Health and Environment

Page 1

Health Promotion : Kalasin Public Health Office

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ชื่อเอกสาร : เอกสารชี้แจงประกอบการดาเนินงานตามแผนงานโครงการ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ หน่วยงาน : กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ จัดทาครั้งที่ ๑ : ๒๒ มกราคม ๒๕๕๖ ISBN : ที่ปรึกษาการจัดทาเนื้อหาเอกสาร : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข หัวหน้ากลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้จัดทา : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นายยุทธพล ภูเลื่อน นายธนาเดช อัยวรรณ นายสมพงษ์ สาราญพงษ์ นางสุวพิชญ์ วงศ์พรหมเมฆ นางสาวรฎิกา ฤทธิ์รุ่ง นายเอกรินทร์ สังขศิลา นายธีรวุฒิ วรโคตร นางสาวนภาวรรณ ภูพลผัน นายวุฒินันท์ รัตนะ

ดร. สุภัทรา สามัง ดร. ศิริชัย รินทะราช นางอภัยวัล พรตระกูลพิพัฒน์ นายพิทักษ์ กาญจนศร นางสาวแอนนา แสบงบาล นางสมหวัง กลางประพันธ์ น.ส.จินตนา ฆารพวง นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก น.ส.กนกพรรณ ยี่วาศรี นายบุญส่ง โยแก้ว

ศิลปกรรม ออกแบบปก : นายบุญส่ง โยแก้ว ปรับปรุง รวบรวมเนื้อหา : ดร.ศิริชัย รินทะราช นางสาวนภาวรรณ ภูพลผัน ตรวจพิสูจน์อักษร : นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก

นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก นางสาวประภาพร ช่วงชัยชนะ นางสาวนภาวรรณ ภูพลผัน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


Health Promotion : Kalasin Public Health Office คานา กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีภารกิจในการ ส่งเสริมให้ประชาชน มีสุขภาพดี โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคีเครือข่ายต่างๆทั้งภาครัฐและ เอกชน ที่มีองค์ความรู้และประสบการณ์ในการดาเนินงานส่ งเสริมสุ ขภาพและอนามัย สิ่ งแวดล้ อม ซึ่งมี จุดมุ่งหมายให้ประชาชนทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกอาชีพในพื้นที่ ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพที่ได้มาตรฐานอาศัย สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ดังนั้น ในปีนี้จึงได้จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถถ่ายทอดแนวทางการดาเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่ผู้ ปฏิบัติให้เป็นแนวทางเดียวกัน เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุตามเปูาหมายที่กาหนด และตอบสนองต่อนโยบาย ของกรม กระทรวงสาธารณสุข และตอบสนองต่อป๎ญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ต่อไป กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

สารบัญ เรื่อง

หน้า

โครงการงานอนามัยแม่และเด็ก......................................................................................................................1 โครงการการส่งเสริมสุขภาพวัยทางานจังหวัดกาฬสินธุ์...................................................................................15 โครงการงานผู้พิการ/กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการตามความจาเป็นจังหวัดกาฬสินธุ์...............................17 แนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณการแก้ไขป๎ญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด...........................................................26 โครงการส่งเสริมพัฒนาและสนับสนุน อสม. ในการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน.....................................29 ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย.....................................................................................................................34 โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์............................................................................................41 การส่งเสริมทันตสุขภาพ...................................................................................................................................52 งานส่งเสริมพัฒนาวัดเพื่อบรรลุเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพของกรมอนามัย........................................................55 แนวทางการดาเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม......................................................................................................57 โครงการพัฒนาชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ...........................................................................59 ตัวอย่างการดาเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว .......................................................................62 ภาคผนวก แบบรายงานประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) .........................................64 แบบประเมินรายหมู่บ้าน แบบฟอร์ม 2 : สรุปผลการประเมิน ……………………………………………………………69 แบบใบแสดงความจานงขอรับการประเมิน “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน”จากผู้ประเมินภายนอก…………………71 แบบสรุปการรายงานตัว (การแสดงตน) เพื่อยืนยันการมีตัวตน ตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบสิทธิ์ อสม. ………………………………………………………………………………………….72 แบบรายงานตัว เพื่อยืนยันการมีตัวตน ตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบสิทธิ์ อสม. ……………………………………….73 แบบสรุปการรายงานตัว (การแสดงตน) เพื่อยืนยันการมีตัวตน …………………………………………………………… 75 แบบรายงานการดาเนินงานตาบลจัดการสุขภาพตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปี 2556 …….……………. 76 แบบรายงานงานอนามัยโรงเรียน ………………………………………………………………………………………………………84 เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (GHCO) ………………………………………………….93 แบบรายงานปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ ……………………………………………………………………………………………………96 แบบรายงานผลการดาเนินงานพัฒนาส้วมสาธารณะไทย และสถานบริการสาธารณสุขลดโลกร้อน……………97 เกณฑ์ประเมินโรงพยาบาลสีเขียว จังหวัดกาฬสินธุ์ Green Hospital Criteria : GHC …………………………….99 เอกสาร Power Point แนวทางการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ……………………………………………….

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เอกสาร Power Point การดาเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ …………………………………………………………………

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๑. งานอนามัยแม่และเด็ก ผู้รับผิดชอบโครงการ : ดร.สุภัทรา สามัง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Exclusive Summary) จากสถานการณ์ในป๎จจุบันป๎จจัยสาคัญที่กระทบต่อสุขภาพ ได้แก่การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม การขยายตัวของเมือง พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ แบบแผนใหม่ของการบริโภค แบบแผนของครอบครัว การ ขาดการออกกาลังกาย ความเครียดสูงขึ้น อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงทางประชากรเข้าสังคมผู้ สูงอายุและความ ไม่เท่าเทียมทางสุขภาพ ระบบส่งเสริมสุขภาพที่มีอยู่ มีหลายหน่วยงานร่วมกันดาเนินงาน มีงบประมาณหลายแหล่ง แต่ โดยภาพรวมงบประมาณด้านการส่งเสริมสุขภาพมีสัดส่วนน้อยกว่าที่ควรจะเป็น อีกทั้งที่สาคัญคือขาดการบูร ณาการอย่างจริงจัง ความชัดเจนระดับนโยบาย แนวทางการปฏิบัติ ขาดแคลนบุคลากรในระดับพื้นที่ การ ประสานและแลกเปลี่ยนข้อมูล องค์ความรู้ใหม่ๆตลอดจนมาตรฐานและมาตรการที่จะนาไปสู่การวางแผนละ กาหนดแนวทางในการพัฒ นาเป็น ไปอย่ างจากัดเนื่องจากขาดองค์ความรู้และบุคลากร ใช้เวลาในการ ประสาน อันจะส่งผลให้การคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากป๎จจัยเสี่ยงต่างๆไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ระบบส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์ คือ เน้นปูองกันมากกว่าการรักษาพยาบาล เน้นดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม เน้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อสุขภาพดี สร้างสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการดารงชีวิตที่ดี และเป็นสุข สร้างสังคมมีสุข เน้นการมีส่วนร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น ภาครัฐ เอกชน ประชาชนมีสิทธิ์รับรู้ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจที่จะ รับหรือไม่รับบริการ ประชาชนมีสิทธิ์ให้ประเมิน และประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ทั้งนี้ผู้นาต้องมีความสามารถบูรณาการงานตามภารกิจของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในแต่ละระดับทั้งในระดับประเทศ เขต จังหวัด อาเภอ ตาบล/ชุมชนและครัวเรือน ให้มีการนาไป ในทิศทางเดียวกัน ปรับวิธีการทางานให้สามารถผนึกกาลังร่วมกันประสานการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งที่กล่าวมาข้างต้น จังหวัดกาฬสินธุ์ ภายใต้การนาของผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ หัวหน้าส่วนราชการที่ เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาสังคม มีการขับเคลื่อนกระบวนการดาเนินงานจนเกิด ระบบส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์ แต่ยังคงมีป๎ญหาสุขภาพที่เกิดจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อ การเจ็บปุวย ตายและพิการ ซึ่งเป็นป๎ญหาที่สามารถปูองกันได้โดยมุ่งเน้นไปที่การสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ เหมาะสม และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพที่ดีของประชาชน ซึ่งเป็นวิธีการที่มี ทุนต่ากว่าการ รักษาพยาบาลอย่างมากและมีความเสี่ยงน้อย 1. คนกาฬสินธุ์สุขภาพดี การจะส่งผลให้คนกาฬสินธุ์มีสุขภาพดี ต้องมีกระบวนการในการเพิ่มความสามารถให้บุคคลหรือ ประชาชนสามารถควบคุม ส่งเสริมและกาหนดสุขภาพตามวิถีและตามบริบท ถึงแม้ว่างานส่งเสริมสุขภาพ เป็นบทบาทหลักของกระทรวงสาธารณสุข หากป๎จจัยบางอย่างเช่ นการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ที่อยู่อาศัย การผลิ ตอาหารนอกเหนื อภาระหน้ าที่เช่น เด็กขาดสารอาหาร มีความพิการ ฐานะทางบ้านยากจน ไม่ สามารถจัดการโดยภาคสาธารณสุขโดยลาพัง การแก้ป๎ญหาจึงจาเป็นต้องให้ภาคส่วนอื่นร่วมด้วยช่วยกัน แก้ป๎ญหาแบบบูรณาการ 2. กลยุทธ์ในการส่งเสริมสุขภาพ 1. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การกาหนดนโยบายที่ตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 6


