Best Practice นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว

Page 1

ปี 2557

Best Practice “Phone-Egg Machine” กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ ภาษาอังกฤษ ด้ านวิชาการ

นางสาวอนุสรา เกตุแก้ ว ตาแหน่ ง ครู คศ.1

โรงเรียนดิศกุล สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


คานา เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเสนอขอรับการประเมินรับรางวัล OBEC AWARDS ครู ผสู้ อนยอด เยี่ย ม ประเภทบุ ค คลากรยอดเยี่ย ม ด้า นวิช าการยอดเยี่ย ม กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาต่ า งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผูจ้ ดั ทาได้รวบรวม สรุ ปผลงานตาม หัวข้อการประเมินที่กาหนด พร้อมแนบหลักฐาน เอกสารอ้างอิงไว้ดว้ ยแล้ว เอกสารประกอบเพื่อขอรั บการประเมิ นฉบับนี้ เสร็ จสมบูรณ์ ได้ด้วยความร่ วมมือของนักเรี ยน บุคลากรโรงเรี ยนดิศกุล ที่ได้ช่วยรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ทาให้สะดวกต่อการจัดทารายงานฉบับนี้ หวังว่า เอกสารฉบับนี้ คงจะอานวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการการประเมิน ในการพิจารณา ตรวจสอบ คุณสมบัติของโรงเรี ยนซึ่ งเข้ารับการประเมินต่อไป

อนุสรา เกตุแก้ว

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


สารบัญ เรื่อง

หน้ า

คานา ผลงานที่เป็ นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน ข้อมูลทัว่ ไปของผูพ้ ฒั นา วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้ าหมาย/จุดเน้น สพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ผลสาเร็ จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนาปรับปรุ ง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่ อง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็ จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ประวัติผจู้ ดั ทา ภาคผนวก ภาพถ่ายกิจกรรม

ก 1 1 1 1 1 2 7 7 8 8 9 10

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


ผลงานการปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศ Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice : “ Phone-egg Machine ” กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ด้านวิชาการยอดเยีย่ ม 2. ข้อมูลทัว่ ไปของผูพ้ ฒั นา Best Practice 2.1 ชื่อผูพ้ ฒั นา Best Practice นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว 2.2 โรงเรี ยนดิศกุล เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาหนองตากยา 2.3 โทรศัพท์ 08-9035-0236 e-mail : kanoosara@gmail.com 3. วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice 1. เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษ 2. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีในการเรี ยนภาษาอังกฤษ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาที่เริ่ มการพัฒนา วันที่ 1 กรกฎาคม – 1 สิ งหาคม 2557 โดยจัดการเรี ยนการสอน สัปดาห์ละ 2 ชัว่ โมง เป็ นเวลา 5 สัปดาห์ รวม 10 ชัว่ โมง 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้ าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา จุดเน้นของสถานศึก ษาคือ ความสามารถในการอ่า นออกเสี ยงชัดเจน ถูก ต้อง ตาม หลักเกณฑ์การอ่านและเหมาะสมกับระดับชั้นของผูเ้ รี ยน และสามารถจับใจความของเรื่ องที่อ่านได้ ซึ่ งในปี พุทธศักราช 2558 ภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษามาตรฐานกลางที่สาคัญอันจะนาไปสู่ การเรี ยน การฝึ กฝนอบรมในทักษะวิชาชี พต่างๆ ในแถบประเทศอาเซี ยน ดังนั้นคนไทยทุกคนจึงจาเป็ นต้อง เรี ยนรู้และใช้ภาษาอังกฤษได้ เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการสื่ อสาร การทางาน และการศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม เพื่อให้เข้าใจถึงสังคม วัฒนธรรม และประเพณี ต่างๆที่จะมีส่วนช่ วยในการดาเนิ นชี วิตใน ประชาคมอาเซี ย นของเราให้มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและคุ ณ ภาพที่ ดี โดยการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานจัด ภาษาอัง กฤษให้ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู ้ ภ าษาต่ า งประเทศ ซึ่ งนั ก เรี ยนทุ ก คนต้อ งเรี ยน ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สอง (ภาษาอังกฤษกับอาเซี ยน, 2557, ออนไลน์) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภ าษาต่ า งประเทศ ตามหลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้นพื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดคุ ณภาพผูเ้ รี ยน ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 เน้นอ่านออกเสี ยงตัวอักษรคา เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

