใจบุญ โรงเรี ยนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์ วิทยา” เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาลาดหญ้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 โทรศัพท์ 0854871442 E –mail aticha_2517@hotmail.com วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของการพัฒนา วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้และเข้าใจในพื้นฐานการบวกลบเลข 2. เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนให้สูงขึ้น 3.เพือ่ พัฒนาผลการสอบ O-NETให้สูงขึ้น 4.เพือ่ พัฒนาสื่อเรี ยนการสอนสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ให้แปลกใหม่น่าสนใจ เป้ าหมาย 1. นักเรี ยนรู ้และเข้าใจการบวกลบเลขพื้นฐาน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนให้สูงขึ้น 3.ผลการสอบและ O-NETให้สูงขึ้น 4.มีสื่อในการจัดการเรี ยนการสอนสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ให้แปลกใหม่น่าสนใจ ระยะเวลาในการพัฒนา พฤศจิกายน 2554 - ปั จจุบนั


3

ความเชื่อมโยง /ความสั มพันธ์ ระหว่ าง BPกับเป้ าหมาย /จุดเน้ นของสพป./สพฐ/สถานศึกษา นวัตกรรมการเรี ยนการสอนเป็ นการผลิตสื่ อ นวัตกรรม กระบวนการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงการเรี ยนการ สอนขึ้ น ใหม่ ไม่ ว่ า การเปลี่ ย นนั้ น จะเกิ ด ขึ้ น จากการการพัฒ นาต่ อ ยอด การเปลี่ ย นแปลง การประยุก ต์ห รื อ กระบวนการเรี ยน การสอน เชื่อตรงกันว่าการที่สิ่งใดสิ่ งหนึ่ งจะเป็ นนวัตกรรมได้น้ นั จะต้องมีความใหม่อย่าง เห็นได้ชดั และความใหม่น้ นั จะต้องเพิม่ มูลค่าสิ่งต่าง ๆ ได้อีกด้วย โดยเป้ าหมายของนวัตกรรมคือการเปลี่ยนแปลงใน เชิงบวก เพือ่ ทาให้สิ่งต่าง ๆเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ นึ นวัตกรรมการเรี ยนการสอนก่อให้ได้ผลผลิตทางการศึกษา เพิม่ ขึ้น เนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ของผูเ้ รี ยนต่า อีกทั้งมีผลการประเมินการสอบ O-NET ซึ่งเป็ นการประเมินผลระดับชาติมีผลการประเมินในระดับต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ดังนั้นจึงมีความจาเป็ นที่ จะต้อ งพัฒนาการเรี ยนการสอน วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิ ศ(Best Practices)โดยเน้นกระบวนการเรี ยนการสอนและสื่ อ นวัตกรรม การสอนเพือ่ ให้ได้มาซึ่งผลสัมฤทธิ์ของนักเรี ยนให้เกิดของระดับที่สูงขึ้นเป็ นที่น่าพอใจในระดับศูนย์ ระดับ เขตพื้นที่ และระดับชาติต่อไป แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา การศึกษาแนวใหม่ได้จาแนกทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์ออกเป็ น 3 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีแห่งการฝึ กฝน (Drill Theory) ทฤษฎีน้ ีเชื่อว่าเด็กจะเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ได้โดยการฝึ กทานั้นซ้ าๆ หลายๆ ครั้ง การสอนเริ่ มโดยครู บอกสูตรหรื อกฎเกณฑ์ให้ แล้วให้เด็กทาแบบฝึ กหัดมากๆ จนกระทัง่ เด็กมีความ ชานาญ 2. ทฤษฎีแห่งการเรี ยนรู ้โดยบังเอิญ (Incedental learning Theory) ทฤษฎีน้ ีเชื่อว่าเด็กจะเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ได้ดี เมื่อเด็กเกิดความพร้อม หรื ออยากเรี ยนรู ้ในสิ่งนั้นๆ การสอนจะพยายามให้นกั เรี ยนเรี ยนคณิ ตศาสตร์ในบรรยากาศที่ ไม่เคร่ งเครี ยด และน่าเบื่อหน่าย สอนโดยมีกิจกรรมหลากหลายและยึดนักเรี ยนเป็ นสาคัญ 3. ทฤษฎีแห่งความหมาย (Meaning Theory) ทฤษฎี นี้เชื่อว่าเด็กจะเรี ยนรู ้และเข้าในในสิ่ งที่เรี ยนได้ดีเมื่อเด็ก ได้เรี ยนใน สิ่งที่มีความหมายต่อตัวเอง เรี ยนให้มีความหมายโครงสร้าง Concept และให้นกั เรี ยนเห็นโครงสร้างของ คณิ ตศาสตร์ ในการเรี ยนการสอนคณิ ตสาสตร์จาเป็ นอย่างยิง่ ที่ตอ้ งใช้ท้งั 3 ทฤษฎี ผสมกัน แต่ในการใช้ลูกคิดใน การจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนตลอดได้ทฤษฎีแห่งการฝึ กฝน (Drill Theory) ทฤษฎีน้ ีเชื่อว่าเด็กจะเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ได้ โดยการฝึ กทานั้นซ้ าๆ หลายๆ ครั้ง การสอนเริ่ มโดยครู บอกสูตรหรื อกฎเกณฑ์ให้ แล้วให้เด็กทาแบบฝึ กหัดมากๆ จนกระทัง่ เด็กมีความชานาญ