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ที่จะตามมา ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจที่กว้าง ครอบคลุมเรื่องกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ มาตรการ ทางด้านการเงินการคลัง การกาหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ เป็นการทางานที่ต้องประสานงานกันทั้งผู้ มีห น้ าที่เกี่ย วกับดูแลสุ ขภาพ ผู้ ดูแลในการกาหนดนโยบายสังคมเพื่อให้ เกิดความเท่าเทียมเช่นการสร้าง สวนสาธารณะในการออกกาลังกายที่มีความร่มรื่น มีสุขาน่าใช้ มีความปลอดภัยทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือประชาชนทั่วไป มีพื้นที่สร้างสรรค์แก่เยาวชนและวัยรุ่น 2. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ พลังงานอย่างประหยัดและยั่งยืน ลดมลพิษทั้งในที่ทางาน บ้าน ครัวเรือนและในชุมชน 3. เสริมสร้างกิจกรรมในชุมชนให้เข้มแข็ง เน้น กระบวนการทางานผ่านการมีส่วนร่วมและความเป็น เจ้าของของชุมชนในทุกขั้นตอน การพัฒนาจาเป็นต้องใช้ทรัพยากรของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อการช่วยเหลือ การยืดหยุ่น การแลกเปลี่ยน 4. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล มุ่งเน้นที่การพัฒนาคนและชุมชนผ่านข้อมูลข่าวสาร การให้สุขศึกษา การสร้างทักษะชีวิต ซึ่งต้องพัฒนาตลอดชีวิต เพื่อเป็นการเตรียมตัวให้พร้อมในแต่ละช่วงวัยตั้งแต่ในครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ วัยเด็กในการส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ และความฉลาดทางอารมณ์ วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ ครอบคลุมทั้งสถานที่เช่น บ้าน วัด โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ที่ทางาน ชุมชน 3. สถานการณ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพที่เป็นปัญหาของจังหวัดกาฬสินธุ์ 3.1 พัฒนาการและสติปัญญาเด็กไทย

จากผลการศึก ษาโครงการส ารวจสถานการณ์ และเกณฑ์ป กติ ความฉลาดทางอารมณ์ข อง เด็กไทยอายุ 3-5 ปี ของกรมสุขภาพจิต ปี พ.ศ. 2550 พบส่วนใหญ่เด็กไทยอายุ 3-5 ปี มีคะแนนความฉลาด ทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ 125-198 คะแนน(ค่าเฉลี่ย IQ ในเกณฑ์ปกติ 90 – 109) เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2545 เกณฑ์ปกติคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ 139-202 คะแนน และ พบว่าคะแนน EQ กับคะแนน IQ มีความสัมพันธ์กันในทุกองค์ประกอบ โดยเฉพาะในด้านกระตือรือร้น สนใจใฝุรู้ กล้าพูด กล้าบอก และมี ความพอใจในตนเอง (กรมอนามัยและกรมสุขภาพจิต. โครงการพัฒนา IQ EQ เด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี ปี 2552) และผลการสารวจสถานการณ์ ร ะดับสติปัญญาเด็กนักเรี ยนไทย ปี 2554. ออนไลน์จาก http://www. smartteen.net/iqeq/project.html/กรกฎาคม 2554 พบว่าเด็กจังหวัดกาฬสินธุ์มี IQ เฉลี่ย เท่ากับ 93.78 ลาดับที่ 71ของประเทศ ผลกระทบที่เกิดจากระดับ IQ EQ เด็ก IQ สูง จะส่งผลให้เด็กมีการเรียนรู้ได้ดี จดจาเก่ง เรียนเก่ง เมื่อเติบโตขึ้นจะสอบได้ทางานที่ดีๆ มี รายได้สูง จะสามารถเลี้ยงดูพ่อแม่และครอบครัวได้อย่างมีคุณภาพ EQ สู ง จะส่ งผลให้ เด็กมีการปรับตัวให้เข้ากับสั งคมได้ดี คิดดี รู้จักแยกแยะดีชั่ว พูดจาดี มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น ยิ้มแย้ม สุขุม มีความใจเย็นอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ ไม่ก้าวร้าว มีความอดทน ฟ๎ง คนอื่นพูดได้นาน สามารถแก้ไขป๎ญหาต่างๆ ได้ดีและมีความสุขในชีวิตตามที่เป็นอยู่ ทั้งนี้เนื่องจากร่างกายมี การหลั่งสารแห่งความสุขออกมาอยู่เสมอ ในทางตรงกันข้าม กล่าวคือ IQ ต่า จะส่งผลกระทบต่อเด็ก คือ สติป๎ญญาและการเรียนรู้ต่า เรียนรู้ช้า ไม่อยากเรียนหนังสือ หรือไม่ได้เรียนหนังสือเมื่อเติบโตขึ้นไม่มีงานทา หรือทางานแต่รายได้ต่า เป็นภาระของครอบครัว

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 7


Health Promotion : Kalasin Public Health Office EQ ต่า จะส่งผลกระทบต่อเด็ก คือ เป็นคนเก็บกด ก้าวร้าว ไม่พูดจากับใคร หรือพูดไม่ดี เข้ากับ สังคมไม่ได้ มองโลกแต่ในแง่ร้าย มีความเครียด โมโหฉุนเฉียวรุนแรง ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ ขาด สติ เนื่องจากมีการหลั่งฮอร์โมนแห่งความเครียดอยู่เสมอ เป็นภาระของสังคมที่ต้องได้รับผลจากการกระทาที่ รุนแรงไปด้วย หลักการแก้ไข 1. การตัง้ ครรภ์ และการคลอดที่มีคุณภาพ การเตรียมร่างกายให้พร้อมตั้งแต่การตั้งครรภ์ การ กินอาหารที่มีคุณค่า และมีการคลอดที่ถูกวิธี 2. เลี้ยงเด็กให้มีคุณภาพ เมื่อเด็กเกิดมา ต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีมีคุณภาพ ดังคากล่าวที่ว่า “ไม้อ่อนดัดง่ายไม้แก่ดัดยาก” ต้องมีความจริงใจในการเลี้ยงดูเด็กด้วยความรัก ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตั้งแต่แรก เกิด 3. เป็นต้นแบบที่ดี พ่อ แม่ ครอบครัว ต้องเป็นต้นแบบที่ดีให้แก่เด็ก ตามความเชื่อที่ว่า ลูกไม้ ย่อมหล่นไม่ไกลต้น เช่น พาเด็กไปศาสนสถานเป็นประจา ไม่ทะเลาะกันให้เด็กเห็น ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ งด เว้นอบายมุขทุกชนิด เป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิต 4. ระบบบริการสาธารณสุขในด้านอนามัยแม่และเด็ก ผู้ให้บริการสาธารณสุขมักจะไม่ได้มองป๎จจัย ข้อนี้ว่าเป็นสาเหตุ แต่ความเป็นจริงส่วนนี้ก็เป็นสาเหตุด้วย ต้องยอมรับว่าการเลี้ยงลูกให้มีพัฒนาการสมวัยนั้นต้อง ใช้พ่อแม่มืออาชีพ ไม่ใช่พ่อแม่มือใหม่หัดขับ ป๎จจุบันวัยรุ่นตั้งครรภ์สูงขึ้นเกือบ 20 % ในบางพื้นที่ ระบบบริการ สาธารณสุขในด้านอนามัยแม่และเด็กยิ่งสาคัญมากขึ้น ระบบสาธารณสุขต้องพัฒนาให้ทุกโรงพยาบาล เป็น โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 5. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย6 เดือน นอกจากจะได้สารอาหารและภูมิคุ้มกันที่เหนือกว่านม ผสม แล้ว สิ่งที่ได้มากยิ่งกว่าคือ ความผูกพัน ถ้าเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ถึง 6 เดือน แสดงว่า แม่ลูกคู่นั้นแทบจะแยก ออกจากกันไม่ได้ ความใกล้ชิดคือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่สาคัญ และความสัมพันธ์นี้จะเป็นพื้นฐานของ ความสัมพันธ์อื่นๆตามมา 6. ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ซึ่งจะเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกัน ทาให้สามารถเรียนรู้ในเรื่องการ ตั้งครรภ์ การคลอด การดูแลเด็กหลังคลอด จากเพื่อน จากพี่ ซึ่ง การช่วยเหลือในการเรียนรู้ จะช่วยลดช่องว่าง ของการสื่อสาร และเป็นการสื่อสาร 2 ทาง ผิดกับการให้สุขศึกษาของเจ้าหน้าที่ ที่นอกจากจะเป็นการสื่อสารทาง เดียวแล้ว ภาษาที่ใช้ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาจจะเข้าใจยากกว่าภาษาของชาวบ้านด้วยกัน นอกจากนั้นยังเป็น การแก้ป๎ญหาเรื่องความจากัดของทั้งปริมาณและเวลาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพราะมีเครือข่ายในการช่วย แนะนาเพื่อให้พ่อแม่มือใหม่มีประสบการณ์การเลี้ยงดูลูกจากผู้ที่มีประสบการณ์มาก่อน 7. ภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ส่งผลต่อน้าหนักทารกแรกคลอดและระดับการเจริญเติบโตของ ทารกขณะอยู่ในครรภ์