1


กลุ่ มค า ประโยคให้มีป ระสิ ทธิ ภาพตามจุ ดมุ่ง หมายของหลัก สู ตรและให้ผูเ้ รี ย นใช้ภาษาในการ ติดต่อสื่ อสารได้อย่างถูกต้อง จึงจาเป็ นต้องมีการฝึ กฝนทักษะพื้นฐานที่สัมพันธ์กนั ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน (กระทรวงศึกษาธิ การ, 2551,น. 220) ดังนั้น การสอนอ่านคาศัพท์เป็ นจึงเป็ นแนวทางที่ดีในการอ่านเริ่ มข้อความและเนื้ อเรื่ องที่ ยาวขึ้นเพื่อที่สามารถติดต่อสื่ อสารหรื อจับใจความของเนื้อเรื่ องที่อ่าน 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ทฤษฎี ที่ น ามาใช้ใ นการพัฒ นา BP คื อ วิธี ก ารสอนแบบโฟนิ ก ส์ ซึ่ งสามารถอธิ บ ายได้ใ น 2 รู ปแบบ คือ 1. โฟนิกส์รูปแบบ Explicit Phonics หรื อ synthetic phonics คือ การสอนให้เด็ก รู้จกั เสี ยงที่แทนด้วยตัวอักษรทีละเสี ยง ตัวอย่างเช่ น ครู สอนให้เด็กรู้จกั ตัวอักษร m ซึ่ งเป็ น สัญลักษณ์ หรื อเป็ นตัวแทนเสี ยง /m/ในคาว่า man (Beck & Juel, 1992, p.112 ; citing Anderson; et al., 1985, p.42) การสอนโฟนิกส์รูปแบบนี้เป็ นการสอนที่ช้ ีให้เด็กมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างรู ป ตัวอักษรกับเสี ยงอย่างชัดเจนโดยครู สอนแยกเสี ยงทีละหน่วยเสี ยง หลังจากนั้นจึงสอนกระบวนการ นาเสี ยงเหล่านั้นมาประสมให้เป็ นพยางค์ หรื อคา และอ่านออกเสี ยง (Beck & Juel, 1992, p.112 114) ครู ผสู ้ อนแสดงให้นกั เรี ยนเห็นตั้งแต่พ้นื ฐานเบื้องต้นของการประสมหน่วยเสี ยงให้เป็ นคา เช่น c ออกเสี ยง /k/, a ออกเสี ยง /a/,และ t ออกเสี ยง /t/ เมื่อประสมหน่วยเสี ยงจะอ่านออกเสี ยงคาว่า “cat” (วันเพ็ญ เดียวสมคิด, 2551, น.22 ; อ้างอิงจาก Vacca; et al., 1995, p.50-51) ส่ วน แอลเดรจ (Eldredge, 2005, p.43-45) กล่าวว่าการสอนโฟนิ กส์ รูปแบบนี้ วา่ เป็ นการสอนให้เด็กรู้จกั เสี ยงที่มี ตัวอักษรเป็ นตัวแทนเสี ยง เด็กต้องเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเสี ยงกับรู ป และรู ้จกั หน่วยเสี ยงแต่ละ เสี ยง รวมทั้งการประสมหน่วยเสี ยงหรื อสะกดตัวอักษรให้เกิดเป็ นคารู ปแบบต่างๆ การสอนรู ปแบบ นี้ เด็กจาเป็ นต้องมีความรู ้เรื่ องรหัสหรื อตัวอักษรก่อน ซึ่ งการสอนโฟนิกส์ที่จะให้ประโยชน์สูงสุ ด แก่เด็ก คือ วิธีสอนอย่างกระจ่างชัดแจ้ง (Explicit Approaches) คือ การสอนโดยเน้นให้ผเู้ รี ยนรู้จกั หน่วยเสี ยงทุกๆ ลาดับที่เรี ยงขึ้นเป็ นคาและการเรี ยงลาดับของตัวอักษรที่ปรากฏในคา การสอนด้วย วิธีน้ ี เป็ นการสอนโดยให้เด็กรู ้ จกั แยกหน่ วยเสี ยงในคา (การตระหนักรับรู ้ หน่ วยเสี ยง) และการ เชื่ อมโยงหน่ วยเสี ยงกับตัวอักษรหรื อกลุ่มตัวอักษรที่เป็ นตัวแทนหน่ วยเสี ยง โดยเด็กสามารถนา ความรู ้ เรื่ องหน่ วยเสี ยง การแยกหน่ วยเสี ยง และการเชื่ อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างเสี ยงกับ ตัวอักษร เพื่อนามาประสมให้เกิดเป็ นคาและอ่านออกเสี ยงได้ 2. โฟนิกส์รูปแบบ Implicit Phonics หรื อ analytic phonics คือ การสอนอ่านคา โดยให้เด็ ก เห็ นค าทั้ง ค าโดยไม่ มี ก ารสอนแยกเสี ย งที ล ะเสี ย งที่ ป ระกอบเป็ นค านั้นออกจากกัน (จีรนันท์ เมฆวงษ์, 2547, น.15 ; อ้างอิงจาก Hempenstal, 2002) โฟนิกส์รูปแบบนี้ เป็ นวิธีการที่ไม่ได้ สอนความสัมพันธ์ระหว่างรู ปกับเสี ยงแก่เด็กโดยตรง และไม่ได้ให้เด็กเรี ยนออกเสี ยงของตัวอักษร เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