4

กระบวนการพัฒนา กลุ่มเป้ าหมายในการนาสื่ อลูกคิดไทยไปใช้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดกายจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วทิ ยา” จานวน 109 คน ขั้นตอนการพัฒนา

ขันร่ ้ วมรับรู้

เผยแพร่ผลงาน

นาไปใช้ พฒ ั นา

สูก่ ารวิเคราะห์

ผลิตสื่อ

การตรวจสอบคุณภาพ จากการทดสอบก่อ นเรี ยนและให้นักเรี ยนเรี ยนรู ้ในกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ โดยใช้ลูกคิดไทยทาให้ นักเรี ยนมีความเข้าใจละเรี ยนรู ้ได้เร็วทาให้ผลทดสอบหลังเรี ยนสูงขึ้นและเมื่อนาไปไปใช้ในการเรี ยนในระดับชั้นอื่น ๆ พบว่านักเรี ยนตั้งใจเรี ยนและอยากเรี ยนรู ้ทาให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้น


5

แนวทางการนาลูกคิดไทยไปใช้ ประโยชน์ การนาลูกคิดไทยไปใช้ในกระบวนการเรี ยนการสอนแล้วนักเรี ยนสามารถนามาเล่นเป็ นเกม การคิดเลขเร็ ว การแข่งขันทางวิชาการเมื่อนักเรี ยนได้เรี ยนรู ้การใช้ลูกคิดแล้วนาไปใช้จะเกิดผลกับนักเรี ยนคือมีความสามารถในการ คิดเลขเร็วมีสติและสมาธิมีความจาดีข้ นึ มีความเชื่อมัน่ ตนเองมีการวิเคราะห์และลาดับเหตุผลมีความซื่ อเรี ยนรู ้อสัตย์ ต่อตนเอง ผลสาเร็จที่เกิดขึน้ จากการพัฒนา เรียนคณิตกับลูกคิดไทย ผลสาเร็จเชิงปริมาณ หลังจากการใช้สื่อ นวัตกรรมแล้วผูเ้ รี ยนเข้าใจในพื้นฐานการบวกลบเลขมากขึ้นผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนสูงขึ้นผลการสอบ O-NETให้สูงขึ้น มีสื่อเรี ยนการสอนสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ให้แปลก ใหม่น่าสนใจ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา โรงเรี ยนวัดกาญจนบุรีเก่ า “อุ ดมราษฎร์ วิทยา” สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่ใช้สื่อ นวัตกรรมการเรี ยนการสอนแล้วมีผลสัมฤทธิ์ทางกาเรี ยนในสาระการเรี ยน คณิ ตศาสตร์ที่สูงขึ้น และผลสอบ O-NET ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 สูงขึ้น ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้ องต่ อการเรียนคณิตด้ วยลูกคิดไทย จากการทดสอบก่อ นเรี ยนและให้นักเรี ยนเรี ยนรู ้ในกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ โดยใช้ลูกคิดไทยทาให้ นักเรี ยนมีความเข้าใจละเรี ยนรู ้ได้เร็วทาให้ผลทดสอบหลังเรี ยนสูงขึ้นและเมื่อนาไปไปใช้ในการเรี ยนในระดับชั้นอื่น ๆ พบว่านักเรี ยนตั้งใจเรี ยนและอยากเรี ยนรู ้ทาให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ้น ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา จากประสบการณ์การสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษาเรื่ องการบวกลบเลข ได้พบปั ญหา มีนักเรี ยน บางคนบวกและลบเลขไม่ถูกจึงคิดหาวิธีการแก้ปัญหา หลักลูกคิดต้นแบบเกิดจากความคิดที่จะแก้ปัญหานักเรี ยน บวกลบเลขไม่ถูกในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ซึ่งมีตวั ชี้วดั ในการเรี ยนมีตวั ตั้งและผลลัพธ์ไม่เกิน จานวนเลข 1,000,000 จึงจัดทาขึ้น 7หลัก นั้นคือ หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่นหลักแสน หลักล้าน ถ้านาไปใช้ในชั้นอื่น ๆ ควรประยุกต์การประดิษฐ์ ตามชั้นที่ใช้ เช่นชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1ทา 3 หลัก, ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ทา 4 หลัก, ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 3 ทา 6 หลัก, ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ทา 7 หลักขึ้นไป, ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ทา 10 หลักขึ้นและไป เพือ่ ใช้ในกระบวนการเรี ยนการสอน


