BP นางศิริพร ชูทอง

Page 1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษา มีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข”

โดย

โดย

นางศิริพร ชูทอง ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนชานาญการ โรงเรียนบ้านพุประดู่ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ชื่อเรื่อง ชื่อผูจ้ ัดทา

(ก) นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษา มีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” นางศิริพร ชูทอง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านพุประดู่ ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี บทสรุปสาหรับผู้บริหาร

นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพ ทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข ”ครั้งนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัต ถุประสงค์ เพื่อสร้าง นวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรม เพื่อให้โรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ/กระบวนการ ทางานด้วยระบบคุณภาพทั้งองค์การ ประสานความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน ให้ครูพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้นักเรียนมี ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง ขึ้ น มี ทั ก ษะการด าเนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ให้ ค รู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีความพึงพอใจในระบบ และผลการบริหารงานของโรงเรี ยน โดยสังเคราะห์ทฤษฎี หลักการ แนวคิด และเทคนิคทางการบริหารมา ประยุกต์ดังนี้ ใช้หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management สร้าง นวัตกรรมและนานวัตกรรมเข้าสู่กระบวนการบริหารเชิงระบบ (System Theory) ตามรูปแบบการบริหารจัดการ อย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในการดาเนินการตาม วงจร PDCA ของเดมมิ่ง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการทางานและบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ท้ายที่สุด ได้นวัตกรรม BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” กลุ่ ม เป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ ได้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จานวน ๑๗๘ คน ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จานวน ๑๘๐ คน ผลการพัฒนานวัตกรรมและนานวัตกรรมไปใช้ พบว่า ๑ โรงเรียนสร้างนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรม ๒ โรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ/กระบวนการทางานด้วยระบบคุณภาพทั้งองค์การ ๓ เกิดความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด โรงเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน ๔ ครูพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๕ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีทักษะการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖ ครู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจในระบบและผลการบริหารงานของโรงเรียน สรุป ได้ว่า การดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนบ้านพุประดู่ โดยใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ครั้งนีบ้ รรลุเป้าหมายสูงสุด คือ เกิดการพัฒนาโรงเรียนบ้านพุประดู่ อย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ


(ข) คานา นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพ ทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข ”ครั้งนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัต ถุประสงค์ เพื่อสร้าง นวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรม เพื่อให้โรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ/กระบวนการ ทางานด้วยระบบคุณภาพทั้งองค์การ ประสานความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน ให้ครูพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้นักเรียนมี ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง ขึ้ น มี ทั ก ษะการด าเนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ให้ ค รู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีความพึงพอใจในระบบ และผลการบริหารงานของโรงเรียน โดยสังเคราะห์ทฤษฎี หลักการ แนวคิด และเทคนิคทางการบริหารมา ประยุกต์ดังนี้ ใช้หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management สร้าง นวัตกรรมและนานวัตกรรมเข้าสู่กระบวนการบริหารเชิงระบบ (System Theory) ตามรูปแบบการบริหารจัดการ อย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในการดาเนินการตาม วงจร PDCA ของเดมมิ่ง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการทางานและบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล การด าเนิ น งานส าเร็ จ ลุ ล่ ว งได้ ด้ ว ยความอนุ เ คราะห์ แ ละการช่ ว ยเหลื อ เป็ น อย่ า งดี จากคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านพุประดู่ คณะกรรมการที่ปรึกษา ผู้ปกครองนักเรียน องค์การ บริหารส่วนตาบลหนองบัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองแกและหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ทีร่ ่วมดาเนินการทุกขั้นตอน ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ทาให้นวัตกรรมมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทั้งนี้ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทั้ง ๓ ท่าน ได้แก่ นางสุวนีย์ กาญจนฉายา ผู้อานวยการโรงเรียน บ้านหัวหิน นางพนอรัตน์ ชุนหวานิช ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยตลุง และนายวัฒนา สุขเกษ ผู้อานวยการ โรงเรียนสมาคมนักเรียนเก่าราชินี ที่ได้อนุเคราะห์ตรวจสอบเครื่องมือ และให้คาปรึกษาในการจัดทาและพัฒนา นวั ตกรรมครั้ งนี้ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าผู้ที่ศึกษาและนานวัตกรรมนี้ไปประยุกต์ใช้ จะได้รับประโยชน์และช่ว ย พัฒนาการจัดการศึกษาให้เจริญก้าวหน้าสืบไป