2


ทีละเสี ยง แต่เป็ นวิธีการที่ให้เด็กวิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ และสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องการแทน เสี ยงของตัวอักษรด้วยตนเองการให้เด็กอ่านคาในเรื่ องสั้นๆ หรื อรายการคาที่มีรูปแบบการสะกดคา ตามเสี ยง (Spelling – Sound Patterns) ที่มีลกั ษณะคล้ายกันหลายๆ คา จนเด็กสามารถสร้างข้อสรุ ป ได้เอง เช่น ครู อ่านออกเสี ยงพร้อมทั้งชี้ คาที่อ่าน ได้แก่ man, make และ mother จากการเชื่อมโยง เสี ยงที่ได้ยินกับเสี ยงที่เคยได้ฟังมาก่อน และการมองเห็นคาที่ประกอบด้วยตัวอักษร เด็กจะสรุ ปได้ ว่า เสี ยง /m/ แทนด้วยตัวอักษร m จากตัวอย่างข้างต้น หากเด็กที่รู้จกั คา และเคยได้ยินเสี ยงคาว่า man และ make ที่เคยเรี ยนรู ้มาแล้วว่า ตัวอักษร m ซึ่ งเป็ นสัญลักษณ์แทนเสี ยง /m/ เด็กจะนาความรู้ ที่เคยเรี ยนจากคาที่ข้ ึนต้นด้วย m ไปใช้อ่านคาใหม่ได้ เด็กจะแยกแยะเสี ยงของคาพูด และนาเสี ยงมา เชื่อมโยงกับตัวอักษรที่เห็น (Beck & Juel, 1992, p.112) ส่ วน แอลเดรจ (Eldredge, 2005, p.44-45) กล่าวว่า การสอนโฟนิกส์รูปแบบ Implicit Phonics เป็ นการสอนโดยเน้นความหมาย และ ใช้บริ บทของคาเป็ นตัวชี้ แนะ การสอนรู ปแบบนี้ จึงให้เด็กเห็นเป็ นคา และจาคาทั้งคา โดยใช้คาที่มี การสะกดรู ปแบบเหมือนกัน และให้เด็กเห็นบ่อยๆจนสามารถวิเคราะห์ส่วนประกอบของคา และ เชื่อมโยงเสี ยงกับตัวอักษรหรื อกลุ่มตัวอักษรที่เห็นเด็กจะคาดเดาคาที่ไม่รู้จกั โดยอาศัยบริ บทของคา หลั ก ส าคั ญ ของการถอดรหั ส ในรู ปแบบนี้ จะให้ เ ด็ ก วิ เ คราะห์ บ ริ บทของค า ซึ่ ง รัดแดล (Ruddell, 2001, p. 192) กล่าวว่าการสอนให้เด็กรู ้จกั เสี ยงที่แทนด้วยตัวอักษร ไม่จาเป็ นต้อง สอนแยกเสี ยงทีละหน่วยเสี ยง แต่สามารถใช้บริ บทของคา เช่น การสอนให้เด็กรู้จกั รู ปและเสี ยง /b/ โดยให้เด็กอ่านประโยคต่อไปนี้ The small boy hit the ball with the big bat.วิธีน้ ี เด็กจะเห็นคาทั้งคา และคาดเดาจากความหมายของคาที่ปรากฏในประโยคจากรู ปแบบการสอนโฟนิกส์ดงั กล่าวข้างต้น สรุ ปได้วา่ การสอนโฟนิกส์มี 2 รู ปแบบ ได้แก่ รู ปแบบที่หนึ่ง คือ การสอนอ่านประสมคา โดยแยกทีละตัวอักษร โดยที่ผเู ้ รี ยนสามารถรับรู ้เสี ยงของแต่ละตัวอักษร เพื่อนามาประสมเป็ นคา ส่ วนอีกรู ปแบบ คือ การสอนโดยให้ผเู้ รี ยนเห็นตัวอักษรและได้ยินเสี ยงที่ปรากฏในคา และให้ ผูเ้ รี ยนวิเคราะห์ เชื่อมโยง และสรุ ปเสี ยงที่ได้ยนิ ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่งผูพ้ ฒั นาได้นาขั้นตอนการสอน 6 ขั้นตอนของโฟนิกส์ดงั นี้ 1. ขั้นนา 2. ขั้นสังเกตและรู ้จกั คา 3. การชี้แนะทางสายตา 4. ขั้นสังเคราะห์ 5. ขั้นเสริ มเน้นย้า 6. ขั้นทบทวน มาออกแบบแผนการจัดการเรี ย นการสอน โดยนารู ปแบบการสอนแบบโฟนิ ก ส์ ทั้ง 2 รู ปแบบมาบูรณาการณ์เพื่อใช้สร้างแบบฝึ กโฟนิกส์

