ฺBest Practice นางเบญจมาศ ลิขิตวัฒนกิจ ผอ.ร.ร.วัดหนองบัว

Page 1

1

ด้าน การบริหาร


2

Best Practice การบริหารงานกิจกรรมสภานักเรียนเพื่อพัฒนาและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา

1. ชื่อผลงาน

ด้าน การบริหาร 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อ นางเบญจมาศ ลิขิตวัฒนกิจ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดหนองบัว ต.กลอนโด อ. ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี 2.2 เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลอนโด 2.3 โทรศัพท์ 081-8748319 E – mail: watnongbua.school@gmail.com

3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 1.เพื่อพัฒนานักเรียนและสภานักเรียนให้สามารถดาเนินกิจกรรมสภานักเรียนและกิจกรรมอื่นๆของโรงเรียนโดย นา ห ลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตาม ระบอบประชาธิปไตยและยึดกระบวนการโครงงานคุณธรรมจริยธรรม 2. เพื่อให้ครูและนักเรียน รู้จักใช้กระบวนการประชาธิปไตย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางสันติวิธีซึ่ง กิจกรรมที่สามารถทาให้นักเรียนมี คุณลักษณะดังกล่าวได้คือ กิจกรรมสภานักเรียน 3. เพื่อปลูกฝังวิถีประชาธิปไตยให้กับนักเรียน โดยการสนับสนุนให้นักเรียนได้มีกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะ กระบวนการประชาธิปไตยที่ได้ปฏิบัติจริงในรูปแบบการเลือกตั้งผู้แทนนักเรียน เริ่มจากการเลือกหัวหน้าห้อง หัวหน้าระดับชั้นประธานชุมนุม ประธานชมรม คณะกรรมการนักเรียน และสภานักเรียน

4. ระยะเวลาในการพัฒนา เตรียมการ ตุลาคม 2556 ดาเนินการ พฤษภาคม – ตุลาคม 2557

5. ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. /สพฐ./สถานศึกษา 5.1 กลยุทธ์ที่ใช้ในการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับจุดเน้นของ สพฐ จุดเน้นด้านที่ 1 พัฒนาด้านผู้เรียน และจุดเน้นด้านที่ 2 การพัฒนาด้านครูและบุคลากรโดยใช้ กลยุทธ์ดังนี้ 1. หลักการมีส่วนร่วม ของบุคลากรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมรับประโยชน์ และร่วมติดตามผล


3

5.2 ความเชื่อมโยงของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้บริหาร ครู ชุมชน ผู้ปกครองและองค์ส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของ โรงเรียน ดังนี้ 1. นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึง เป็นคนดีมีคุณธรรม อยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุข มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากาหนด 2. บุคลการทุกคนเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อชุมชนและมีความสามัคคี ให้ ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนานักเรียน พัฒนาตนเองและพัฒนางาน 3. ชุมชนและองค์กรท้องถิ่นมีความพึงพอใจกับระบบการพัฒนาและชื่นชมกับความสาเร็จของ สถานศึกษา

6. แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP เด็กและเยาวชนเป็ นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่ายิ่ง หากได้รับการพัฒ นาและได้รับโอกาสให้ ใช้ ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ ย่อมเป็นกาลังสาคัญในการสืบทอดความเป็นชาติสามารถพัฒนาประเทศให้ เจริญก้าวหน้า เทียบเท่านานาอารยประเทศ เด็กและเยาวชนจึงเป็นความหวังในการจรรโลง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้อยู่คู่สังคมไทย ด้วยความตระหนั กถึงความสาคัญของเด็กและเยาวชนส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน จึงกาหนดแนวทางในการพัฒนากิจกรรม “สภานักเรียน” ให้โรงเรียนได้นาไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้บทบาทหน้าที่ความเป็นพลเมืองและวิถีประชาธิปไตยอั นได้แก่ คารวะธรรม สามัคคีธรรม ปัญญาธรรม รวมทั้งหลักธรรมาภิบาล การมีจิตอาสาและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ อันจะ ส่งผลต่อคุณลักษณะอันพึงประสงค์บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมก้าวสู่ความเป็นสากล และเตรี ย มคนเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นโดยความร่ ว มมื อ ของทุ ก ภาคี เ ครื อ ข่ า ยการด าเนิ น งานสภานั ก เรี ย น เปรียบเสมือนเวทีสาหรับฝึกให้นักเรียนเป็นนักประชาธิปไตยอย่างแท้จริง คือ รู้จักการเป็นผู้ให้ ผู้รับ ผู้นาและผู้ ตามที่ดี มีความรับผิดชอบในหน้าที่และเป็นประโยชน์ในการปกครองโดยช่วยแบ่งเบาภาระของครูได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย มุ่งเน้นให้เด็กคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม และส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะ อีกทั้งส่งเสริมการเรียนการสอนตาม หลักสูตรปัจจุบันที่มุ่งเน้นความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ ดังนั้น สถานศึกษา จะต้องขับเคลื่อน กิจกรรมสภานักเรียนให้เป็นรูปธรรม สภานั กเรี ย นเป็ น กิจ กรรมหนึ่งของนักเรียน ซึ่งเป็นกลไกส าคัญที่จะช่วยพัฒ นาโรงเรียนตาม กระบวนการ นิติธรรม และเป็นกิจกรรมที่จะปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยมความเป็นประชาธิปไตย มีจิตวิญญาณในการ ใช้ธรรมาภิบาล เพื่อให้นักเรียนเติบโตเป็นพลเมืองดีของสังคมและประเทศชาติเป็นต้นกล้าประชาธิปไตยที่มั่นคง เข้มแข็งของสังคมไทย

7. กระบวนการพัฒนาBP ใช้หลักการวัฏจักรเดมิ่ง (Deming Cycle) - การวางแผน ( Plan ) - การปฏิบัติ ( Do ) - การตรวจสอบ (Check ) - แก้ไขปรับปรุง ( Action )


4

โรงเรียนได้มีการดาเนินงานบริหารจัดการการฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ - การวางแผน (Plan) วางแผนการปฏิบัติงาน โดยยึดวัตถุประสงค์ของของกิจกรรม โดยร่วม ประชุมระดมความคิด ปรึกษาหารือ - การปฏิบัติ ( Do ) ดาเนินการปฏิบัติกิจกรรมตามแผนด้วยเทคนิควิธีต่าง ๆ ได้แก่ ให้การ นิเทศแบบกัลยาณมิตร การใช้เทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การตรวจสอบ ( Check ) ติดตามและตรวจสอบความสาเร็จของงานตามวัตถุประสงค์ โดย มอบหมายให้หัวหน้างาน เป็นผู้ตรวจสอบและติดตามตามผลการดาเนินงาน - การแก้ไขปรับปรุง ( Action ) ค้นหาสาเหตุของปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติ หาแนวทาง ในการแก้ไขปรับปรุง เพื่อนาไปพัฒนางานให้เกิดผลสาเร็จ

7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนาBPไปใช้ ผู้บริหาร ครู นักเรียนทุกคน นักเรียนที่เป็นสมาชิกสภานักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ให้มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภานักเรียน

7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP 1. ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก ในการจัดกิจกรรมสภานักเรียน 2. จั ดกิจกรรมการเรี ยนรู้ และบู รณาการ โดยใช้โครงงานคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียน และหลั กเศรษฐกิจ พอเพียง 3.เผยแพร่โครงงานคุณธรรมหรืองานที่ประสบผลสาเร็จ 4.แก้ไข ส่วนที่บกพร่อง และพัฒนาสิ่งที่ดีให้ดียิ่งขึ้น 5. ใช้กระบวนการ PDCA ในการดาเนินงาน -

PLAN DO CHECK ACTION

: : : :

ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมติดตาม ร่วมพัฒนา

ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมตรวจสอบ ร่วมปรับปรุง


5

ร่วมคิด

PLAN

ร่วมวางแผน

Deming

ACTION

Cyicle

DO

PDCA

ร่วมทา ร่วมติดตาม ร่วมตรวจสอบ

ร่วมปฏิบัติ

CHECK


6

ลาดับขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมพัฒนา Flow Chart (แผนภูมิ) Model ของ Best Practice

Flow Chart ระบบการบริหารงานกิจกรรมสภานักเรียน โรงเรียนวัดหนองบัว

ประชุม/วางแผนการดาเนินงาน

การพัฒนากิจกรรมสภานักเรียนเพื่อ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามระบอบ ประชาธิปไตย

ให้ความรู้/สร้างความตระหนัก สร้างความเข้าใจ

ลงมือปฏิบตั ิ

มีเครือข่ายการทางาน ประชาสัมพันธ์อย่างทัว่ ถึง

รายงาน / เผยแพร่ 1. การให้ความรู้ 2. สร้างความเข้าใจ 3. ลงมือปฏิบัติได้ 4. มีเครือข่ายการทางาน และ 5. ประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง โดยทุกขั้นตอนต้องอยู่ภายใต้แนวทางกระบวนการ PDCA

ปรับปรุง


7

ขั้นตอนที่ 1 1. การให้ความรู้ นั่นคือให้ความรู้กับนักเรียนได้รู้จัก กระบวนการทางานที่เรียกว่า วงจรพัฒนาคุณภาพ PDCA นั่น คือฝึกให้คณะกรรมการนักเรียนได้ทางานอย่างเป็นขั้นตอนมีระเบียบแบบแผน เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผน (Plan) ขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (Do) ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)และขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไข (Action) โดยผ่านการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ กล่าวคือ เมื่อคณะกรรมการสภานักเรียน ได้รับการเลือกตั้งเป็นตัวแทน ให้มาเป็นตัวแทนของนักเรียนแล้ว ครูผู้รับผิดชอบดาเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กับนักเรียน เกี่ยวกับ หลักการแนวคิดความสาคัญของการดาเนินงานสภานั กเรียน วัตถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการสภานักเรียน การดาเนินงานตามวงจรพัฒนาคุณภาพ PDCA ทักษะการประชุม การวิเคราะห์ปัจจัย สภาพแวดล้อม(SWOT) และการวางแผนกลยุทธ์การดาเนินงานอย่างง่าย เป็นต้น โดยผู้อานวยการเป็นประธานใน การประชุมพร้อมทั้งให้ความรู้และความสาคัญของการวางแผนกลยุทธ์การทางาน ครูผู้สอนสังคมให้ความรู้เกี่ยวกับ การปกครองระบอบประชาธิปไตย และความรู้เรื่องทักษะการประชุม การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม(SWOT) สู่การวางแผนกลยุทธ์ ส่งคณะกรรมการสภานักเรียนไปเข้าร่วมการประชุม อบรม สัมมนาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ ดาเนินงานทุกครั้งที่มีโอกาส เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นาความรู้และสร้างประสบการณ์นามาประยุกต์ใช้และ พัฒนาโรงเรียนต่อไป ผลที่ได้รับ นักเรียนและคณะครูมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับการดาเนินงานของคณะกรรมการสภา นักเรียน ทาให้ได้รับโอกาสและความร่วมมือในการทางานมากขึ้น รวมถึงนักเรียนเริ่มที่พยายามทางานให้เป็นทีมมี ขั้นตอนเป็นระบบมากขึ้น โดยเริ่มจากการประชุมปรึกษาหารือกันก่อนที่จะทางานต่างๆ ปัญหาอุปสรรค์ ที่พบคือ แม้จะพยายามให้ความรู้กับคณะกรรมการสภานักเรียนแล้ว แต่นักเรียนก็ยังไม่กล้า แสดงออกตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง แม้กระทั้งในเวทีการประชุมก็ยังไม่กล้าแสดงความเห็นที่แตกต่างจากผู้อื่น จานวนครูที่ปรึกษาที่เป็นคณะกรรมการดาเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนยังไม่เพียงพอและยังขาดความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานอย่างแท้จริง ขั้นตอนที่ 2 2. สร้างความเข้าใจ ผู้บริหารประชุม ชี้แจงให้ หัวหน้าฝ่าย และคณะครูได้รับทราบถึงบทบาทและความสาคัญ ของการดาเนินงานสภานักเรียนที่จะเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนโดยเฉพาะด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ในเกือบทุกๆด้าน หลังจากได้รับการเลือกตั้งแล้ว เปิดโอกาสให้คณะกรรมการสภานักเรียนได้เข้าพบ รับฟังโอวาทและให้แนวทางการดาเนินงาน ตลอดจนรับฟังความคิดเห็นและพร้อมจะสนับสนุนในด้านต่างๆ และ ให้เข้าร่วมประชุมกับทีมฝ่ายบริหารของโรงเรียนในวันจันทร์ที่หนึ่งของทุกเดือน เพื่อแจ้งประชาสัมพันธ์การดาเนิน กิจกรรมต่างๆของสภานักเรียน ทาให้การดาเนินงานต่างๆ ดาเนินไปโดยความเข้าใจที่สอดคล้องตรงกัน ขั้นตอนที่ 3 3. ลงมือปฏิบัติได้ โรงเรียนวัดหนองบัวได้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน เป็นอย่างมากทั้งภายในโรงเรียนและชุมชน การลงมือปฏิบัติเราได้ยึดมั่นตามวงจรพัฒนาคุณภาพ PDCA โดยเริ่ม จากกระบวนการประชุมกลุ่มย่อย นาผลการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของสภานักเรียนเมื่อปีที่แล้วศึกษาสภาพและ ปัญหาการดาเนินงาน วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร เขียนโครงการ แผนปฏิบัติการ