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 8


Health Promotion : Kalasin Public Health Office บทบาทของหน่วยงานสาธารณสุข 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อนอายุ ครรภ์ 12 สัปดาห์ เพื่อการตรวจ คัดกรองภาวะเสี่ยง ที่มีผลต่อสุขภาพของมารดาและทารก และได้รับยาเม็ดเสริมสารอาหารสาคัญ ตั้งแต่เริ่ม ตั้งครรภ์ 2. ส่งเสริมสนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด สามีและครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจใน การดูแลส่งเสริมสุขภาพทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตด้วยตนเองอย่างเหมาะสม มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม ได้รับการเฝูาระวังภาวะโภชนาการ ภาวะขาดธาตุเหล็ก ภาวะขาดสารไอโอดีน 3. สนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ปกติ ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก โฟเลต ตลอดการตั้งครรภ์ จนถึงหลังคลอดขณะที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ถ้าเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการของโรคธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นข้อ ห้ามในการเสริมธาตุเหล็ก ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีนเดี่ยวตลอดการตั้งครรภ์ จนถึงหลังคลอดขณะที่เลี้ยงลูกด้วย นมแม่ 6 เดือน 4. เฝูาระวัง คุ้มครอง ปกปูอง ให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดอาหารสาหรับทารก เด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง (Code นม) บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดทาแผนงาน โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน เช่น ตาบล นมแม่ ชุมชนต้นแบบ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน การจัดระบบบริการศูนย์เด็กเล็กให้มี คุณภาพตามมาตรฐาน 3. เพิ่มศักยภาพบุคลากร ผู้ดูแลเด็ก ให้จบการศึกษาปริญญาตรีทางด้านปฐมวัย 4. ฟื้นฟูความรู้ เพิ่มศักยภาพบุคลากร ผู้ดูแลเด็กที่ปฏิบัติงานในการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ เสริมสร้างไอคิว อีคิว เฝูาระวังส่งเสริมการเจริญเติบโต อาหารและโภชนาการ 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ให้ดาเนินการวางแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเด็กใน ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน 6. ดาเนินงานร่วมกับกระทรวงสาธารณสุ ข และหน่วยงานในท้องถิ่น ผลักดันให้ชุมชน/หมู่บ้าน ประกาศเป็นชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน บทบาทหน่วยงานเกษตรและสหกรณ์ 1. ส่งเสริมสนับสนุนการผลิตอาหาร ปลูกพืชผักสวนครัว สาหรับเป็นอาหารหญิงตั้งครรภ์ หญิง หลังคลอด เพื่อการมีสุขภาพสมบูรณ์สามารถสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้นานจนถึงเด็กอายุ 2 ปี หรือนาน กว่านั้น 2. พัฒนาอาชีพตามหลั กเศรษฐกิจพอเพียง สร้างรายได้ให้ห ญิงหลังคลอด เพื่อการประกอบ อาชีพที่บ้าน ไม่ทิ้งลูกไปประกอบอาชีพที่อื่น อันจะมีผลให้เด็กไม่ได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่ และขาดการดูแล เอาใจใส่

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 9


Health Promotion : Kalasin Public Health Office บทบาทกระทรวงแรงงาน 1. ให้การดูแลหญิงหลังคลอดที่เป็นผู้ประกันตนได้รับสิทธิประโยชน์กรณีคลอดบุตรและกรณี สงเคราะห์บุตร 2. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการจัดตั้งมุมนมแม่ เพื่อเป็นสวัสดิการสาหรับพนักงาน หญิงได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ บทบาทหน่วยงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1. สนับสนุนส่งเสริมให้ สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานสงเคราะห์ ศูนย์ ๓ วัยฯ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ ความฉลาดทางอารมณ์ และการเจริญเติบโตเด็ก ให้ได้ ตามมาตรฐานกลาง 2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้มาตรฐานกลางและส่งเสริมให้มีการนาไปใช้ในศูนย์เด็กเล็ก สถานรับ เลี้ยงเด็ก ศูนย์เด็กเล็กในสถานประกอบการ 3. ติดตามประเมินผลสถานรับเลี้ยงเด็กภาคเอกชน เพื่อให้มีคุณภาพสอดคล้องกับมาตรฐาน กลาง บทบาทหน่วยงานศึกษาธิการ 1. ส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนอนุบาล โรงเรียนวิถีพุทธ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ หลากหลาย เพื่อเสริมสร้างสติป๎ญญา ความฉลาดทางอารมณ์ การเจริญเติบโต 2. สนับสนุนและคัดสรรหนังสือที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย ให้แก่ศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้มีหนังสือสาหรับเด็กปฐมวัย ในห้องสมุด /ศูนย์การเรียนรู้ บทบาทหน่วยงานประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ประชาชนทุกระดับ ทราบความสาคัญและแนวทางการพัฒนา สติป๎ญญาเด็กไทย ร่วมกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง 3.2 ปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน สถานการณ์ป๎จจุบัน พบว่าเด็กไทยโดยเฉลี่ยมีไอคิวอยู่ในระดับต่า องค์การอนามัยโลกและยูนิเซฟ สรุปตรงกันว่า สาเหตุสาคัญเป็นเพราะเด็กไทยและคนไทยขาดสารไอโอดีน ซึ่งจะมีผลยับยั้งการเจริญเติบโต และพัฒนาการสมองเด็กทาให้เด็กไม่มีประสิทธิภาพในการเรียนรู้ การขาดไอโอดีน ส่งผลต่อระดับสติป๎ญญา และการเรียนรู้ของเด็กอย่างชัดเจนทาให้ “ไอคิว” ที่ควรเป็นไปได้ลดลง 10-15 จุด และแม้กระทั่งวัยผู้ใหญ่เอง ถ้าได้รับสารไอโอดีนไม่พอจะกลายเป็นคนเฉื่อยชา การตัดสินใจไม่เฉียบคม ไอโอดีนมีส่วนสาคัญใน กระบวนการสร้างธัยรอยด์ฮอร์โมน ที่จาเป็นต่อการสร้างเซลล์ของร่างกายและสมอง ทาให้มีการเจริญเติบโต อย่างปกติ โดยเฉพาะทารกที่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2 ขวบ หากขาดสารไอโอดีนจะทาให้สมอง เจริญเติบโตไม่เต็มที่ ลดความเฉลียวฉลาดหรือระดับสติป๎ญญา(ไอคิว) ของเด็กได้ถึง 10-15 จุด ทาให้เด็กมี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 10


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ป๎ญหา การเรียน และ กระทบต่อการเจริญเติบโต ถ้าขาดไอโอดีนรุนแรงจะเป็นโรคเอ๋อ และคอโต (วารสาร กรมสุขภาพจิต,ธันวาคม; ๒๕๕๓) ในส่วนสถานการณ์จังหวัดกาฬสินธุ์ จากการตรวจคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิดของจังหวัด กาฬสินธุ์ โดยการเจาะส้นเท้าทารกแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไป ที่มีปริมาณ TSH ( Thyroid stimulating hormone) มากกว่า 11.25 มิลลิยูนิตต่อลิตร ข้อมูล ปี พ.ศ. 2551-2555 พบมีภาวะการขาดสารไอโอดีน ร้อย ละ 25.73, 23.12, 14.77, 11.30 และ 10.76 ตามลาดับ ส่ ว นแนวโน้ ม การขาดสารไอโอดีน ในหญิงตั้งครรภ์มีอัตราเพิ่ มขึ้น (วัดค่า ไอโอดีนในป๎ส สาวะหญิ ง ตั้งครรภ์ ที่น้อยกว่า 100 ไมโครกรัมต่อลิตร) ปี 2553 จังหวัดกาฬสินธุ์ มีค่าไอโอดีน ในป๎สสาวะของหญิง ตั้งครรภ์ เท่ากับ 117.28 ไมโครกรัม / ลิตร ซึ่งอยู่ในค่าต่ากว่าเกณฑ์ค่ามัธยฐาน ( ค่าปกติ 150-300 ไมโครกรัม / ลิตร ) ซึ่งมีแนวโน้มบ่งชี้ว่า หญิงตั้งครรภ์บริโภคสารอาหารไอโอดีนไม่เพียงพอ จากผลการเก็บตัวอย่างป๎สสาวะในเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก ใน 6 อาเภอ ปี 2553 จานวนทั้งหมด 109 ตัวอย่าง ปรากฏผลว่า ในภาพรวมของพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มีค่าไอโอดีน ในป๎สสาวะของเด็กปฐมวัย เท่ากับ160.14 ไมโครกรัม / ลิตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ค่ามัธยฐาน ( ค่าปกติ 100-199 ไมโครกรัม / ลิตร ) แสดง ว่า มีแนวโน้มบ่งชี้ว่า เด็กปฐมวัย ( อายุ ≤ 6 ปี ) ได้สารอาหารไอโอดีนเพียงพอ แต่สาหรับผลการทดสอบ ระดับเชาว์ป๎ญญาในปี2554 (กรมสุขภาพจิต) โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ 93.79 ซึ่งอยู่ใน ลาดับที่ 71 ของประเทศ ดังนั้น เพื่อพัฒนารูปแบบการปูองกันภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัด กาฬสินธุ์ และแก้ป๎ญหาขาดสารไอโอดีนเชิงบูรณาการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด กาฬสินธุ์ได้ให้แนวทางการดาเนินงานโครงการกาฬสินธุ์ :คนดี สุขภาพดี รายได้ดี สู่เมืองแห่งความสุข วัตถุประสงค์เฉพาะ ๑) เพื่อให้เกิดชุมชน หมู่บ้าน ตาบลไอโอดีนในทุกอาเภอ ๒) เพื่อพัฒนาสมรรถนะ “ทูตไอโอดีน” ได้แก่ บุคลากร อาสาสมัครสาธารณสุข เครือข่ายองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและแกนนาชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน ผู้ดูแลเด็ก ในองค์ความรู้เรื่องไอโอดีนกับสมอง และการดาเนินงานกิจกรรมแก้ไขป๎ญหาโรคขาดสารไอโอดีนในพื้นที่ ๓) เพื่อจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม การแก้ป๎ญหาขาดสารไอโอดีนให้มีประสิทธิภาพ ๔) เพื่อนิเทศ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของแผน/โครงการ/กิจกรรม แก้ไขป๎ญหาโรคขาดสารไอโอดีนในพื้นที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ดาเนินการแก้ป๎ญหาขาดสารไอโอดีนเชิงระบบอย่างบูรณาการ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ ๒๕๕๕ จากการวิเคราะห์สถานการณ์ป๎ญหาเด็กไทยไอคิวลดลงสาเหตุเนื่องมาจากขาดสารไอโอดีนที่องค์ ความรู้ป๎จจุบันทราบว่ามีผลกับสมองและสติป๎ญญาอย่างไร สถานการณ์จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่าเด็กแรกเกิดมี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 11