6

กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุงลูกคิดไทยให้ เกิดผลดีอย่ างไร วิธีการตรวจสอบซ้า นาสื่อที่ผลิตครั้งแรกไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนชั้น ป 5 พบว่ามีขอ้ จากัดในเรื่ องวัสดุที่ใช้ไม่แข็งแรง ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง จากผลการตรวจสอบซ้ าจึงได้นาจุดอ่ อ นมาวิเคราะห์และปรับปรุ งในเรื่ อ งของวัสดุโดยใช้ไม้จริ งมาผลิ ต ลูกคิด เพือ่ ความแข็งแรงขึ้นกว่าเดิมและผลิตเพิม่ ขึ้นให้ครบกับจานวนนักเรี ยน การเผยแพร่ /การได้ รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้ รับ นาไปใช้กบั นักเรี ยนชั้นอื่น ๆ ครู นาผลงานที่สมบูรณ์ร่วมประกวดในกลุ่มสาระคณิ ตศาสตร์ระดับเขตพื้นที่ ครู นาผลงานที่ได้รับรางวัลร่ วมจัดนิทศการผลการประกวดที่ดีเลิศและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระดับเขตพื้นที่ โรงเรี ยนนาผลงานเผยแพร่ ในจุลสารโรงเรี ยน จัด นิ ท รรศการการแข่ ง ขัน ศิ ล ป์ หั ต ถกรรมนั ก เรี ย นระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษากาญจนบุ รี เ ขต 1 ปี การศึกษา 2555 6. จัดแสดงผลงานในการแข่งขันศิลป์ หัตถกรรมนักเรี ยนระดับภาคที่จงั หวัดระยอง ปี การศึกษา 2555 7. จัดแสดงผลงานในโครงการพัฒนาครู ดว้ ยระบบพีเ่ ลี้ยง ปี การศึกษา 2556 1. 2. 3. 4. 5.


7

การสร้ างลูกคิดไทย


8

การสร้ างลูกคิดไทย ผลสาเร็จ


9

การนาลูกคิดไทยไปใช้


10

การนาลูกคิดไทยไปใช้


11

การนาลูกคิดไทยไปใช้


12

การนาลูกคิดไทยไปใช้


13

การเผยแพร่ ผลงาน ลูกคิดไทย


14

การเผยแพร่ ผลงาน ลูกคิดไทย


15

การเผยแพร่ ผลงาน ลูกคิดไทย


16


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.