Proceeding of NEC 2012

Page 104

การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ รูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อม จริ ง แบบประเมิ น รั บ รองรู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ เรียนรู้ ผ่านเอ็ มเลิร์น นิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วย วิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์วิจัย ค่าเฉลี่ย เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง ตาม แนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี การปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ จ าก สภาพแวดล้อมจริง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบประกอบด้วย 2.1) ขั้นเตรียมการก่อนการเรียนการสอน 2.2) ขั้นการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 2.3) ขั้นสรุปผล 3) การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิ ร์นนิง ตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง มี 4 ขั้นตอนคือ 3.1) ขั้นกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้จาก สภาพแวดล้อมจริง 3.2) ขั้นการเลือกใช้เครื่อ งมือแบบ เคลื่อนที่ในการทากิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม จริง 3.3) ขั้นหาความรู้จากสภาพแวดล้อมจริงตามกิจกรรม การเรียนรู้ที่กาหนด 3.4) ขั้นสรุปความรู้ที่ได้จากการ ปริทัศน์เพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 4) การวัดและประเมินผลใช้แบบวัดและการประเมินผล ตามสภาพที่เป็นจริง 2. ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่านทาการประเมินรูปแบบ การเรี ย นการสอนมี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า รู ป แบบการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

2020” ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “ICT เป็นพลังขับเคลื่อนสาคัญใน

การนาพาคนไทยสู่ความรู้และปัญญา เศรษฐกิจไทย สู่การ เติบโตอย่างยั่งยืน สังคมไทย สู่ความเสมอภาค” ซึ่งหมายถึง ประเทศไทยจะมีการพัฒนาอย่างฉลาด การดาเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ และสั ง คมจะอยู่ บนพื้ น ฐานของความรู้ แ ละ ปัญญา โดยให้โอกาสแก่ประชาชนทุกคนในการมีส่วนร่วม ในกระบวนการพั ฒ นาอย่ างเสมอภาค น าไปสู่ การเติ บ โต อย่ า งสมดุ ล และยั่ ง ยื น จ ากยุ ท ธศ าสตร์ ข้ อ ที่ 2ขอ ง กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนการเรียนการสอนด้วยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การศึ กษาของประเทศไทย มี วัต ถุ ป ระสงค์ คื อ เพื่ อ สร้ า ง กาลังคนของประเทศ โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้วยการใช้ ICT เป็นเครื่องมือหรือเป็นส่วนประกอบสาคัญของการเรียน การสอน รวมทั้งการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติ (National Learning Center:NLC) เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอนในภาพรวม ให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ด้านการพัฒนาและการประยุกต์ใช้ ICT อย่างสร้างสรรค์ มี ธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรู้เท่าทัน อาทิ ผู้เรียนมีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน สืบค้น ข้อมูล ตลอดจนถึงการเรียนรู้ด้วยตัวเองจากระบบ ICT เป็น การช่วยให้ผู้สอนได้มีเวลาดูแลใส่ใจผู้เรียนในด้านพฤติกรรม การเรียนรู้และสังคมมากขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศไทยต่อไป “การออกแบบการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร เชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ” เป็ น การพั ฒ นาเพื่ อ ตอบสนองยุ ท ธศาสตร์ ข องที่ 2 ของ กระทรวงศึกษาธิการเพราะในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์การ เรียนการสอนแบบไร้สายและสามารถเคลื่อนที่ไปในที่ต่าง ๆ ได้ อ ย่ า งสะดวกสบาย การพั ฒ นารู ป แบบนี้ เ พื่ อ ที่ จ ะเป็ น แนวทางให้กับบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาการเรียน การสอนที่เหมาะสมภายใต้บริบทของประเทศไทยต่อไป เอ็มเลิร์นนิง (m-Learning) หมายถึง การจัดกระบวนการ เรี ย นรู้ แ บบเคลื่ อ นที่ โดยอาศั ย อุ ป กรณ์ เ คลื่ อ นที่ ที่ มี ก าร เชื่อมต่อแบบไร้สาย เช่น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบพกพา แท็ปเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น โดยอาศัยเทคโนโลยีทางการ สื่อสารเข้ามาช่วยเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ (มนต์ชัย เทียนทอง, 2547)

คำสำคัญ: รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้, เอ็มเลิร์น นิง, ทฤษฎีการเชื่อมต่อ , ปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวด ล้อมจริง

1) บทนำ ประเทศไทยมี ก ารกาหนดกรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ.2554-2564 หรือ “ICT 102


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.