ศิริพร ชูทอง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านพุประดู่


(ค) สารบัญ หน้า บทสรุปสาหรับผู้บริหาร คานา สารบัญ ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา หลักการและเหตุผล เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ความเชื่อมโยงระหว่าง Best Practice กับเป้าหมายของ สพป. / สพฐ. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice กระบวนการพัฒนา Best Practice ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice กระบวนการตรวจสอบซ้า การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ ภาคผนวก ประวัติผู้พัฒนานวัตกรรม

(ก) (ข) (ค) ๑ ๑ ๑ ๔ ๔ ๔ ๔ ๕ ๘ ๑๒ ๑๒ ๑๔ ๕๖


ผลงานนวัตกรรม BEST PRACTICE ๑. ชื่อผลงาน Best Practice นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพ ทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา Best Practice นางศิริพร ชูทอง ๒.๒ โรงเรียนบ้านพุประดู่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘-๑๗๐๕-๗๗๙๐ E-mail : nancysirip@hotmail.com facebook : ศิริพร ชูทอง ๓. หลักการและเหตุผล ภารกิจหลักของสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ คือ จัดการศึกษาให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า สิบสองปี ให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และในมาตรา ๔ ได้ให้ความหมายของ "การศึกษา" ไว้ว่าเป็น กระบวนการ เรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทาง วัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อีกทั้งในมาตรา ๖ ระบุว่าการจัด การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โรงเรี ย นบ้านพุป ระดู่ สังกัดสานั กงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักในภารกิจและความรับผิดชอบที่จะต้องจัดการศึกษาให้เป็นไปตาม เจตนารมณ์ของกฎหมายดังกล่าว แต่สภาพปัจจุบันของโรงเรียนทาให้เกิดข้อจากัดในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้ ได้มาตรฐาน เนื่องด้วยโรงเรี ยนบ้านพุประดู่ ตั้งอยู่ในชุมชนที่มีสภาวะทางเศรษฐกิจไม่ดี ผู้ ปกครองส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพรับจ้าง รายได้ต่อปีเฉลี่ยครอบครัวละไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท ระดับการศึกษาเฉลี่ย อยู่ในระดับ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ผู้ปกครองต้องการให้บุตรหลานทางานช่วยหารายได้ทั้งที่กาลังศึกษาอยู่ กล่าวคือมีค่านิยมที่ไม่ สนั บสนุน ให้ บุ ตรหลานรั บการศึกษา และเนื่องจากโรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ไม่ไกลจากชายแดนพม่ามากนักจึงมี นักเรียนร้อยละ ๒๐ เป็นพม่า มอญ กะเหรี่ยง ซึ่งก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสาคัญที่จะเป็นอุปสรรคในการจัดการศึกษา ให้ได้มาตรฐานเช่นกัน ที่กล่าวมาพบข้อมูลยืนยันจากสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม โรงเรียนบ้านพุประดู่ ยังมุ่งมั่นที่ จะพัฒนาการจัดการศึกษาภายใต้ข้อจากัดที่มีอยู่หลาย ประการ โดยนางศิริพร ชูทอง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านพุประดู่ ย้ายมาดารงตาแหน่งตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๓ จึงได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน จากนั้นจึงระดมความคิดจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อทราบ ปัญหาและความต้องการจากบุคคลในมุมมองที่หลากหลาย และให้ร่วมกันวางภาพอนาคตของโรงเรียนว่าควรจะมี ทิศทางไปทางใดภายใต้บริบทของโรงเรียนและชุมชนจึงนาความต้องการดังกล่าวมาสังเคราะห์ได้ข้อเท็จจริงว่าชุมชน หวังให้ บุ ตรหลานได้รั บการศึกษาแต่ไม่มีความพร้อมด้านเศรษฐกิจ และยินดีให้ ความร่ว มมือกับโรงเรียนหาก โรงเรียนต้องการความช่วยเหลือด้านอื่นที่ไม่ใช่เรื่องเงิน