8

ซึ่งในปัจจุบันกระบวนการนี้ยังไม่สามารถดาเนินงานได้เองทั้งหมดยังอยู่ ในความควบคุมดูแลให้คาปรึกษาคอย ชี้แนะจากอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิดได้โครงการสภานักเรียน แล้ว นาโครงการเสนอเพื่อขอความเห็นชอบและ ของบประมาณสนับสนุนจากทางโรงเรียน แล้วจึงลงสู่ขั้นตอนของการปฏิบัติตามแผน ตลอดการดาเนินงานต้องอยู่ ภายใต้กรอบกระบวนการ PDCA ในเกือบทุกๆขั้นตอนให้มากที่สุด เมื่อมีปัญหาอุปสรรคก็ร่วมกันแก้ไขปัญหา หรือ ขอคาปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา ขั้นตอนที่ 4 4. มีเครือข่ายการทางาน การทางานในภาพรวมทั้งโรงเรียนเราไม่สามารถที่จะดาเนินการได้เพียงสมาชิกไม่กี่คน แล้วจะให้งานสาเร็จตามเป้าหมายได้อย่างแน่นอน เราได้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการทางานทั้งภายใน โรงเรียนและภายนอกโรงเรียน กล่าวคือเครือข่ายภายในโรงเรียน ตามโครงสร้างการบริหารสภานักเรียนนอกจาก คณะกรรมการที่ได้มาจากการเลือกตั้งแบบเป็นทีมแล้ว เราได้ให้หัวหน้าห้องแต่ละชั้น หัวหน้าชุมนุม เป็นกรรมการ โดยตาแหน่ง และยังเปิดโอกาสให้นักเรียนที่สนใจ มีจิตอาสาต้องการเข้ามามีส่วนช่วยเหลืองานโรงเรียน สมัครใจ เข้ามาเป็นกรรมการในแต่ละฝ่ายงาน 4 ฝ่ายของสภานักเรียนได้ และคณะกรรมการนักเรียนรุ่นพี่ที่หมดวาระไป เราก็ให้เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าที่คอยช่วยเหลือดูแลให้คาปรึกษาในการดาเนินงานต่อไป เครือข่าย ภายนอก สภานักเรียนได้มีการขยายผลการดาเนินงานให้กับโรงเรียนอื่นๆ สภานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของ โรงเรียนชุมชนและหน่วยงานภายนอกอย่างสม่าเสมอ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดาเนินงาน ชุมชน/ หน่วยงานภายนอกมีส่วนร่วมพร้อมให้ความร่วมมือช่วยเหลือสนับสนุนการดาเนินงานเป็นอย่างดี ปัญหาอุปสรรคด้านการสร้างเครือข่าย คือยังไม่มีการจัดตั้งเครือข่ายการดาเนินงานกิ จกรรมสภานักเรียนที่เป็น รูปธรรมอย่างชัดเจนในระดับต่างๆ ทาให้ขาดการมีส่วนร่วมในรูปแบบเครือข่ายการทางาน และชุมชนภายนอกยัง ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 5 5. ประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง การประชาสัมพันธ์นับเป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญเป็นอย่างมากที่จะทาให้เพื่อน นักเรียน คณะครู ประชาชนในชุมชน หน่วยงานภายนอก ได้รับรู้รับทราบว่าคณะกรรมการสภานักเรียน ได้ทา อะไร ที่ไหน กับใคร อย่างไร โดยได้มีการใช้ช่องทางการประชาสัมพันธ์ผ่านทางเสียงตามสายของโรงเรียน และการ จัดรายการวิทยุของชุมชนช่วยในการประชาสัมพันธ์ ปัจจัยสู่ความสาเร็จ ของคณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนวัดหนองบัว มาจากการทางานอย่างเป็นระบบและมี ขั้นตอนตามกระบวนการ PDCA เพื่อเป้าหมายการเป็นสภานักเรียน ด้วยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP 1. แบบประเมินความพึงพอใจ 2.แบบประเมินการพัฒนาการดาเนินงานของครู และนักเรียน 3.แบรายงานผลการดาเนินงาน