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

3


สรุ ป การอ่ า นค าศัพ ท์ต ามแบบวิ ธี โ ฟนิ ก ส์ จะท าให้ ก ารอ่ า นค าศัพ ท์ข องผูเ้ รี ย นมี ค วาม ถูกต้องชัดเจนในการออกเสี ยง ซึ่ งจะสื บเนื่ องไปถึ งการอ่าน พูดสื่ อสารด้วยภาษาที่ถูกต้องชัดเจน และเกิดความมัน่ ใจในการแสดงความสามารถในการอ่านออกเสี ยง แนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึ่ งที่มีผลต่อความสาเร็ จของงานบรรลุเป้ าหมายที่ วางไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อันเป็ นผลเนื่องมาจากการได้รับการตอบสนองต่อแรงจูงใจหรื อความต้องการขอ แต่ละบุคคลในแนวทางที่เขาประสงค์ ซึ่ งผูศ้ ึกษาค้นคว้าได้ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของความพึงพอใจ และ มีผใู ้ ห้ความหมายของความพึงพอใจไว้ในด้านต่างๆกันพอสรุ ปได้ดงั นี้ กูด (Good. 1973, p.320) ให้ความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพหรื อ ระดับ ความพึงพอใจซึ่ งเป็ นผลจากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลกิจกรรม ขนิษฐา นาคน้อย (2550, น. 25) ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ อารมณ์ ค วามรู้ สึก และทัศ นคติ ของบุ คคลอันเนื่ องมาจากสิ่ งเร้ าและแรงจู งใจ ซึ่ ง ปรากฏออกมาทาง พฤติกรรม และเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญในการทากิ จกรรมต่างๆของบุ คคลากรที่ บุคคลจะเกิ ดความพึง พอใจจะต้องอาศัยปั จจัยหลายอย่างมากระตุน้ ให้เกิดความรักหรื อมีเจตคติที่ดีต่อสิ่ งนั้นๆ บุคคลจะเกิดความ พึงพอใจนั้นจะต้องมีการจูงใจให้เกิดขึ้น วอลเลอร์ เสตน (Wallerstein, 1971, p. 256) ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็ จตามความมุ่งหมาย และอธิ บายว่าความพึงพอใจเป็ นกระบวนการทาง จิตวิทยาไม่สามารถมองเห็นได้ชดั เจนแต่สามารถคาดคะเนได้วา่ มีหรื อไม่มีจากการสังเกตพฤติกรรมของคน เท่านั้น การที่จะทาให้เกิดความพึงพอใจจะต้องศึกษาปั จจัยและองค์ประกอบที่เป็ นสาเหตุแห่ งความพึงพอใจ นั้น โวลแมน (Wolman,1979, p. 283) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้วา่ ความพึงพอใจ (Satifaction) คือ สภาพความรู้สึกของบุคคลที่มีความสุ ข ความอิ่มเอมใจเมื่อความต้องการหรื อ แรงจูงใจของ ตนได้รับการตอบสนอง จากความหมายของความพึงพอใจข้างต้น สรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจ คือ เรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ ด้านอารมณ์ ความรู้ สึก และทัศนคติของบุคคลเนื่ องจากสิ่ งเร้ าและแรงจูงใจ ซึ่ งแสดงออกมาทางด้าน พฤติกรรม และเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญในการทากิ จกรรมต่างๆของบุคลากร และบุคคลจะเกิ ดความพึง พอใจจะต้องอาศัยปั จจัยหลายอย่างมากระตุน้ ให้เกิดความรักหรื อมีเจตคติที่ดีต่อสิ่ งนั้นๆ บุคคลจะเกิดความ พึงพอใจนั้นจะต้องมีการจูงใจให้เกิดขึ้น