๒ จากเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว ทาให้โรงเรียนบ้านพุประดู่ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนา คุณภาพทั้งองค์การ โดยพัฒนาในทุก ๆ ด้านไปพร้อมกันเพื่อให้เป็นปัจจัยสนับสนุนซึ่งกันและกัน เช่น เมื่อสร้าง ค่านิยมและความสัมพันธ์อันดีแก่ชุนชน โรงเรียนก็จะได้รับความร่วมมือในทุก ๆ เรื่องตามกาลังและความพร้อมของ ชุนชน ขณะเดียวกันโรงเรียนต้องพัฒนาครูและบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ ให้จัดการเรียนรู้เพื่อสร้างความเชื่อมั่นจาก ผู้ปกครอง ขณะเดียวกันต้องทาความเข้าใจกับผู้ปกครองและชุมชน โดยอ้างอิงพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรา ๖ ว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จึงไม่ใช่องค์ประกอบหลัก เพียงข้อเดียวที่จะตัดสินว่านักเรียนได้รับการพัฒนาและประสบ ความสาเร็จ ยังมีองค์ประกอบด้านอื่น ๆ อีก เช่น ด้านร่างกาย จิตใจ คุณธรรมจริยธรรม ที่สาคัญสามารถ ดารงชีวิตและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพื่อให้เกิดความสาเร็จดังที่ตั้งเป้าหมายไว้ จึงต้องสร้างนวัตกรรมทางการบริหารและจัดการศึกษา เพื่อให้มีความเหมาะสมที่จะใช้พัฒนาตามบริบทของโรงเรียน โดยสังเคราะห์ทฤษฎี หลักการ แนวคิด และ เทคนิคทางการบริหารมาประยุกต์ดังนี้ ใช้หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management สร้างนวัตกรรมและนานวัตกรรมเข้าสู่กระบวนการบริหารเชิงระบบ (System Theory) ตาม รูปแบบการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณา การในการดาเนินการตามวงจร PDCA ของเดมมิ่ง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการทางานและบริหารจัดการโดยใช้ หลักธรรมาภิบาล ท้ายที่สุด ได้นวัตกรรม BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามี คุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ตามความมุ่งหวังของผู้ปกครองและ ชุมชน สอดคล้องตามหลักการจัดการศึกษาในมาตรา ๘ คือ สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (บวรน่าอยู่) พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง (คุณครูสอนดี) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับ ประชาชน (เด็กมีความสุข)


๓ โดยการดาเนินการได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดังนี้ พอประมาณ - บริหารจัดการตามบริบท ปัจจัยความพร้อมต่าง ๆ ของ ๓ ห่วง โรงเรียน - ตั้งเป้าหมาย ความคาดหวัง ให้เหมาสมกับปัจจัยนาเข้า มีเหตุผล - วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของ โรงเรียน - ดาเนินการให้เหมาะสมกับบริบท มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ดาเนินกิจการและบริหารงานตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ ของทางราชการ (ต้นสังกัด) และสามารถยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ (บริหารความเปลี่ยนแปลง) - สามารถสร้างสรรค์กิจกรรม วิธีการบริหาร นอกกรอบได้ โดยมีกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติรองรับ ๒ เงื่อนไข ความรู้ การดาเนินการครั้งนี้ใช้ความรู้เรื่องแนวคิด ทฤษฎี หลักการ บริหารจัดการศึกษา ดังนี้ - หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management - บริหารเชิงระบบ (System Theory) - การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) - หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - วงจร PDCA ของเดมมิ่ง - หลักธรรมาภิบาล คุณธรรม - หลักพรหมวิหาร ๔ - หลักธรรมาภิบาล ส่งผลให้เกิดความสมดุล มั่นคง ยั่งยืนใน ๔ มิติ ดังนี้ มิติวัตถุ/เศรษฐกิจ มิติสังคม มิติสิ่งแวดล้อม - เกิดการพัฒนาที่ เกิดความร่วมมือ - อาคารสถานที่ ต่อเนื่องและยั่งยืน ร่วมแรง ร่วมใจ บรรยากาศในโรงเรียน ประสานความคิด ได้รับการพัฒนาให้น่าดู ประสานประโยชน์ น่าอยู่ น่าเรียน และ ระหว่าง บ้าน วัด ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้ โรงเรียน - ขยายผลสูช่ ุมชน และใช้แหล่งเรียนรู้ที่มี อยู่ในชุมชนได้อย่าง คุ้มค่า

