Proceeding of NEC 2012

Page 72

คุณภาพสู งและรองรับกับ ความต้ องการในการเรียนการ สอนในยุคปัจจุบัน โดยให้บริการที่เน้นความพึงพอใจของ ผู้ใช้ บริ การคื ออาจารย์ผู้ สอนเป็น สาคัญ โดยยึ ดหลักที่ว่า ความพึ ง พอใจของผู้ ใ ช้ เ ป็ นองค์ ป ระกอบสาคั ญ สาหรั บ ความสาเร็จของระบบ (Power and Dickson, 1974)

ได้เข้าใช้งานระบบ e-Learning จานวน 85 คน โดยการ สุ่มตามสะดวก 3. ระยะเวลาการดาเนินงาน เดือนมีนาคม 2555 – เดือน มิถุนายน 2555 ระเบียบวิธีวิจัย แบบแผนทางการวิจัย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสารวจที่มี การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ใ น ง า น วิ จั ย เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ คื อ แบบสอบถามความความพึงพอใจต่อการใช้บริการระบบ e-Learning มหาวิทยาลัยศรีปทุม

สานักการจัดการศึกษาออนไลน์เป็นหน่วยงานกลางของ มหาวิทยาลัย ในการสนับสนุนคณะและวิชาต่างๆ ในการ จัดการศึกษาแบบ e-Learning ทั้งการใช้งานเพื่อการ สนับสนุนการเรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียนและเพื่อ สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งสานักฯ ได้มีพันธ กิจหนึ่ง คือ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสอนผ่านระบบ e-Learning ที่เหมาะสมกับการใช้งานของมหาวิทยาลัย ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของ มหาวิทยาลัยศรีปทุมที่ส่งเสริมและผลักดันให้มีผลงานวิจัย นวัตกรรม และผลงานทางวิชาการที่สร้างองค์กรให้มีองค์ ความรู้ที่หลากหลาย ลึกซึ้ง เป็นประโยชน์ต่อสังคม รวมทั้ง นาผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการมาพัฒนา ปรับปรุง หลักสูตร และการเรียนการสอนให้ทันสมัยและมีคุณภาพ ดัง นั้น เพื่อ ให้ การด าเนิน การของสานั กฯ สอดคล้ องกับ นโ ยบ ายแ ละบ ร ร ลุ พั น ธกิ จ ดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ จั ด ท า โครงการวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาความพึ ง พอใจการใช้ ง าน ระบบ e-Learning ขึ้น เพื่อนาแนวทางที่ได้จากการวิจัย มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการดาเนินการของสานักฯ ให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป

ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. การสร้างแบบประเมินบทเรียน ทาการพัฒนาโดยศึกษา จากหนั ง สื อ และงานวิ จั ย ต่ า งๆ เกี่ ยวกั บ การสร้ า ง แบบสอบถามความพึ ง พอใจ น ามาออกแบบให้ มี ค วาม สอดคล้องกับเนื้อหา และรูปแบบของระบบ e-Learning ที่จะประเมิน โดยแบบประเมินที่ได้ประกอบไปด้วยการ ป ร ะ เ มิ น 3 ส่ วน คื อ ส่ วน ที่ 1 สถาน ะ ข อ ง ผู้ ต อ บ แบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการใช้บริการ ระบบ e-Learning และส่วนที่ 3 ความคาดหวังในการ ให้บริการในอนาคต เป็นแบบประเมินประเภทมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ (ประคอง กรรณ สูตร, 2538) 2. น าแบบประเมิ น ที่ ไ ด้ ท าการออกแบบแล้ ว ปรึ ก ษา ผู้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นการเรี ย นการสอนผ่ า นระบบ e-Learning จากนั้ น น าข้ อ เสนอแนะ ในส่ ว นของข้ อ ค าถาม และภาษาในการใช้ มาปรั บ ปรุ ง จนเป็ น แบบสอบถามที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง 3. ดาเนินการแจกแบบประเมินจานวน 100 ชุดแก่กลุ่ ม ตัวอย่าง 4. เก็บรวบรวมแบบสอบถามที่ได้กลับคืนมาจานวน 85 ชุดเพื่อนามาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป

วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความพึ ง พอใจต่ อ การให้ บ ริ ก ารระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม 2. เพื่ อ นาผลที่ ไ ด้ ไปพั ฒนาระบบ e-Learning ใน มหาวิทยาลัยศรีปทุมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศรี ป ทุ ม ที่ มี ร ายวิ ช าอยู่ ใ นระบบ e-Learning ในปี การศึกษา 2554 2. กลุ่ ม ตั ว อย่ า งคื อ อาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ที่ มี รายวิชาอยู่ในระบบ e-Learning ในปีการศึกษา 2554 ที่

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศรี ป ทุ ม ที่ มี ร ายวิ ช าอยู่ ใ นระบบ e-Learning ในปี การศึกษา 2554 70


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.