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ผลเจาะส้นเท้าที่ค่าฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัยรอยด์ ที่ 11.25 มิลลิยูนิตต่อลิตร แนวโน้มดีขึ้น และสารวจไอคิว เด็ก อายุ 10-12 ปีพบไอคิวเฉลี่ยเพิ่มขึ้นแต่เพียงเล็กน้อย และมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 97.8 (สานักงาน สาธารณสุขจังหวัด ; 2555 ) นั่นหมายความว่าแม้จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ดาเนินการแก้ป๎ญหา ตามมาตรการ ก็ยัง ไม่สามารถบรรลุตัวชี้วัดผลลัพธ์ แต่สถานการณ์มีแนวโน้มที่ดีขึ้น ในทุกกลุ่มประชากร โดยมีอาเภอนามน และอาเภอยางตลาดเป็นอาเภอต้นแบบที่มีระบบบริหาร จัดการเครือข่าย โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือ อย่างต่อเนื่องและเข้มแข็ง แนวทางการแก้ป๎ญหา 1. มาตรการหลัก 1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนมาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization : USI) เนื่องจากการเสริมไอโอดีนในเกลือเป็นวิธีที่ปลอดภัย และประหยัดที่สุด เพราะเกลือมีความ เค็มจึงเป็นข้อจากัดในการบริโภคทาให้ผู้บริโภคได้รับไอโอดีนในระดับที่ไม่เกินความต้องการของร่างกายและมี ต้นทุนในการเสริมไอโอดีนในเกลือเพียง 1.3 บาทต่อคนต่อปีเท่านั้น โดยมีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้ ควบคุม กากับ และปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องเกลือบริโภค น้าปลา น้าเกลือปรุงอาหาร และผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนจากถั่วเหลือง ควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน และผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนในสถานที่ผลิต จาหน่าย ร้านอาหาร แผงลอย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และครัวเรือน รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ผู้บริโภคเลือกใช้ เลือกบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และ ผลิตภัณฑ์ เสริมไอโอดีนที่มีเลขสารระบบอาหาร (เลข อย) สนับสนุนส่งเสริมให้มีการเสริมไอโอดีนในห่วงโซ่อาหารที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและการ ดารงชีพแก่ประชากรในแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็นการแก้ไขป๎ญหาการขาดสารไอโอดีนในทุกกลุ่มประชากรที่มี ประสิทธิผลและยั่งยืน 1.2 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ จัดรณรงค์ในวันไอโอดีนแห่งชาติ / เทศกาลสาคัญของจังหวัด ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชน วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว สร้างภาคีเครือข่ายสื่อสาร อสม. ในระดับชุมชน 1.3. บริหารจัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด เกษตร จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด พานิชย์จังหวัด และประชาสัมพันธ์จังหวัด เป็นต้น ให้ความสาคัญกับการควบคุมและ ปูองกันโรคขาดสารไอโอดีน ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีนโยบายและมาตรการการควบคุมและปูองกันโรค ขาด สารไอโอดีน โดยใช้กลไกกองทุนสุขภาพตาบล และแผนสุขภาพตาบล ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์ ดังนี้ 1) ชุมชน / หมู่บ้าน มีนโยบายและมาตรการการควบคุมและปูองกันโรคขาดสารไอโอดีน 2) ผู้นาและแกนนาชุมชน / หมู่บ้าน และประชาชน รับรู้ ตระหนัก และปฏิบัติเรื่องการ ควบคุม และปูองกันโรคขาดสารไอโอดีนได้

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 12


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 3) มีการสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ณ แหล่งผลิต สถานที่จาหน่าย ร้านอาหาร ครัวเรือน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ปีละ 2 ครั้ง 3.3 ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ปูองกันได้ แต่วัยรุ่นจานวนมากยังเข้าไม่ถึงข้อมูลและบริการ ด้านเพศทาให้วัยรุ่นขาดความรู้และทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา อย่างต่อเนื่อง ขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกาเนิดอย่างถูกวิธี ไม่สามารถควบคุมอารมณ์หรือตนเองเมื่ออยู่กับ เพศตรงข้าม ถูกกระตุ้นอารมณ์เพศจากสื่อทางลบ และใช้สารเสพติด รวมทั้งการเข้าไม่ถึงบริการคุมกาเนิดที่มี ประสิทธิภาพ สิ่งเหล่า นี้เป็นป๎จจัยเสริมต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นที่สถานการณ์และแนวโน้มขณะนี้น่า เป็นห่วง กล่าวคือ อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นลดลงจาก 18-19 ปี เป็นประมาณ 15-16 ปี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539: กรมอนามัย, 2552) จากผลการเฝูาระวัง Behavioral Surveillance Survey ของสานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่า จากปี 2549-2553 นักเรียน ม. 2 ม. 5 และ ปวช. 2 มีประสบการณ์เพศสัมพันธ์สูงขึ้น แม้ว่าจะมีการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกมี แนวโน้มสูงขึ้น แต่ปี 2553 มีประมาณร้อยละ 50 ของวัยรุ่นที่ มีการใช้ถุงยางอนามัย สาหรับการใช้ถุงยาง อนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับแฟน หรือ คู่รัก แนวโน้มไม่ชัดเจน ผลกระทบประการสาคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ ดังจะเห็นได้จากข้อมูลจากสานั กทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ที่พบว่า แม่คลอดบุตรอายุ 10-19 ปี เพิ่มจากร้อยละ 13.9 ในปี 2547 เป็น ร้อยละ 16.2 ในปี 2553 และเมื่อ เปรียบเทียบอัตราการตั้งครรภ์ของหญิงอายุ 15-19 ปี ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน ก็พบแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นจาก อัตรา 55.0 ในปี 2548 เป็นอัตรา 56.1 วัยรุ่นจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุเกินกว่า 20 ปี เช่น ภาวะโลหิต จาง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกาหนดสูง เจ็บครรภ์คลอดนาน การคลอดโดยใช้อุปกรณ์ ช่วยคลอด เสี่ยงต่อการผ่าตัดคลอด ภาวะทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม และทารกตายในครรภ์ อัตราตายของมารดาอายุ 15-19 ปี สูงกว่ามารดาที่มีอายุ 20-24 ปี ถึง 3 เท่า และวัยรุ่นยังไม่พร้อมด้านจิตใจ สาหรับการเป็นแม่ นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดป๎ญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วยคือ การต้องหยุดหรือออกจากการศึกษา ไม่มีงานทา ค่ารักษาพยาบาลขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยง ดูบุตร ป๎ญหาเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ทาให้ป๎ญหา“เด็กเกิดน้อยแต่ด้อย คุณภาพ” ของประเทศไทยทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เป็นภาวะวิกฤติหนึ่งที่มีผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ ทั้ง กาย จิต การศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทั้งต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัว และสังคมไทยในภาพรวม จังหวัดกาฬสินธุ์มีแนวโน้มวัยรุ่นตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20.72 (ค่าเปูาหมายไม่เกินร้อย ละ 10) ดังนั้นป๎ญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการปูองกันและแก้ไขโดยทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง บทบาทหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1. ส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด (เช่น หน่วยงานในจังหวัดที่สังกัดกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข ส านั กงานต ารวจแห่ งชาติ ฯ เป็ น ต้น ) มีการจั ดทาแผนปฏิ บัติก ารและดาเนิน งานตามแผนที่ มาจากแผน ยุทธศาสตร์แบบบูรณการเพื่อปูองกันและแก้ไขป๎ญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 13


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 2. หน่วยงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ทาหน้าที่ผู้ประสานงานหลักรวบรวมและ ติดตามความก้าวหน้าการดาเนินงานโครงการปูองกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน จังหวัด 4. รณรงค์สร้างกระแสเพื่อปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการปูองกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น 5. ส่งเสริมให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนมีแผนปฏิบัติการและสนับสนุนการดาเนินงาน ปูองกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น บทบาทหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 1. จัดการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้านในสถานศึกษาในสังกัด 1) ส านักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน(สพฐ.)2) ส านั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา(สอศ.) และ 3) ส านั ก งาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(สป.) ซึ่งมีหน่วยงานงาน 2หน่วยงาน คือ สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน(สช.) และสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.) อย่าง ต่อเนื่องและครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย ส่วนสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็นสถานศึกษา ที่มีการเรียนการสอนคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ควรมีการบรรจุหลักสูตรเพศศึกษา และกระบวนการ จัดการเรียนรู้เรื่องเอดส์และเพศศึกษาให้กับนักศึกษาอย่างครอบคลุม 2. จัดการเรียนการสอนทักษะชีวิต ในสถานศึกษาในสังกัด สพฐ. อย่างต่อเนื่องและครอบคลุม 3. จั ด ให้ มี ร ะบบการดู แ ลช่ วยเหลือ นัก เรี ยน ในสถานศึ กษาในสั งกั ด สพฐ. อย่า งต่ อเนื่อ งและ ครอบคลุม 4. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม เช่น การใช้สื่อ UP TO ME ในการ สร้างความตระหนักเรื่องการปูองกันการตั้งครรภ์ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ สช. และ กศน. 5. สนับสนุนให้แกนนานักเรียนจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ สร้างความตระหนัก ให้การแนะนาการ ปรึกษา ช่วยเหลือ และส่งต่อในเรื่องการปูองกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ ในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง๖. มีบทบาทในการกากับ ติดตาม ประเมินผลการจัดกิจกรรม /กระบวนการ เพื่อปูองกัน การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง บทบาทหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม 1.ส่งเสริมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดเพื่อกาหนดแผนการปฏิบัติงาน ประจาปี 2.ส่งเสริมการจัดกิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็กและเยาวชนและประชาชนในตาบลใน ด้านศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี จารีตต่างๆ รวมทั้งลานดนตรี และกีฬา บทบาทหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 1. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทางานอนามัยการเจริญพันธุ์ระดับจังหวัดที่บูรณาการจากทุกภาค ส่วนที่มีเปูาหมายปูองกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีแผนและมีการดาเนินงานตามแผน 2. รณรงค์สร้างกระแสเพื่อปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการปูองกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 14