9

7.4 แนวทางการนาBP ไปใช้ประโยชน์ การนากิจกรรมสภานักเรียนมาใช้ในการบริหารเพื่อพัฒนาครูและนักเรียนส่งผลให้ครูจัดกิจกรรมการเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพนักเรียนรู้จักการทางานอย่างเป็นระบบ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม

8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาBP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - ครู นักเรียน โรงเรียนวัดหนองบัว ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามระบอบประชาธิปไตย - ครู นักเรียน ได้พัฒนากิจกรรมสภานักเรียน ให้เป็นรูปธรรม และเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ - ครู นั กเรี ย นได้พัฒ นาการจั ดการเรี ย นรู้โ ดยการทาโครงงานคุณ ธรรมจริ ยธรรมเพื่อให้ นั กเรียนเกิดทักษะ กระบวนการคิด มีวินัย มีความซื่อสัตย์ อยู่อย่างพอเพียงและจิตสาธารณะ รวมถึงมีความรับผิดชอบ เห็นประโยชน์ ในงานส่วนรวมมากกว่าส่วนตน

8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1.ผลที่เกิดกับครูและนักเรียน ครูและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ แนวทางการดาเนินกิจกรรมของกิจกรรมสภานักเรียน รวมถึงกระบวนการประชาธิปไตย การเป็นผู้นา การทางานเป็นทีมและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพัฒนา โรงเรียน โดยกระบวนการประชาธิปไตยนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การอยู่ร่วมกัน ตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และสังคม เกิดทักษะประสบการณ์เป็นการหล่อหลอมให้นักเรียนเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สู่ค่านิยมอันพึงประสงค์ 2.ผลที่เกิดกับโรงเรียน สภานักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นในการร่วมวางแผนในการพัฒนาโรงเรียน การจัดกิจกรรมของโรงเรียน ช่วยดูแลทุกข์สุขของนักเรียนทุกคนในโรงเรียน รักษาผลประโยชน์ของโรงเรียน เป็นกาลังสาคัญในการป้องกัน แก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน สามารถช่วยเหลือครู ผู้บริหารในการดูแลทรัพยากรของโรงเรียนให้เกิดประโยชน์ และคุ้มค่าอย่างสูงสุด 3.ผลที่เกิดกับชุมชน ช่วยประสานความร่วมมือกับบุคคลหน่วยงานอื่นเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของโรงเรียน และเป็นผู้นาในการคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมช่วยเหลือ มีจิตสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน และสังคม