มิติวัฒนธรรม - ทาให้โรงเรียนมีส่วน ร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีที่ดี ของชุมชนและเผยแพร่ - เกิดวัฒนธรรมองค์กร ทีส่ ร้างสรรค์


๔ ๔. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ๔.๑ เป้าหมาย การดาเนินการบริหารจัดการโรงเรียนบ้านพุประดู่โดยใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ครั้งนี้มีเป้าหมายสูงสุดเพื่อพัฒนาโรงเรียนบ้านพุประดู่ให้มีคุณภาพทั้งองค์การ ๔.๒ วัตถุประสงค์ ๔.๒.๑ เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรม ๔.๒.๒ เพื่อให้โรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ/กระบวนการทางานด้วยระบบคุณภาพ ทั้งองค์การ ๔.๒.๓ เพื่อประสานความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการจัด การศึกษาและพัฒนาโรงเรียน ๔.๒.๔ เพื่อให้ครูพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๔.๒.๕ เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีทักษะการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๒.๖ เพื่อให้ครู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมีความพึงพอใจในระบบและผลการบริหารงานของโรงเรียน ๕. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice การดาเนินการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพ สถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ครั้งนี้ผู้พัฒนาได้ ออกแบบ ดาเนินการและพัฒนารูปแบบให้เหมาะสมกับบริบทและปัจจัยต่าง ๆ ของสถานศึกษา โดยใช้ ระยะเวลา ๒ ปีการศึกษา คือ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ – ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๖. ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา ตามกลยุทธ์ของ สพฐ. และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ กลยุทธ์ที่ ๑-๕ นามาสู่แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการของโรงเรียน โดยสังเคราะห์หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management, การบริหารเชิงระบบ (System Theory), การบริหารจัดการอย่างมี คุณภาพทั้งองค์การ (PMQA), หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, วงจร PDCA ของเดมมิ่งและหลักธรรมาภิบาล เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ๗. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice การพัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพ สถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ในครั้งนี้เกิดจาก การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการของโรงเรียนและชุมชน ผู้พัฒนา BP ได้สังเคราะห์หลักการ บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management สร้างนวัตกรรม BANPUPRADU School และนานวัตกรรมเข้าสู่กระบวนการบริหารเชิงระบบ (System Theory) ตามรูปแบบการบริหารจัดการ


๕ อย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในการดาเนินการตาม วงจร PDCA ของเดมมิ่ง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการทางานและบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล สรุปแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ทั้งหมดมีดังนี้ - หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน SBM : School – Based Management - บริหารเชิงระบบ (System Theory) - การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) - หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - วงจร PDCA ของเดมมิ่ง - หลักธรรมาภิบาล ๘. กระบวนการพัฒนา Best Practice ๘.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน ๑ คน ครู จานวน ๖ คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จานวน ๗ คน คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ จานวน ๕ คน นักเรียน จานวน ๑๐๙ คน ผู้ปกครองนักเรียนชั้น อนุบาล ๑ – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๕๐ คน รวมทั้งสิ้น จานวน ๑๗๘ คน ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน ๑ คน ครู จานวน ๖ คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จานวน ๗ คน คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ จานวน ๕ คน นักเรียน จานวน ๑๑๑ คน ผู้ปกครองนักเรียนชั้น อนุบาล ๑ – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๕๐ คน รวมทั้งสิ้น จานวน ๑๘๐ คน ๘.๒ ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice ๘.๒.๑ ขั้นออกแบบนวัตกรรม - ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการของโรงเรียนและชุมชน ตามบริบทของ โรงเรียน - ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนเพื่อนามา สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ - ออกแบบนวัตกรรม โดยนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ที่เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียนเพื่อนามาสังเคราะห์และประยุกต์ใช้ ดังนี้