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 3. ส่ ง เสริ ม โรงพยาบาลทุ ก ระดั บ (รพศ. รพท. รพร. รพช.) ในสั ง กั ด ส านั ก งานปลั ด กระทรวง สาธารณสุข) มีการจัด “คลินิกวัยรุ่น” และสามารถดาเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับ วัย รุ่ น และเยาวชน เพื่อให้ วั ย รุ่ น เข้าถึ งและใช้บ ริการสุ ข ภาพเพื่อปู องกันการตั้งครรภ์ และโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์และเอดส์ 4.พัฒนาระบบศูนย์พึ่งได้ บทบาทกระทรวงมหาดไทย 1. สื่อสารและโน้มน้าวให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแผนปฏิบัติการปูองกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมใน วัยรุ่น และมีการดาเนินงานตามแผนฯ รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมปูองกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นของ หน่วยงาน หรือ กลุ่มต่างๆ 2. กระตุ้นและส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัด มีการจัดการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้านอย่าง ต่อเนื่องและครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย บทบาทหน่วยงานในสังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ 1. ปราบปรามสถานบันเทิงที่เปิดให้วัยรุ่นอายุต่ากว่า 18 ปี เข้ามาใช้บริการ 2. ปราบปรามแหล่งขายบริการทางเพศ/การค้าประเวณี 3. ปูองกันและปราบปรามการพรากผู้เยาว์ บทบาทหน่วยงานสานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด 1. รณรงค์สร้างกระแสเพื่อปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และการปูองกันการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 15


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ผู้ควบคุมกากับ : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสุภัทรา สามัง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เบอร์โทร : 043 – 811168

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 16


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 17


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยจังหวัดกาฬสินธุ์ ภายใน 6 ปี (2556 - 2560)

ระดับกระ บวนการ

ระดับภาคี

ระดับประ

เด็ก 0-5 ปี มีโภชนาการดี มีสุขภาพแข็งแรง พัฒนาการสมวัยทั้งด้านร่างกาย สติป๎ญญา อารมณ์ และอยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น โดยชุมชนมีส่วนร่วมส่งเสริมสิง่ แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสติป๎ญญาเด็กไทย เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย - พัฒนาระบบเฝูาระวังสุขภาพเด็ก 0-5 ปี - ส่งเสริมพัฒนาการและ โภชนาการเด็ก 0-5 ปี - ส่งเสริมการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่

แรงงาน/ปกส. สนับสนุนร่วมมือในการ พัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ส่งเสริมสถานประกอบการดูแลหญิงตั้งครรภ์/ หญิงหลังคลอด - สร้างกระแสการส่งเสริม อนามัยแม่และเด็ก - สนับสนุนด้านสวัสดิการแก่หญิงตั้งครรภ์/ หญิงหลังคลอด มีระบบการบริหารจัดการที่ประสิทธิภาพ สร้างจัดการองค์ความรู้ พัฒนาระบบสนับสนุน เครือข่าย พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผล

อปท.สนับสนุนงบประมาณและส่งเสริมงาน อนามัยแม่และเด็กให้ได้มาตรฐาน - พัฒนา ศพด.ให้ได้มาตรฐาน - ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงาน งาน อนามัยแม่และเด็ก

มีระบบสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ทมี่ ี ประสิทธิภาพ -

ระดับ พื้นฐาน

-

ระบบข้อมูลที่ง่ายต่อการเข้าถึงและ นาไปใช้ระหว่างหน่วยงาน -พัฒนาระบบข้อมูลให้สามารถเข้าถึงได้ง่าย และสะดวกต่อการนาไปใช้ - จัดตั้งศูนย์ประสานงานกลางด้านข้อมูล - จัดทาช่องทางการเข้าถึงระบบข้อมูล ระหว่างหน่วยงานให้หลากหลาย

ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังอนามัยแม่ และเด็ก - สร้างระบบการเฝูาระวังภาวะ โภชนาการและพัฒนาการเด็ก - มีแผนงาน/โครงการของชุมน - สร้างมาตรการทางสังคม

พ่อแม่มีทักษะมีความรู้ มีความตระหนักและเข้าถึง บริการอนามัยแม่และเด็ก - ส่งเสริมศักยภาพครอบครัว - ส่งเสริมส่ายสัมพันธ์ในครอบครัว - การสร้างเครือข่ายครอบครัว

พัฒนาระบบสื่อสารภายใน/ ภายนอกองค์กร สร้างกระแสสังคมเพื่อส่งเสริม สุขภาพเด็ก พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง

บุคลากรทุกหน่วยงานมีความรูแ้ ละให้ความสาคัญในการ พัฒนาสติปัญญาเด็กไทย

-พัฒนาศักยภาพบุคลากรระหว่างหน่วยงานในการ พัฒนาสติป๎ญญาเด็กไทย - สร้างกระแสรณรงค์ให้บุคลากรมีความตระหนัก และเห็นความสาคัญในการพัฒนาฯ - ส่งเสริมการจัดการความรู้ระหว่างหน่วยงานอย่าง ต่อเนื่อง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

พม./ตารวจ/มหาดไทย สาธารณสุขสนับสนุน วิชาการ/บริการอย่างมีประสิทธิภาพ

- พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านวิชาการ - สนับสนุนการให้บริการตามเกณฑ์ มาตรฐาน - ส่งเสริมพัฒนาสร้างภาคีเครือข่ายใน ชุมชน

-

-

มีกระบวนการจัดการความรู้ ส่งเสริมการใช้ภูมิปญ ๎ ญาท้องถิ่น ส่งเสริมการสร้างและใช้ นวัตกรรม/รูปแบบมาตรฐาน อย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการจัดเวทีและเปลี่ยน เรียนรู้ทุกระดับ

เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ - ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม - ส่งเสริมการทางานเป็นทีม - เร่งรัดการจัดบริการแบบ Service mind

หน้า 18


Health Promotion : Kalasin Public Health Office การดาเนินงานอนามัยแม่และเด็ก การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว วัดส่งเสริมสุขภาพ ที่

ข้อมูล

1. อัตราการตายของมารดา 2.

3. 4. 5. 6.

อัตรามารดาอายุต่ากว่า 20 ปี ภาวะโลหิตจางในหญิง ตั้งครรภ์1 ร้อยละฝากครรภ์ครบ 4 ครั้ง อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ อัตราทารกตายปริกาเนิด

7. ทารกแรกเกิดมีภาวะขาด ออกซิเจน 8. อัตราทารกแรกเกิด น้าหนักน้อยกว่า2,500 กรัม 9. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ 10. เด็กมีพัฒนาการสมวัย 11 ภาวะพร่องไทรอยด์ ฮอร์โมนในเด็กแรกเกิด 12. ชมรมผู้สูงอายุ 13. วัดส่งเสริมสุขภาพ 14. หมู่บ้านไอโอดีน 15. ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่

ค่าเปูาหมาย 2550

ผลการดาเนินงาน ( พ.ศ.) 2551 2552 2553 2554

2555

ไม่เกิน18ต่อแสน การเกิดมีชีพ ไม่เกินร้อยละ10

32.78

22.06

22.44

13.62

30.95

15.13

15.98

19.31 18.53 21.02

20.72

ไม่เกินร้อยละ10

2.51

5.44

14.30 13.90 12.11

17.0

มากกว่าร้อยละ 80 มากกว่าร้อยละ 50 ไม่เกิน 9 ต่อ1000 การเกิดทั้งหมด ไม่เกิน 30 ต่อพัน การเกิดมีชีพ ไม่เกินร้อยละ 7

81.42

76.33

78.93 82.16 82.76

84.23

38.91

37.74

37.58 39.47 43.24

52.01

4.91

6.51

7.37

3.93

6.16

24.15

12.91

19.52 20.67 15.12

16.51

8.41

7.92

8.89

7.13

8.02

มากกว่าร้อยละ 25 มากกว่าร้อยละ 95 น้อยกว่าร้อยละ 3

19.02

24.11

37.68 43.15 38.57

36.1

99.02

98.23

98.78 99.10 99.48

98.21

NA

18.9

25.8

20.8

11.3

10.3

733

7

11

11 NA

11 NA

18

18

1,620 แห่ง 459แห่ง

NA

NA

ปี 2555 ผ่านเกณฑ์ดีมาก 75 แห่ง ผ่านเกณฑ์ดี 137 แห่ง ผ่านเกณฑ์พื้นฐาน148 แห่ง ต้องปรับปรุง 99 แห่ง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