10

8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP จากแบบสอบถามความพึงพอใจ ครู นักเรียนตั้งแต่ ชั้น ป.1 –ป.6 กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง จานวน 100 คน มีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 98

8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนาBP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ 1.ด้านการบริหาร/งบประมาณสนับสนุน ผู้บริหารโรงเรียนปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุคคลอื่นมีความรู้และสามารถในการส่งเสริม พัฒนาให้บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีความรักสามัคคีประสานงานประสานประโยชน์ร่วมกันมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ของงานโดยใช้หลั กการบริ หารแบบมีส่ วนร่ว มบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลผู้ บริหารโรงเรียนมี วิสัยทัศน์ที่ต้องกาหนดเป็นนโยบายของโรงเรียนมีภาวะความเป็นผู้นาสามารถเป็นตัวแบบที่ดีและแนะนามาจัด กิจกรรมแก่ครูและบุคลากรจัดหางบประมาณในการดาเนินการและสร้างแรงจูงใจที่ดีแก่ผู้ปฏิบัติ 2. ด้านหลักสูตร-การเรียน-การสอน โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง ในและนอกสถานศึก ษาและเป็ น ระบบเพื่อให้ กิ จกรรมเป็ นส่ ว นหนึ่ งของวิ ถีชี วิต เพื่อ พัฒ นาผู้ เ รียนให้ มี ทั กษะ กระบวนการทางการเรียนส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นและมีจิตอาสา 3. ด้านครู คือปัจจัยที่สาคัญของกระบวนการพัฒนาครูเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับครู ให้ครูเป็นครูที่สอนดี มี จิตวิญญาณความเป็นครูนาไปสู่การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาครูต้องรู้จักครู รายบุคคล รู้จุดเด่นจุดที่ควรพัฒนา เน้นครูเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มีการตั้งเป้าหมายของการพัฒนาร่วมกัน ไม่บอกความรู้ครู แต่ส่งเสริมให้ครูสร้างความรู้ด้วยตนเอง มุ่งก่อเกิดความรู้ในการปฏิบัติ (Knowledge in Practices) และความรู้ของการปฏิบัติ (Knowledge of Practices) และใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างสม่าเสมอต่อเนื่อง

9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาปรับปรุง BP 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า 1) การตรวจสอบการวางแผน - แบบประเมินผลการดาเนินงาน - ผลงานนักเรียนและครู 2) การตรวจสอบการลงมือปฏิบัติ - แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน - โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน -กิจกรรมสภานักเรียน - โครงการสถานศึกษาพอเพียง -การอบรม ศึกษาดูงาน


11

9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ส่งผลให้ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินงานสภานักเรียนที่น่าสนใจ และนักเรียน มี ศักยภาพในการทางานเป็นทีม

10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของBP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง 1. เว็บไซด์โรงเรียน / Face book 2. จุลสาร แผ่นพับ 3.วารสารประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน 4. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. สื่อออนไลน์ผู้ส่งผลงาน

(นางเบญจมาศ ลิขิตวัฒนกิจ) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดหนองบัว ผู้เห็นชอบผลงาน

(นายเฉลิมชัย แย้มชื่น) ประธานเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลอนโด


12

ภาคผนวก


13


14


15


16


17


18


19

จัดแสดงผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.