๖ B - Baseline data ข้อมูลพื้นฐาน การจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ของโรงเรียนให้ เป็นระบบ สะดวกและง่ายต่อการใช้งาน ทันสมัย ครบถ้วนและถูกต้อง A – Aim วัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย กาหนดวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายหรือเป้าหมาย เพื่อให้มีทิศทางการดาเนินงานที่ชัดเจนในทุกกิจกรรม N – Natural การพัฒนาอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ให้มีบรรยากาศทีด่ ี สะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น เอื้อต่อการเรียนรู้ ส่งผลให้โรงเรียนมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม P – Policy กฎหมาย พระราชบัญญัติ ระเบียบ นโยบาย จุดเน้น การ ดาเนินงานต้องอาศัยกฎหมาย พระราชบัญญัติ ระเบียบ นโยบาย จุดเน้น อ้างอิงและรองรับ แต่ต้องมีความ ยืดหยุ่นได้ U – Unity ความเป็นเอกภาพ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและสร้างพลังสามัคคี ด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างครู นักเรียน ชุมชน เช่น ทัศนศึกษา ศึกษาดูงาน การประชุมแบบไม่เป็นทางการ การรับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในโรงเรียน กีฬา ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน จุลสาร “พุประดู่สัมพันธ์” ฯลฯ เพื่อสร้างความเข้าใจนาไปสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความเป็นเอกภาพ P – Participation or Coolaboration or Involvement การมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสีย โดยการลงทุนด้วยการสร้างศรัทธาและความเสียสละของผู้บริหารและครู Research – การพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจในการวิเคราะห์ผู้เรียน ดาเนินการเรื่องระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทาวิจัยโดยส่งเสริมให้ครูนาปัญหาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาศึกษา เพื่อหาวิธีแก้ปัญหาและทาวิจัยชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอนและปัญหาพฤติกรรม ของนักเรียน A – Apply การประยุกต์ ดัดแปลง การนาไปใช้ประโยชน์ ปลูกฝังให้ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน นาสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิต ให้ครูปรับปรุง การทางานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ตามการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) D – Decentralization กระจายอานาจ มอบหมายงานให้ครูและบุคลากร ตามความถนัด จัดโครงสร้าง มีคาสั่งมอบหมายงานให้ชัดเจนเพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ปฏิบัติ สร้างความ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ คณะกรรมการ ภาคี ๔ ฝ่าย เครือข่ายผู้ปกครอง และคณะกรรมการรวมถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อการดาเนินงานที่คล่องตัว U – Universality ความเป็นสากล ดังนั้นครูต้องมีการพัฒนาตนเองในด้าน ต่าง ๆ นักเรียนต้องได้รับการปลูกฝังให้มีทักษะการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการแก้ปัญหา พร้อมรับและเผชิญกับ ทุกสถานการณ์ - นานวัตกรรมที่ออกแบบนาเสนอต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อปรับแก้ไข - นานวัตกรรมที่ปรับแก้ตามข้อเสนอแนะไปสร้างความตระหนักแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย วิธีการต่าง ๆ - ร่วมกันกาหนดแผน เป้าหมาย ของการใช้นวัตกรรม ๘.๒.๒ ขั้นดาเนินงานตามกิจกรรมของนวัตกรรม ดาเนินการตามกิจกรรมของนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการบริหาร BANPUPRADU School รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์กร เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” โดยนานวัตกรรมการบริหาร BANPUPRADU School เข้าเข้าสู่กระบวนการ


๗ บริหารเชิงระบบ (System Theory) ตามรูปแบบการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) บน พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในการดาเนินการตามวงจร PDCA ของเดมมิ่ง เพื่อกาหนดทิศ ทางการดาเนินงานที่ชัดเจน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการทางานและบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล เพื่อ มุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดคือ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมีความสุข” ดังนี้ Output (ผลผลิต)

Feed back Process (กระบวนการ )

Input (ปัจจัยนาเข้า)

แผนภาพ การนานวัตกรรมการบริหาร BANPUPRADU School เข้าสู่กระบวนการบริหารเชิงระบบ (System Theory) ตามรูปแบบการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพทั้งองค์การ (PMQA) ๘.๒.๓ ขั้นประเมินผล ประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้วยรูปแบบต่าง ๆ เช่น แบบสอบถามความ พึงพอใจ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สังเกต ๘.๒.๔ ขั้นปรับปรุงพัฒนานวัตกรรม นาผลจากการดาเนินการและการประเมินมาปรับปรุง พัฒนานวัตกรรมเพื่อดาเนินการในวงรอบต่อไป ๘.๓ การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice - แบบสอบถามความพึงพอใจ