28.31

3.81

8.37

98 181 6.5% 11.17%

ร้อยละ 16.33 ร้อยละ 29.84 ร้อยละ32.24 ร้อยละ21.56 หน้า 19


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๒. โครงการ : การส่งเสริมสุขภาพวัยทางาน จังหวัดกาฬสินธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบโครงการ : นายธนาเดช อัยวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ หลักการและเหตุผล : ในป๎จจุบันพบว่าประชาชนในวัยทางานได้เกิดกลุ่มภาระโรค Metabolic diseases มากขึ้น ซึ่งเป็น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ภาวะไขมันในเลือดสูง ทาให้เกิดโรค หลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ อันเนื่องมาจากวิถีชีวิตของวัยทางานได้เปลี่ยนแปลงไปมาก เริ่มมีรูปแบบการ บริโภคอาหารต่างไปจากเดิม ซึ่งประชากรวัยทางานส่วนหนึ่งจะนั่งโต๊ะทางานมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย มี ภาวะเครียด ไม่ค่อยมีเวลาออกกาลังกาย และไม่ค่อยสนใจเรื่องอาหาร เพราะมีประชุม มีอาหารว่าง มีงาน เลี้ยงตอนเย็น กินไปคุยกันเรื่องงานไป รวมทั้งบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก ขนมขบเคี้ยว ดื่มน้าอัดลม เครื่องดื่มประเภทกาแฟและน้าผลไม้ที่เติมน้าตาลแทนการดื่มน้าเปล่า ไม่เว้น แม้กระทั่งบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การซื้ออาหารสาเร็จรูปประเภทถุงซึ่งมีวางจาหน่ายหาซื้อง่าย ราคา ถูก การโฆษณาอาหารที่ให้พลังงานสูง อาหารบริการด่วนและบริการส่งถึงบ้าน ทาให้อาหารที่ให้พลังงานสูงที่ นานๆ เคยได้กินที กลายเป็นสิ่งที่กินได้ทุกวัน และยังมีบางกลุ่มที่ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการรับประทาน อาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้า ซึ่งบางคนงดอาหารเช้าแต่ดื่มกาแฟแทน ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง อาหาร มื้อเช้าเป็นมื้อที่สาคัญและจาเป็นมาก ต้องรับประทานทุกวัน เพื่อกระจายพลังงานอาหารให้เหมาะกับความ ต้องการ นอกจากจะช่วยให้ร่างกายไม่หิวมากในช่วงบ่ายแล้วยังควบคุม ปริมาณอาหารในมื้อเย็นให้กินน้อยลง ได้ และที่สาคัญคือขาดการออกกาลังกาย จึงส่งผลให้บางคนมีภาวะน้าหนักเกินและอ้วน ผลสารวจล่าสุด โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบว่า คนไทยมีภาวะโภชนาการเกิน และ กลายเป็นโรคอ้วน เพิ่มสูงมากที่สุด ในรอบ ๑๐ ปี โดยเด็กแรกเกิด ถึงอายุ ๑๒ ปี มีความอ้วนพุ่งสูงถึง ร้อยละ ๔๐ รองลงมาคือช่วงอายุ ๔๐-๕๐ ปี อ้วนเพิ่มขึ้น เกือบ ๒ เท่า และช่วงอายุ ๒๐ – ๒๙ ปี อ้วนเพิ่มขึ้น เกือบ ๒ เท่า และช่วงอายุ ๒๐-๒๙ ปี มีความอ้วนอยู่ที่ ร้อยละ ๒๑.๗ และพบว่า ภาวะไขมันคลอเลสเตอรอล ใน เลือดสูง มีอัตราความชุก เพิ่มขึ้น จากร้อยละ ๑๕.๕ เป็น ๑๙.๔ ผลสารวจล่าสุด มีคนไทยอายุ ๑๕ ปี ขึ้น ไป เป็นโรคอ้วนติดอันดับ ๕ ของเอเชียแปซิฟิก โดยมีคนอ้วนมากถึง ๑๗ ล้านคน และยังมีแนวโน้มเป็นโรค อ้วนเพิ่มขึ้นอีก ประมาณ ๔ ล้านคนต่อปี ทาให้ภาครัฐต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจานวน มาก วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ผลักดันให้สังคมเกิดความตระหนักในการ ดูแลสุขภาพของตนเองอย่างยั่งยืน ตามหลัก ๓ อ. ๒. สนับสนุนให้เครือข่ายดาเนินงานในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บริโภคและการใช้แรงกายที่เหมาะสมของคนในชุมชน/องค์กร

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 20


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ตัวชี้วัด ๑.ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบไร้พุง อาเภอ ละ ๑ แห่ง ๒.ประชาชนชาย อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชนมีรอบเอว น้อยกว่า ๙๐ ซม.ร้อยละ ๘๐ ๓.ประชาชนหญิง อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชนมีรอบเอว น้อยกว่า ๘๐ ซม.ร้อยละ ๕๕ ๔.คลินิกไร้พุง (DPAC) ในสถานบริการ โรงพยาบาล และ รพ.สต. ร้อยละ ๑๐๐ มาตรการการดาเนินงาน ๑. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ ทั้งในระดับองค์กร ชุมชนและท้องถิ่นเช่น ลดพุง ลด สุรา งดบุหรี่ ๒. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ๓. สนับสนุนสถานบริการ มีคลินิกไร้พุง (DPAC) ในสถานบริการของรัฐ ๔. การสร้างเสริมกิจการชุมชน/องค์กร ให้เข้มแข็ง  สนับสนุนการขับเคลื่อนตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทยให้ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด  ส่งเสริมสนับสนุนและเพิ่มศักยภาพให้ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ ละ องค์กรอื่น ๆ ในทุกระดับ มีส่วนร่วมและมีส่วนรับผิดชอบในการส่งเสริมสุขภาพ  ชุมชน/องค์กร มีขีดความสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน/องค์กร ให้บรรลุ เปูาหมาย ไร้พุง บริโภคเหมาะสม ลดหวานมันเค็ม เติมเต็มผักผลไม้ ออกกาลังกายพอเพียง ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ ลดเสี่ยงโรค และสามารถเป็นต้นแบบและศูนย์เรียนรู้ให้แก่ภาคีเครือข่าย เพื่อดาเนินการอย่าง ต่อเนื่อง อย่างเข้มแข็ง  ส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของประชาชนและของชุมชนเพื่อเสริมสร้างความรู้ และทักษะของบุ คคลและความเข้มแข็งของชุมชน สาหรับการดูแลตนเองด้านสุ ขภาพและการ พึ่งตนเองของชุมชน  สร้างองค์ความรู้ตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.(อาหาร ออกกาลังกาย อารมณ์ สุรา และยาสูบ)  สร้างคน /องค์กรต้นแบบไร้พุง/องค์กรสุขภาพดี และแหล่งเรียนรู้ระดับบุคคลและชุมชน  ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่เน้นการมีสุขภาพแบบยั่งยืน ************************* ผู้ควบคุมกากับ : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ : นายธนาเดช อัยวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ เบอร์โทร : 043 – 811168

………………………………………………………… กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 21


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๓. โครงการ : งานคนพิการ/กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการตามความจาเป็นจังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้รับผิดชอบ : นางสุวพิชญ์ วงศ์พรหมเมฆ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ กลยุทธการดาเนินงาน ๑. เพื่อพัฒนาหน่วยบริการทุกระดับให้มีมาตรฐาน 1.เพื่อให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ที่อยู่ในระยะที่จาเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในเขตพื้นที่จังหวัด กาฬสินธุ์ เข้าถึงบริการ(ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ที่จาเป็นต่อสุขภาพจากหน่วยบริการ สถานบริการ หรือองค์กรอื่นๆ ร่วมทั้งได้รับเครื่องช่วยกายอุปกรณ์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับบริการทาง การแพทย์ ในการตรวจวินิจฉัยหรือมีข้อบงชี้ทางการแพทย์ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และรายการที่ สป.สช. กาหนด หรือรายการอื่นที่ได้รับความเห็นจากคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพ ระดับจังหวัด) ๒.พัฒนาระบบหน่วยบริการ ตามความพร้อมด้านบริการฟื้นฟูสมรรถภาพของหน่วยบริการ สถาน บริการทุกระดับในจังหวัด ให้สามารถจัดบริการและจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้ครอบคลุม ตอบสนองต่อความจาเป็นของคนพิการและผู้ที่อยู่ในระยะที่จาเป็นต้องฟื้นฟูสมรรถภาพในท้องถิ่น ชุมชนได้ มากขึ้น ๓. เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการดูแล ช่วยเหลื่อ สนับสนุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่อยู่ในระยะที่จาเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในระดับชุมชนและครอบครัวที่สามารถเชื่อมโยงกับ หน่วยบริการและสถานบริการทั่วเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ๔. เพื่อสนับสนุนพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กรคนพิการองค์กรผู้สูงอายุ และองค์กร อื่นๆ ให้สามารถร่วมมือกับหน่วยบริการ สถานบริการ และมีส่วนร่วมดูแลรักษาสุขภาพช่วยเหลือ กลุ่มเปูาหมาย ตลอดจนเป็นองค์กรแก่นกลางร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ผู้สูงอายุและผู้ที่ มีความจาเป็นที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้แก่การส่งเสริมพัฒนาอาชีตลอดจนกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ๕.เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหาร หรือพัฒนากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งนี้ไม่ เกินร้อยละไม่เกินร้อยละสิบของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพในรอบปีงบประมาณให้บริการ ฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐาน กลุ่มเป้าหมายที่ให้บริการ -คนพิการ หมายถึง คนพิการที่ลงทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(ท.๗๔) -ผู้สูงอายุ ที่อยู่ในระยะจาเป็นที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสุขภาพ,ฟื้นฟูชีวิติ ( ฟื้นฟูผู้ปุวยติดบ้านติดเตียง ลดลง และเพิ่มผู้สูงอายุสูสังคมให้มากขึ้น ) -กลุ่มเสี่ยง(Sub acute ) คือบุคคลที่อยู่ในระยะที่จาเป็นต้องฟื้นฟูสมรรถภาพ (ตัวชี้วัดของกระทรวง เน้น กลุ่มเด็ก ๐-๕ ปีเน้นกิจกรรมพัฒนาการเด็ก,ฟื้นฟู/จักบริการรูปแบบใหม่ที่มิใช้งานประจา)) เปูาหมายการดาเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ดังนี้ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเด็ก ๐-๕ ปี เน้นกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการ หรือจัดบริการรูปแบบใหม่ๆ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 22