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

4


ความต้ องการพืน้ ฐานทีเ่ ป็ นองค์ ประกอบให้ บุคคลเกิดความพึงพอใจ มนุ ษย์ทุกคนล้วนมี ความต้องการที่จะสนองความต้องการให้กบั ตนเองทั้งสิ้ น แต่ความ ต้องการของมนุษย์น้ นั มีมากมาย ซึ่ งมาสโลว์ (Maslow, 1970, p. 35-51) ได้จดั ลาดับความต้องการของมนุษย์ จากขั้นต่าสุ ดไปสู่ ข้ นั สู งสุ ดเป็ น 5 ขั้น 1. ความต้องการทางด้านสรี วิทยา (Phisiological Needs) ได้แก่ ความต้องการอาหาร น้ า และอากาศ ซึ่ งถื อว่าเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นสาหรับชี วิต ถ้ามนุ ษย์ไม่ได้รบการสนองตอบในขั้นนี้ จะไม่มีความ ต้องการในขั้นถัดไป 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) มนุษย์จะรู้สึกปลอดภัย เมื่อสิ่ งเร้านั้น เป็ น สิ่ งที่รู้จกั มักคุน้ และจะกลัวสิ่ งแปลกไปจากเดิม 3. ความต้องการความรัก (Love and Belonging Needs) คนทุกคนอยากได้ความรักจากคน อื่น อยากเป็ นเจ้าของ และในขณะเดี ยวกันอยากให้ตนเป็ นที่รักและเป็ นของใครสักคน บุคคลจะรู้สึกเหงา และหว้าเหว่ และขาดถ้ารู ้ สึกว่าไม่มีใครรักหรื อไม่รู้ว่าจะรักใคร ความต้องการชนิ ดนี้ คนที่ขาดมากยิ่ง ต้องการมากเพื่อชดเชย 4. ความต้องการเห็นตนเองมีค่า (Esteem Needs) เป็ นความต้องการยอมรับ จากผูอ้ ื่นและ ความต้องการภาคภูมิใจในตนเองด้วย แต่ถา้ ความต้องการนี้ไม่ได้รับการตอบสนองจะก่อให้เกิดความรู ้สึกต่า ต้อย ไร้ค่า อ่อนแอ หมดหวัง ไม่มีความหมายในสายตาผูอ้ ื่น 5. ความต้องการที่จะทาความเข้าใจตนเอง (Needs for self-Actualization) เป็ นความ ต้องการที่จะเข้าใจตนเองตรงตามสภาพที่ตนเองเป็ นอยูจ่ ริ งยอมรับในส่ วนที่เป็ นจุดอ่อน และจุดบกพร่ อง ของตนเองต้องการที่จะเป็ นคนชนิดที่เราเป็ นไปได้ดีที่สุด ซึ่ งเป็ นพื้นฐานในการเลือกอาชี พให้เหมาะสมกับ ความต้องการของตนเอง ทาให้มีความสุ ขและทางานได้เต็มความสามารถ การศึกษาถึงความต้องการขั้นพื้นฐานดังกล่าวของบุคคล นับว่าเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งทาให้ เข้าใจเหตุผลในการแสดงพฤติกรรมต่างๆของบุคคลและช่วยให้มองเห็นแนวทางที่จะปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง ความรู้สึก ความเข้าใจ และพฤติกรรมของบุคคลได้ดีที่สุด ความพึงพอใจเป็ นสิ่ งที่ทุกคนควรได้รับจากการกระทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง ซึ่ งความต้องการของ มนุ ษย์น้ นั มีความแตกต่างกัน แต่โดยทัว่ ไปคนส่ วนใหญ่ลว้ นมีความต้องการด้านสรี ระวิทยาความปลอดภัย ความรัก การเห็นตนเองมีคุณค่า และความต้องการที่จะทาความเข้าใจตนเองมีความมัน่ ใจและความภูมิใจ ส่ วนตัว ซึ่ งทั้งหมดนี้จะทาให้มนุษย์ใช้ชีวติ ในสังคมอย่างมีความสุ ข

