Proceeding of NEC 2012

Page 209

2. ตั ว แปรตาม Dependent Variables ได้ แ ก่ พฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั กศึ กษา ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต สาขาครุ ศาสต ร์ /ศึ ก ษ าศ าสตร์ ใ น มหาวิทยาลัยของรัฐ ได้แก่ ความถี่ในการใช้งาน ระยะเวลา ในการใช้งาน ช่วงเวลาในการใช้งาน และจานวนเพื่อนใน เว็บไซต์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ จาแนกเป็น ด้านการสื่อสาร (Communication) ด้าน การศึกษา (Education) ด้านการศึกษาบันเทิง (Edutainment)

ปริญ ญาบั ณฑิ ต มหาวิทยาลั ยศิล ปากร ระดับชั้ นปี ที่ 2 ที่ มี คุณลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 35 คน โดยวิธี หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ซึ่งผลการทดสอบ ปรากฏว่ าได้ ค่ าสั ม พั น ธ์ ข องความเชื่ อ มั่ น เท่ ากับ 0.94 ซึ่ ง หมายความว่ า โดยภาพรวมแล้ ว แบบสอบถามมี ค วาม น่าเชื่อถือ สามารถนาไปใช้ได้ วิธีดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจั ย ได้ ด าเนิ น การและท าการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล ดาเนินการเก็บแบบสอบถามด้วยตนเองโดยดาเนินเก็บข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ – 25 มีนาคม 2554 แบบสอบถาม ที่นาไปแจกกับกลุ่มตัวอย่างโดยตรง จานวน 260 ชุด กับกลุ่ม ตัวอย่างจานวน 5 มหาวิทยาลัย ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญา บั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยพระจอม เกล้ า พระนครเหนื อ และการเก็บข้ อมู ลจากแบบสอบถาม ออนไลน์ (E-Questionnaire) ใช้ ส าหรั บเก็ บ ข้ อ มู ล จาก มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี และ มหาวิ ท ยาลั ย รวมจ านวนแบลบสอบถามทั้ ง 2 ประเภท ทั้งหมดจานวน 382 ชุด

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารต่างๆ ทฤษฎี และงานวิจัยที่ เกี่ย วข้ อ ง เพื่ อ เป็ น แนวทางในการสร้ า งแบบสอบถามให้ ครอบคลุมกับสิ่ งที่ต้องการศึกษา โดยผู้วิจัย ได้ทาการออก แบบสอบถามออนไลน์ ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ผ่านคอมพิวเตอร์ และเก็บข้อมูลโดยตรง 1. สร้ า งแบบสอ บถาม และ แบบสอบ ถาม ออนไลน์ (E-questionnaire) จานวน 1 ฉบับ โดยใช้ Google Doc ในการสร้าง และ Link Banner เพื่อคลิกเข้าสู่เว็บไซต์ แบบสอบถามได้โดยตรง ผ่านรายวิชาในระบบออนไลน์ (ELearning) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับ พฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั กศึ กษา ระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยแบ่งออกเป็น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 คาถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่ม ตัวอย่าง ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการ เปิดรับข้อมูลข่าวสารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อ พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ โดยแบ่ ง เป็ น คาถามในด้านการสื่อสาร (Communication) ด้านการศึกษา (Education) และด้านการศึกษาบันเทิง (Edutainment) ตอนที่ 5 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ การใช้ ประโยชน์และความพึงพอใจจากการใช้ แอปพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2. น าแบบสอบถามที่ ไ ด้ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไ ขจาก ผู้เชี่ย วชาญ ไปทดลองใช้ (Try out) กับนักศึกษาระดั บ

การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้ อมูล ในการวิจั ยครั้ งนี้ ใช้ สถิติ เชิ ง พรรณนา (Descriptive Statistics) แสดงข้อมูลเป็นความถี่ และร้ อ ยละ เพื่ อ อธิ บ ายข้ อ มู ล ด้ า นพฤติ ก รรมในการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาตรี โดยน า ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์ และประมวลผล ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ใช้ สถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าสถิติ ร้อยละ (Percentage) 2. การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า นปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ข องนั ก ศึ ก ษา ปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยของรัฐ และการใช้ประโยชน์และ ความพึงพอใจ ใช้การหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) 3. การวิ เ คราะห์ ส ถิ ติ เ ชิ ง อนุ ม าน (Inferential Analysis) ใช้สถิติ t-test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน F-test วิเคราะห์ 207


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.