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

ตัวชี้วัด /ผลลัพธ์ หน่วยบริการระดับรพท/รพช . มีระบบ ให้บริการมีมาตรฐาน. รพสต.,และกองทุนอบต/เทศบาลร่วมเป็นเครือข่าย ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ เกิดรูปแบบร่วมให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพขององค์กรคนพิการชุมชน และองค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกาไร (มีนวัตกรรม/เกิดนวัตกร) มีศุนย์ซ่อมบารุงกายอุปกรณ์ พัฒนาศักยภาพบุคลกร/องค์กรคนพิการพัฒนาศักยภาพขยายเครือกลุ่ม เครือข่ายให้มีศกยภาพในการบริการ ฟืน้ ฟูอย่างมีมาตรฐาน คนพิการ ผู้สูงอายุ และกลุ่มเสี่ยง(ผู้ปุวยSub Acute) ที่มีความจาเป็นได้รับบริการฟื้นฟู มีระบบข้อมูลคนพิการ และรายงานผลการให้บริการ ๗.๑ มีและใช้ข้อมูลคนพิการ โปรแกรมข้อมูลคนพิการโดยใช้เครื่องมือสารวจ ICF ๗.๒ มีระบบฐานข้อมูลคนพิการแยกประเภทความพิการ(๗ ประเภท) ๗.๓ มีรายงานผลการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพตามความจาเป็น ๗.๔ ตรวจ คัดกรอง ค้นหาคนพิการ และทะเบียนคนพิการขึ้นทะเบียนคนพิการ สิทธิ ท.๗๔ และส่งต่อจดทะเบียน คนพิการกระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ (พม.) ๗.๕ มีทะเบียน/รายงานการจัดบริการตามโปรแกรมบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สป.สช.) ๗.๕.๑ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ๙ ระหัส ๗.๕.๒ บริการผู้ปุวย โรคเบาหวาน(รองท้องเบาหวาน)ระหัส ICD - 10 ๗.๕.๓ บริการฟ๎นเทียมผู้สูงอายุ ระหัส ICD - 9 สถานการณ์คนพิการจังหวัดกาฬสินธุ์ คนพิการจังหวัดกาฬสินธุ์จานวน ๑๗,๘๕๕ คนแยกประเภทได้ดังนี้ ประเภทที่ ๑ ความพิการทางการเห็น จานวน ๑,๒๗๙ คน , ประเภทที่ ๒ ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย จานวน ๑,๒๕๕ คน , ประเภทที่ ๓ ด้านการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย จานวน ๓,๔๑๓ คน ประเภทที่ ๔ ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จานวน ๗๐๒ คน ประเภทที่ ๕ ความพิการทางสติป๎ญญา จานวน ๑.๐๒๑ คน ประเภทที่ ๖ ความพิการทางการเรียนรู้ จานวน ๖ คน, ประเภทที่ ๗ ความพิการทางด้าน ออทิสติก จานวน ๑๕๕ คน ความพิการมากกว่าหนึ่งประเภท จานวน ๒๗๕ คน และไม่สามารถแยกประเภทได้จานวน ๙,๗๕๙ คน * คนพิการสิทธิข้าราชการ จานวน..................คน * คนพิการสิทธิประกันสังคม จานวน ................คน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 23


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ชื่อตัวชี้วัด หน่วยวัด น้าหนัก คาอธิบาย

KPI Template งานคนพิการ : ร้อยละ๖๐ ของหน่วยบริการสาธารณสุขมีการจัดบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดี : ร้อยละ : : คนพิการ หมายถึงคนพิการที่ได้ รับการจดทะเบียนคนพิการตาม มาตรา๔และมาตรา

๔๕แห่งพรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการปี ๒๕๕๐ ประกาศ ณ วันที่ ๙ กรกฏาคม ๒๕๕๕ให้ คาจากัดความดังนี ้ บุคลที่มีข้อจากัดเพราะความบกพร่องของบุคคลและมีอปุ สรรคด้ านต่างๆ/ จาเป็ นพิเศษมีข้อจากัดความยากลาบากในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวัน หรื อเข้ าไปมีส่วนร่วมทางสังคมอัน เนื่องมาจากความบกพร่องด้ านต่างๆ โดยบูรณาการเกณฑ์การประเมินความพิการใช้ ควบคูก่ บั เกณฑ์การ ประเมินตามพรบ.ส่งเสริมฟื น้ ฟูคนพิการปี พศ. ๒๕๓๔ แบ่งได้เป็น ๗ ประเภทความพิการดังนี้ ๑. ความพิการทางสายตาหรือการมองเห็น ระดับที่ได้รับการจดทะเบียน คือ 1,2,3,4,5 ๒. ความพิการทางการได้ยินหรือการสื่อความหมาย ระดับที่ได้รับการจดทะเบียน คือ 3,4,5 ๓. ความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ระดับที่ได้รับการจดทะเบียน คือ 3,4,5 ๔. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ระดับที่ได้รับการจดทะเบียน คือ1,2,3 ๕. ความพิการทางสติป๎ญญา ระดับที่ได้รับการจดทะเบียน คือ3,4,5 ๖. ความพิการด้านการเรียนรู้ ๗. ความพิการออทิสติก : การให้บริการด้านการแพทย์แก่คนพิการได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ, การปูองกัน, การรักษาและ การฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมถึงการให้บริการเชิงรุก ได้แก่การออกไปเยี่ยมหรือดูแลคนพิการทีบ่ ้าน หรือการ ฟื้นฟูคนพิการโดยชุมชน (Community Based Rehablitation : CBR) : คนพิการ 1 คน มารับบริการทางการแพทย์ซ้าได้หลายๆครั้งตามความจาเป็นให้นับเป็นคนเท่านั้น /การบันทึกรายงาน การให้บริการหนึ่งคน จะบันทึกได้ ๑ ครั้งต่อไตรมาส ๑ ปีละ๔ ครั้งการบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ ของ สป.สช.มี 9 รหัสกิจกรรม ดังนี้ 1.กายภาพบาบัด หมายถึง การกระทาต่อมนุษย์ โดยวิธีทางกายภาพบาบัดเพื่อแก้ไขฟื้นฟูความ เสื่อมสภาพ ความพิการของร่างกาย อันเนื่องมาจากภาวะของโรค และการเคลื่อนไหวที่ไม่ ปกติ เพื่อเพิ่ม สมรรถภาพของร่างกายในการดารงชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ(H 9339) 2.กิจกรรมบาบัด หมายถึงการใช้กิจกรรมที่มีเปูาหมายกับบุคคลซึ่งมีข้อจากัดจากการบาดเจ็บหรือ เจ็บปุวยทางกาย ความบกพร่องทางจิตสังคม ความบกพร่องทางด้านการพัฒนาการ หรือการ เรียนรู้จาก กระบวนการเสื่อมถอยตามวัย เพื่อให้มีอิสระพึ่งตนเองได้มากที่สุด บริการเฉพาะทาง(H9383) กิจกรรมบาบัด ได้แก่การสอนทักษะทางกิจวัตรประจาวัน การพัฒนาการทักษะทางการ เคลื่อนไหว และการ รับรู้และการทาหน้าที่ของกระบวนการผสมผสานความรู้สึก การพัฒนาทักษะการเล่น และความสามารถ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 24


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ทางด้านการเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพ (เกษตรบาบัด) และความสามารถในกิจกรรมยามว่าง การออกแบบประดิษฐ์(หัตถกรรม คหกรรมบาบัด) หรือเลือกใช้อุปกรณ์ดัดแปลงเครื่องช่วยคนพิการ 3. การฟื้นฟูการได้ยิน (รหัส 9549)บริการให้อุปกรณ์เช่นเลนตาเทียมเลนและอบรมO&M(อบรมฝึก ทักษะการใช้ไม้เท้าขาวและการนาพาคนตาบอดสู่สังคม 4. การฟื้นฟูการมองเห็น ( รหัส9378)ให้บริการตรวจประเมินการได้ยิน,เครื่องช่วยฟ๎ง,ฯลฯ 5. การประเมินการแก้ไขการพูด หมายถึง การตรวจวินิจฉัยชนิดประเภทความรุ่นแรงพยาธิสภาพ สาเหตุโดยการใช้เครื่องมือ และแบบทดสอบพิเศษ และการปูองกัน แก้ไข ฟื้นฟูสมรรถภาพด้านภาษา และ การพูดในผู้ปุวยที่มีความบกพร่องในด้านการสื่อความหมายทั้งในผู้ปุวยเด็กและผู้ใหญ่ได้แก่ผู้ปุวยประเภท พูด ช้า พูดไม่ชัด พูดติดอ่างพูดไม่คล่อง พูดนึกคาลาบาก พูดเสียงแหบพูดเสียงห้วนเป็นต้น (9375 ) Interventionหมายถึง การกระตุ้นพัฒนาการในเด็กที่มีพัฒนาการในเด็กที่มีการพัฒนาการ เช่น การฝึกนั่ง , ยืน ,เดิน , เคลื่อนที่ เป็นต้น (9438 ) Phenol block หมายถึง การฉีดยา Phenol ไปที่กล้ามเนื้อเพื่อลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อมัด นั้นๆ(โดยนายแพทย์)(9489) สหวิชาชีพ หมายถึง บุคลากรทางสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู(นายแพทย์ ) พยาบาล เวชปฏิบัติ นักกายภาพบาบัด จพ เวชศาสตร์ฟื้นฟูฯ นักกิจกรรมบาบัด พยาบาล ( PN/GN ) นักวิชาการ สาธารณสุขที่ผ่านการอบรมระยะสั้น หน่วยบริการสาธารณสุข หมายถึง โรงพยาบาลทั่วไป๑ แห่ง ,โรงพยาบาลชุมชน ๑๓แห่ง รพ. สต.**** นาร่อง จานวน ๑ แห่ง/ อาเภอ ( ๑๘ แห่ง) องค์กรหมายถึง : องค์กรคนพิการ/องค์กรเอกชน หรือชมรม ที่ไม่แสวงหาผลกาไร ระดับความสาเร็จ : หมายถึง หน่วยบริการสาธารณสุขดาเนินงานบรรลุเปูาหมายตามเกณฑ์ที่กาหนดในแต่ ละระดับ โดยพิจารณา ตามศักยภาพ และการมีส่วนร่วมของหน่วยงานโดยแบ่งออกเป็น ๕ ระดับ สูตรการคานวณ : จานวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์ระดับดี x 100 จานวนหน่วยบริการสาธารณสุขตามเปูาหมายทั้งหมด( ๑๔ แห่ง ) แหล่งข้อมูล : จากแบบรายงานการให้บริการฟื้นฟูฯ/จัดสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ/กลุ่มเสี่ยง รายงาน E-REPORTและโปรแกรมบริการฟื้นฟูคนพิการ onlineของ สปสช. : จากโปรแกรมข้อมูลคนพิการสากล online ของ WHO ที่สารวจความยากลาบากของคน พิการจังหวัดกาฬสินธุ์โดยใช้เครื่องมือระหัส ICF ( Intermation Classification of Function disability )