๘ ๘.๔ แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ประโยชน์ ๘.๔.๑ นานวัตกรรมไปใช้อย่างเป็นระบบ ๘.๔.๒ นานวัตกรรมและผลจากการใช้นวัตกรรมจัดเก็บเป็นข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ๘.๔.๓ นาผลจากการใช้นวัตกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโรงเรียนต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๘.๔.๔ เผยแพร่นวัตกรรมในวงกว้าง ๙. ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice ๙.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียน โรงเรียนได้รับรางวัล โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ “ระดับทอง” ครู (๑) นางสาวพนิดา สาเร็จ ได้รับรางวัลครูสอนดี จากสานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการ เรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) (๒) นางสาวพนิดา สาเร็จ ได้รับรางวัลหนี่งแสนครูดี ประจาปี ๒๕๕๔ (๓) นางอุษณีย์ ศรีนวล ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง กิจกรรมจัดสวนถาดแบบชื้นระดับชั้น ป.๔ – ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๔) นางสาวพนิดา สาเร็จ ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง กิจกรรมจัดสวนถาดแบบชื้นระดับชั้น ป.๔ – ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา นักเรียน (๑) ได้รับรางวัลเหรียญทอง การจัดสวนถาดชื้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลาง และภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับภาค (๒) ได้รับรางวัลเหรียญทอง การจัดสวนถาดชื้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๓) ได้รับรางวัลเหรียญทอง การแข่งขันจักสานไม้ไผ่ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๔) ได้รับรางวัลเหรียญเงิน การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๕) ได้รับรางวัลเหรียญเงิน การประกวดโครงงานประเภททดลอง งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๖) ได้รับรางวัลเหรียญเงิน การประกวดขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๗) ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง การแข่งขันราวงมาตรฐาน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา


๙ (๘) ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดร้องเพลงพระราชนิพนธ์ (ประเภท นักเรียนหญิง) เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔ จากองค์การ บริหารส่วนตาบลหนองบัว (๙) ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๓ การประกวดร้องเพลงพระราชนิพนธ์ (ประเภท นักเรียนชาย) เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔ จากองค์การ บริหารส่วนตาบลหนองบัว ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ครู (๑) นางศิริพร ชูทอง ได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “หนี่งแสนครูดี” ประจาปี ๒๕๕๕ (๒) นางมาลี กาญจนคเชนทร์ ได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “หนี่งแสนครูดี” ประจาปี ๒๕๕๕ (๓) นางอุษณีย์ ศรีนวล ได้รับเกียรติบัตรและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “หนี่งแสนครูดี” ประจาปี ๒๕๕๕ (๔) นางสาวพนิดา สาเร็จ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้ทาผลงานทางวิชาการ ได้รับวิทยฐานะ ชานาญการ (๔) นางมาลี กาญจนคเชนทร์ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้ทาผลงานทางวิชาการ ได้รับวิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ (๕) นางอุษณีย์ ศรีนวล ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง กิจกรรมจัดสวนถาดแบบชื้นระดับชั้น ป.๔ – ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับภาค (๖) นางสาวพนิดา สาเร็จ ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง กิจกรรมจัดสวนถาดแบบชื้นระดับชั้น ป.๔ – ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับภาค (๗) นางอุษณีย์ ศรีนวล ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันราวงมาตรฐาน ป.๑–ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๘) นางมาลี กาญจนคเชนทร์ ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับ เหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันราวงมาตรฐาน ป.๑–ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๙) นางมาลี กาญจนคเชนทร์ ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับ เหรียญทอง กิจกรรมการท่องอาขยาน ป.๑–ป.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๑๐) นางอุษณีย์ ศรีนวล ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญ ทองแดง กิจกรรม Science Show ระดับชั้น ป.๔–ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา