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

5


วิธีการสร้ างความพึงพอใจในการเรียน มีการศึกษาในด้านความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลระหว่างสภาพจิตใจกับผลการ เรี ยนจุดที่น่าสนใจจุดหนึ่ง คือ การสร้างความพอใจในการเรี ยนตั้งแต่เริ่ มต้น ผลตอบแทนที่ได้รับ

ความพึงพอใจของ ผูป้ ฏิบตั ิงาน

แรงจูงใจ

การปฏิบตั ิงานที่มี ประสิ ทธิภาพ

ภาพที่ 4 แสดงความพึงพอใจนาไปสู่ การปฏิบัติงานทีม่ ีประสิ ทธิภาพ จากแนวคิดดังกล่าว ครู ผสู ้ อนที่ตอ้ งการให้กิจกรรมการเรี ยนที่เน้นนักเรี ยนเป็ นศูนย์กลาง บรรลุผลสาเร็ จ จึงต้องคานึ งถึงการจัดบรรยากาศและสถานการณ์ รวมทั้งสื่ อ อุปกรณ์การเรี ยนการสอนที่ เอื้ออานวยต่อการเรี ยน เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของนักเรี ยน ให้มีแรงจูงใจในการทากิจกรรมจนบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร ผลของการปฏิบตั ิงานนาไปสู่ ความพอใจ และผลการปฏิบตั ิงานจะถูกเชื่ อมโยงโดยปั จจัย อื่นๆ ผลการปฏิบตั ิงานที่ดี จะนาไปสู่ ผลตอบแทนที่เหมาะสม ซึ่ งในที่สุดจะนาไปสู่ การตอบสนองความพึง พอใจ ผลการปฏิบตั ิงานย่อมได้รับการตอบสนองในรู ปของรางวัล หรื อ ผลตอบแทน ซึ่ งแบ่งออกเป็ น ผลตอบแทนภายใน (Intrinsic Rewards) และผลตอบแทนภายนอก (Extrinsic Rewards) โดยผ่านการรับรู ้ เกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทน ซึ่ งเป็ นตัวบ่งชี้ ปริ มาณของผลตอบแทนที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานได้รับ นัน่ คือ ความพึงพอใจในงานของผูป้ ฏิบตั ิงานจะถูกกาหนดโดย ความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนที่เกิ ดขึ้นจริ ง และการรับรู ้เรื่ องเกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทนที่รับรู้แล้ว ความพึงพอใจย่อมเกิดขึ้น จากแนวคิดพื้นฐานดังกล่าว เมื่อนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ผลตอบแทน ภายในหรื อรางวัลภายใน เป็ นผลด้านความรู้สึกของนักเรี ยนที่เกิ ดแก่ตวั นักเรี ยนเอง เช่น ความรู ้ สึกต่อ ความสาเร็ จที่ เกิ ดขึ้ นเมื่ อสามารถเอาชนะความยุ่งยากต่างๆ และสามารถดาเนิ นงานภายใต้ความยุ่งยาก ทั้งหลายได้สาเร็ จ ทาให้เกิ ดความภาคภูมิใจ ความมัน่ ใจ ตลอดจนได้รับการยกย่องจากบุคคลอื่น ส่ ง ผลตอบแทนภายนอก เป็ นรางวัลที่ผอู ้ ื่นจัดหาให้มากกว่าที่ตนเองให้ตนเอง เช่น การได้รับคายกย่องชมเชย จากครู ผสู้ อน พ่อแม่ ผูป้ กครอง หรื อแม้แต่การได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในระดับที่น่าพอใจ สรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจในการเรี ยนและผลการเรี ยนจะมีความสัมพันธ์กนั ในทางบวกทั้งนี้ ขึ้นอยู่กบั ว่า กิ จกรรมที่นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิน้ นั ทาให้นกั เรี ยนได้รับการตอบสนองความต้องการทางด้าน ร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งเป็ นส่ วนสาคัญที่จะทาให้เกิดความสมบูรณ์ ของชี วิตมากน้อยเพียงใดนัน่ คือ สิ่ งที่ ครู ผสู ้ อนจะคานึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ในการเสริ มสร้างความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ให้กบั นักเรี ยน

