Proceeding of NEC 2012

Page 177

กิจ กรรมต่ าง ๆ ตามที่ กาหนด เมื่ อ มี การทดสอบด้ ว ย แบบทดสอบท้ายบทเรียนก็จะตั้งใจทาให้ได้คะแนนสูง ๆ ขณะเดียวกันคณะผู้วิจัยบูรณาการเครือข่ายทางสั งคมเข้า ไปในเว็ บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ง ท าให้ ผู้ เ รี ย นติ ด ต่ อ สื่ อ สารกัน ได้ อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องมือที่ติดตั้งอยู่ เช่น เมื่อมีปัญหา ดาวน์โหลดไฟล์ไม่ได้ก็จะโพสท์ใน facebook ซักถาม เพื่อน แม้จะไม่ได้รับคาตอบในทันที ก็จะมีเพื่อน ๆ เข้า มาช่วยในการแก้ปัญหาตลอดเวลา รวมทั้งสามารถเปิด Skype โดยทา Conference กับผู้วิจัยเพื่อซักถามได้โดยตรง ผลคะแนนระหว่างเรียนจึงอยู่ในเกณฑ์สูงแม้จะต้องศึกษา ด้วยตนเอง สอดคล้องกับ ผลการใช้เครือข่ายสังคมใน ระดับอุดมศึกษาพบว่า เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการอภิปราย แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ าวสาร ผลการวิจัย แสดงว่ า เครื อ ข่ า ยทางสั ง คมเข้ า มาช่ ว ยเป็ น เครื่ อ งมื อ ส าหรั บ การเรี ย นรู้ ท างไกลได้ เ ป็ น อย่ า งดี (Brady, Holcomb and Smith, 2010) ผลการวิ จั ย แสดงให้ เ ห็ น ว่ า นั ก ศึ ก ษาเห็ น ด้ ว ยกั บ การบูรณาการเครือข่ายสังคม ควรที่นักการศึกษาจะบูรณา การเครือข่ายทางสังคมมาใช้ในการสอน (Ridwan, 2009) เพราะจะท าให้ นั ก ศึ ก ษามี ส่ ว นร่ ว มในการสอนของ อาจารย์และในด้านการเรียนรู้ของพวกเขาเองก็จะสร้าง สภาพแวดล้อมใหม่ ๆ ในการเรียนที่แตกต่างไปจากเดิม ที่สาคัญคือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ฟรี ง่ายต่อการใช้งาน เป็นเครื่องมือที่มีพลังอย่างยิ่งในการติดต่อสื่อสาร สร้าง ประสบการณ์ใหม่ภายนอกห้องเรียนและเสริมการเรียนใน ห้องเรียนด้วย (Rodriguez, 2011) ประโยชน์และการใช้ งานง่ายรวมทั้งเข้าถึงได้สะดวกของเครือข่ายสังคม จึง เห็นได้ว่าเครือข่ายทางสังคมสามารถนามาเป็นเครื่องมือ ทางการศึ ก ษาได้ เ ป็ น อย่ า งดี มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว ได้ เชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์ ได้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งกั น ตลอดเวลา ช่วยให้การจัดการศึกษามีความยืดหยุ่นและ นับวันเครือข่ายสังคมจะเข้ามามีอิทธิพลทางการศึกษามาก ขึ้น (Ashraf and Yousef , 2012) ข้อเสนอแนะของคณะผู้วิจัยได้พบว่า เครือข่ายสังคม เป็น สิ่งที่ ง่ายต่อการเข้าใช้ง าน สื่อ สัง คมไม่สามารถจะ ควบคุมได้ ผู้สอนทาหน้าที่ได้เพียงเป็นผู้ร่วมในเครือข่าย สังคมแม้ว่าผู้สอนจะเป็นผู้นาเมื่ออยู่ในห้องเรียน แต่เมื่อ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์จาเป็นที่ผู้สอนจะต้องระมัดระ

หวังการใช้งาน ผู้เรียนอาจจะมีลักษณะไม่เหมือนกับที่พบ ในห้องเรียน พฤติกรรมและการใช้ภาษาอาจไม่เป็นแบบที่ ผู้สอนคาดหวัง ผู้สอนสามารถใช้สื่อสังคมหลากหลายใน ห้องเรียนเพื่อเป็นแนวทางใหม่ในการเรียนการสอนทั้งใน ห้องเรียนและในโลกไซเบอร์ (Pornphisud, 2012) การนา เครือข่ายทางสังคมบูรณาการเข้าร่วมกับการจัดการเรียนการ สอนผ่านอีเลิร์นนิ่ง ย่อมเหมาะสมกับยุคของผู้เรียนและไม่ ทาให้อีเลิร์นนิ่งมีแต่เนื้อหาที่นิ่งเฉย รอการเข้ามาอ่านเท่านั้น

8) บทสรุป การจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ เป็ น การเรี ย นรู้ ด้ ว ย ตนเองของผู้เรียน ถ้าจะทาให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ควรบูรณาการเครือข่ายทางสังคมเข้ามาช่วยในการจัดการ เรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ ติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และช่วยให้สะดวกใน การนาข้อมูลความรู้มากมายเข้ามาสู่อีเลิร์นนิ่ง อันจะทาให้ การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ สอดคล้องกับยุคสมัยของ ผู้เรียน

9) กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช ภัฏหมู่บ้านจอมบึง อนุเคราะห์ให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการ วิจัย รวมทั้ งสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เอื้อเฟื้อระบบอีเลิร์นนิ่งในการวิจัยครั้งนี้

10) เอกสารอ้างอิง ปรัชญนันท์ นิลสุข (2555) เทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผลิตตาราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ศิริลักษณ์ โรจนกิจอานวย (2555) องค์ประกอบคุณภาพ ความสัมพันธ์ของเครือข่ายสังคม. วารสาร บริหารธุรกิจ ปีที่ 35 ฉบับที่ 133 มกราคม-มีนาคม 2555 หน้า 9-18. Ashraf Jalal and Yousef Zaidieh (2012) The Use of Social Networking in Education : Challenges and

175


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.