๑๐ (๑๑) นางขนิษฐา แจ้งกระจ่าง ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับ เหรียญทองแดง กิจกรรม Science Show ระดับชั้น ป.๔–ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๑๒) นางสุรีย์ แต้มเรืองอิฐ ฝึกสอนนักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กิจกรรมการแข่งขันจัดสานไม้ไผ่ ระดับชั้น ป.๔–ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา นักเรียน (๑) ได้รับรางวัลเหรียญทอง การจัดสวนถาดแบบชื้น ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับภาค (๒) ได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ การจัดสวนถาดแบบชื้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๓) ได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กิจกรรมการแข่งขันจักสานไม้ไผ่ ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๔) ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.๑ป.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๕) ได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา (๖) ได้รับรางวัลเหรียญทอง การประกวดขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๗) ได้รับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๘) ได้รับรางวัลเหรียญเงิน การแข่งขันราวงมาตรฐาน ระดับชั้น ป.๑- ป.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๙) ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรม Science Show ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (๑๐) ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันประกอบอาหารพื้นบ้าน (แกงส้มหลดบัว) ระดับชั้น ป.๑- ป.๖ โครงการประเพณีแห่เทียนพรรษาตาบลหนองบัว ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จากองค์การ บริหารส่วนตาบลหนองบัว (๑๑) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันประกอบอาหารพื้นบ้าน (แยมหยวก) ระดับชั้น ป.๑- ป.๖ โครงการประเพณีแห่เทียนพรรษาตาบลหนองบัว ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จากองค์การบริหารส่วนตาบลหนองบัว (๑๒) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันประกอบอาหารพื้นบ้าน (น้าพริกกะปิมอญ) ระดับชั้น ป.๑- ป.๖ โครงการประเพณีแห่เทียนพรรษาตาบลหนองบัว ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จากองค์การบริหารส่วนตาบลหนองบัว


๑๑ (๑๓) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ โครงการประเพณีแห่เทียนพรรษาตาบลหนองบัว ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จากองค์การบริหารส่วนตาบลหนองบัว (๑๔) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันการสร้างงานนาเสนอด้วย โปรแกรม Microsoft Powerpoint ๒๐๑๐ ระดับชั้น ป.๔- ป.๖ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ปีการศึกษา ๒๕๕๖ โรงเรียน โรงเรียนผ่านการประเมินสถานศึกษาแบบอย่างการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” นักเรียน เด็กหญิงบัวบูชา เกตุพงษ์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ได้รับรางวัลชนะเลิศการ ประกวดอ่านทานองเสนาะ ระดับประถมศึกษา โครงการวันสุนทรภู่ประจาปี ๒๕๕๖ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี ๙.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๙.๒.๑ โรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรม ๙.๒.๒ โรงเรียนใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการ/กระบวนการทางานด้วยระบบคุณภาพทั้ง องค์การ ๙.๒.๓ เกิดความร่วมมือที่เข้มแข็งระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการ จัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน ๙.๒.๔ ครูพัฒนาตนเองในด้านวิชาการ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและพัฒนางานด้วยวิธีการที่ หลากหลาย ๙.๒.๕ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีทักษะการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๙.๒.๖ ครู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ นักเรียน ผู้ปกครองและ ชุมชนมีความพึงพอใจในระบบและผลการบริหารงานของโรงเรียน ๙.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมี ความสุข” มีความพึงพอใจ โดยข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ ดังนี้ - ผู้บริหารสถานศึกษา มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ ๙๘ - ครู มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ ๙๘ - คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ ๙๕ - คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ ๙๗ - นักเรียน มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ ๙๗ - ผู้ปกครองนักเรียนชั้น อนุบาล ๑ – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ ๙๑