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

6


7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้ าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนดิศกุล จานวน 24 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP 1. วิเคราะห์ ผ้ เู รียนรายบุคคล 2. ศึกษาและวิเคราะห์ เนือ้ หา 3. กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ตามเนือ้ หา 4. ดาเนินการพัฒนา 5. ทดลองใช้ และปรับปรุ ง 6. นามาใช้ จริง 7. เผยแพร่ ขยายผล 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยใช้เครื่ องมือดังต่อไปนี้ - แบบประเมินผล - แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน - แบบประเมินความพึงพอใจ และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ ปรับปรุ งเพื่อดูคุณภาพของ BP 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนานักเรี ยนในการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษ 8. ผลสาเร็ จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็ จเชิงปริ มาณ นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมาย ร้อยละ 80 สามารถอ่านและเขียนคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

7


8.2 ผลสาเร็ จเชิงคุณภาพ นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมายสามารถอ่านคาศัพท์ได้เพิ่มมากขึ้นทั้งคาศัพท์ที่เคยเรี ยนและคาศัพท์ ใหม่ที่พนในเนื้ อเรื่ อง 8.3 ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องต่อ BP นักเรี ยนร้อยละ 95 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเสนอแนะให้จดั กิจกรรมที่ หลากหลายในการสอนเพื่อความสนุกสนานในการเรี ยนการสอน รวมทั้งเพื่อแรงเสริ มบวกโดย อ้างอิงจากความชื่นชอบของนักเรี ยนด้วย 9. กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนาปรับปรุ ง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้ า BP ตรวจสอบปั ญหาเพื่อหาสาเหตุขอ้ พกพร่ องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุ งแก้ไข แล้วนา กลับมาใช้ซ้ า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุ ง BP นักเรี ยนสามารถนากิจกรรมที่ดาเนินการพัฒนาตัวเองไปใช้ในการอ่านเนื้อหาที่มีความยาก เพิม่ ขึ้น 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็ จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง การเผยแพร่ ผลงานโดยการนาวิธีข้ นั ตอนและสื่ อที่ผลิตขึ้นไปใช้ให้ความรู ้ในการเป็ น วิทยากรในการจัดค่ายภาษาอังกฤษ

ลงชื่อ อนุสรา เกตุแก้ว ผูข้ อรับการประเมิน (นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว) ตาแหน่ง ครู คศ.1

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

8


ประวัตผิ ู้จัดทา

ชื่อ

นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว เกิดวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2529

การศึกษา

ปริ ญญาตรี คบ.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

กรุ งเทพมหานคร

ทีอ่ ยู่

บ้านเลขที่ 7/3 หมู่ 2 ตาบลพังตรุ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

ทีท่ างาน

โรงเรี ยนดิศกุล หมู่ 1 ตาบลหนองตากยา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

9 เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


ภาคผนวก

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

10


เรียงเสี ยงพยัญชนะและสระเตรียมผสมคาศัพท์

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

11


สร้ างคาศัพท์ตามเสี ยงทีไ่ ด้ ยิน

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

12


เรียงเสี ยงพยัญชนะและสระเตรียมผสมคาศัพท์

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

13


การผสมคาศัพท์ ภาพบนอ่านว่า Life ภาพล่างอ่านว่า Bright

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

14


นักเรี ยนแสดงท่ าทางตามเสี ยง เพือ่ ให้ กลุ่มอืน่ ๆ เดาคาศัพท์ ได้ คาว่า o-t-t-e-r

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

15


นักเรียนรวบรวมคาศัพท์เพือ่ นามาเล่นเกม

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

16


บัตรคาทีแ่ กะออกจากไข่ อ่านว่า shine แปลว่า ส่ องสว่าง

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านวิชาการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

17


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.