๑๒ ๙.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice ๙.๔.๑ ผู้บริหารศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการของโรงเรียนและชุมชน และใช้ ทักษะการตัดสินใจดาเนินการบนพื้นฐานข้อมูลที่เป็นจริง มุ่งมั่นในการพัฒนาโรงเรียน มีความสามารถในการ บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ๙.๔.๒ ครูและบุคลากร มีศักยภาพ มีความรู้ความสามารถ มีความมุ่งมั่น เสียสละ และ ทุ่มเทดูแลนักเรียนเรียนรู้วิชาการ เอาใจใส่นักเรียนดูแลเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และความประพฤติ ๙.๔.๓ โรงเรียนจัดแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพตามบริบทและสอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาต่าง ๆ เอื้อต่อการเรียนรู้ ๙.๔.๔ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ ผู้นาชุมชน ผู้ปกครอง ให้ความ ร่วมมือกับโรงเรียนในทุกด้านอย่างเข้มแข็ง ๙.๔.๕ โรงเรียนได้รับการสนับสนุนด้านต่าง ๆ จากหน่วยงานภายนอก องค์กร และบุคคล อย่างต่อเนื่อง ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ ๙.๔.๖ การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด และโรงเรียน อันดับแรกต้องสร้างศรัทธาและ ความตระหนัก ๙.๔.๗ ผู้บริหารต้องมีทักษะทางการบริหารและใช้หลักการบริหารต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ตาม สถานการณ์เพื่อบรรลุเป้าหมาย ๑๐. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๑๐.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า Best Practice นาผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจมาปรับปรุงแก้ไข โดยใช้กระบวนการกากับ ติดตาม วัดผลและ ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบเพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมี ความสุข” ๑๐.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรมการบริหารจัดการ BANPUPRADU School : รูปแบบการบริหารคุณภาพสถานศึกษามีคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อมุ่งสู่ “บวรน่าอยู่ คุณครูสอนดี เด็กมี ความสุข” ทาให้การดาเนินงานมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงขึ้น ๑๑. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ๑๑.๑ นาเสนอในที่ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ๑๑.๒ นาเสนอในที่ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียนทุกชั้น ๑๑.๓ นาเสนอในที่ประชุมครู ๑๑.๔ รายงานคณะกรรมการสถานศึกษาฯและกรรมการที่ปรึกษาฯ ๑๑.๕ นาเสนอในรูปแบบนิทรรศการในงานวิชาการประจาปีของโรงเรียน


๑๓ ๑๑.๖ จุลสาร “พุประดู่สัมพันธ์” ๑๑.๗ นาเสนอในที่ประชุมครู ๑๑.๘ นา Best Practice ส่งให้โรงเรียนในเครือข่ายหนองบัวแก่งเสี้ยน จานวน ๗ โรง เพื่อให้ ผู้บริหารและผู้สนใจนาไปศึกษาและปรับใช้ตามความเหมาะสม ๑๑.๙ นา Best Practice ส่งให้หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียน เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล หนองบัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองแก ฯลฯ


ภาคผนวก


๑๕ ภาพผลสาเร็จตามเป้าหมาย บวรน่าอยู่


๑๖ ภาพผลสาเร็จตามเป้าหมาย คุณครูสอนดี


๑๗ ภาพผลสาเร็จตามเป้าหมาย เด็กมีความสุข


ผลสาเร็จที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม (เกียรติบัตร/วุฒิบัตร)


๑๙


๒๐


๒๑


๒๒


๒๓


๒๔


๒๕


๒๖


๒๗


๒๘


๒๙


๓๐


๓๑


๓๒


๓๓


๓๔


๓๕


๓๖


๓๗


๓๘


๓๙


๔๐


๔๑


๔๒


๔๓


๔๔


๔๕


๔๖


๔๗


๔๘


๔๙


๕๐


๕๑


๕๒


๕๓


๕๔


๕๕


๕๖

ประวัติผพู้ ัฒนานวัตกรรม

ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ที่ทางาน

นางศิริพร ชูทอง ๑๙ สิงหาคม ๒๕๒๑ จังหวัดลพบุรี ๕๙/๒๑ หมู่ที่ ๓ ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ๐๘๑-๗๐๕-๗๗๙๐ โรงเรียนบ้านพุประดู่ หมู่ที่ ๗ ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑

ประวัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๘

สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๑) วิชาเอกการประถมศึกษา จากสถาบันราชภัฏกาญจนบุรี สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ประวัติการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๔๘–๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๔๙–๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๑–๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๓-ปัจจุบัน

อาจารย์ ๑ ระดับ ๓ โรงเรียนบ้านคลองสะท้อน อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา อาจารย์ ๑ ระดับ ๓ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๑ (บ้านลาเหย) อาเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี รองผู้อานวยการโรงเรียนวัดเขารักษ์ อาเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดอนสว่าง อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านพุประดู่ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

*********


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.