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 25


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด

หน่วย วัด

รพท./รพช. ระดับ จัดบริการผ่าน เกณฑ์มาตฐาน ระดับดีร้อยละ ๖๐

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับต้อง พัฒนา ๑.มีคาสั่ง แผนงาน โครงการ ๒.มีทะเบียน รายชื่อคน พิการแยก ประเภท ๓.มีผลงาน บริการฟื้นฟูฯ คนพิการ ประเภท ๓,๔,๕ร้อยละ ๑๕

ระดับพอใช้

ระดับดี

๑..มีคาสั่ง แผนงาน โครงการ ๒.ทะเบียน รายชื่อคนพิการ แยกประเภท

๑..มีคาสั่ง แผนงาน โครงการ ๒.ทะเบียน รายชื่อคนพิการ แยกประเภท

๑..มีคาสั่ง,แผนงาน ๑..มีคาสั่ง, โครงการ แผนงานโครงการ

๓.มีทะเบียน ผู้สูงอายุที่มี ความจาเป็นที่ ต้องฟื้นฟูได้รับ บริการ ร้อยละ ๕๐ ๔.มีรายชื่อกลุ่ม เสี่ยงและได้รับ บริการฟื้นฟูร้อย ละ๑๕

๓.มีและใช้ ฐานข้อมูลคน พิการ ICF

๓.มีและใช้ ๓.มีและใช้ ฐานข้อมูลคนพิการ ฐานข้อมูลคน ICF พิการ ICF

๔.มีทะเบียน ผู้สูงอายุที่มีความ จาเป็นที่ต้อง ฟื้นฟูได้รับบริการ ร้อยละ๕๐ ๕.มีทะเบียน ๕.มีรายชื่อกลุ่ม และให้บริการใน เสียง/ได้รับ กลุ่มเด็กอายุ ๐- บริการฟื้นฟูร้อย ๕ ปีและได้รับ ละ๑๕ การฟื้นฟูและ กระตุ้พัฒนาการ ร้อยละ๔๐ ๖..จัดบริการ ๖.มีทะเบียนและ ฟื้นฟูฯคนพิการ ได้รับบริการฟื้นฟู ประเภท ๓,๔,๕ ในกลุ่มเด็กอายุ ร้อยละ๑๐ ๐-๕ ปีและได้รับ การฟื้นฟูและ กระตุ้นพัฒนา การร้อยละ๕๐

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

ระดับดีปานกลาง

๒.ทะเบียนรายชื่อ คนพิการแยก ประเภท

ระดับดีมาก

๒.ทะเบียนรายชื่อ คนพิการแยก ประเภท

๔.มีทะเบียน ผู้สูงอายุที่มีความ จาเป็นที่ต้องฟื้นฟู ได้รับบริการ ร้อย ละ๖๐ ๕.มีรายชื่อกลุ่ม เสียง/ได้รับบริการ ฟื้นฟูร้อยละ๒๐ และใช้ฐานข้อมูล คนพิการ

๔.มีทะเบียน ผู้สูงอายุที่มีความ จาเป็นที่ต้องฟื้นฟู ได้รับบริการ ร้อย ละ≥๖๐ ๕.มีรายชื่อกลุ่ม เสียง/ได้รับ บริการฟื้นฟูร้อย ละ≥๕๐ และใช้ฐานข้อมูล คนพิการ

๖.มีทะเบียนและ ให้บริการในกลุ่ม เด็กอายุ ๐-๕ ปี ที่มีความมีจาเป็นที่ จะกระตุ้นพัฒนา การและฟื้นฟูร้อย ละ›๖๐-๗๐

๖.มีทะเบียนและ ได้รับบริการใน กลุ่มเด็กอายุ ๐-๕ ปี ที่มีความจาเป็น ที่จะกระตุ้น พัฒนาการและ ฟื้นฟูร้อยละ≥๗๐

หน้า 26


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ตัวชี้วัด

หน่วย วัด

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับต้อง พัฒนา

ระดับพอใช้

ระดับดี

ระดับดีปานกลาง

ระดับดีมาก

๗.จัดบริการฟื้นฟู คนพิการประเภท ๓,๔,๕ร้อยละ๒๐ ๘.มีนวัตกรรม จานวน ๑ ชิ้น

๗.จัดบริการฟื้นฟูฯ คนพิการ ประเภท ๓,๔๕ ร้อยละ ๒๐๓๐

๗.จัดบริการฟื้นฟู ฯ คนพิการ ประเภท๓,๔,๕ ร้อยละ ≥๓๐

๘.มีเครือข่ายร่วม ให้บริการ ๙ มีนวัตกรรม ๒ ชิ้น

๘.มีเครือข่ายร่วม ให้บริการ ๙ มีนวัตกรรม ≥ ๓ชิ้น

-

เป้าประสงค์ ๑. คนพิการผู้สูงอายุได้รับบริการ รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพทั่วถึงและเป็นคุณภาพและได้มาตรฐาน กิจกรรมหลัก

จานวนทังหมด ้

เป้าหมายบริการ

พื้นที่

๑.สารวจคัดกรองกลุ่มเสียงเพื่อจดทะเบียน (ท.๗๔) (คน) ๒.คัดกรองกลุ่มเปูาหมายที่ควรได้รับการ บริการและฟื้นฟู(คน) ๒.๑ ร้อยละ๑๐ ของความพิการประเภทที่ ๑ ๒.๒ ร้อยละ๑๐ ความพิการประเภท ๒ ๒.๓ ร้อยละ ๘๐ ความพิการประเภท ๓,๔,๕ ๒.๔ ผูส้ ูงอายุที่จาเป็นต้องฟื้นฟู (๑๐๐) ๒.๕ กลุ่มเสี่ยง(ร้อยละ๑๐๐ของกลุ่มเสี่ยง ปี ๕๕) ๒.๖ เด็ก(๐-๕ปี)พัฒนาการช้า ๓.บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ๓.๑.ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ที่มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 27


Health Promotion : Kalasin Public Health Office กิจกรรมหลัก

จานวนทังหมด ้

เป้าหมายบริการ

พื้นที่

หน้า(ท74) ในหน่วยบริการประเภทที่๓,๔,๕ ร้อยละ ๖๐ของเปูาหมาย ๓.๒ ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในคน พิการ ผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยง/รับและส่งต่อ ผู้ปุวยระยะฟื้นฟูสิทธินอกหน่วยบริการร้อย ละ๖๐ ๓.๓. สนับสนุนพัฒนาเครือข่ายร่วมคัด กรองและมอบกายอุปกรณ์สาหรับคนพิการ, ผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยง ๒ การสร้างสุขภาวะ,การปูองกัน,การดูแลผู้ช่วยเหลือ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเปูา หมาย

พื้นที่

๑.การพัฒนาผู้ดูแลภาครัฐและเอกชน - อบรมผู้ให้ความดูแลเพื่อการฟื้นฟูชีวิตคนพิการ/ ผู้สูงอายุ/กลุ่มเสี่ยง ๑.๑ บุคลากร(พยาบาล,จนทอื่นๆ) ๑.๒ อสม., อพก,สมาชิกองค์กรคนพิการ,จิตอาสา ฯลฯ ๒.พัฒนารูปแบบการจัดบริการที่ไม่ใช่กิจกรรมงาน ประจา(นวัตกรรม/นวัตกร) ๓.พัฒนาระบบ การมีส่วนร่วมในการจัดบริการฟื้นฟู ร่วมกับท้องถิ่นและองค์กรคนพิการ,องค์กรเอกชน อื่นสร้างการมีส่วนร่วมพัฒนา,.อบรมอาสาสมัครจิต อาสา,จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น 3.จัดตั้งภาคีเครือข่ายฟื้นฟูสมรรถภาพระดับตาบล - ขยายศูนย์บริการตามสภาพป๎ญหาของชุมชน - จัดบริการในสุขศาลา - จัดสื่อ/คู่มือ การใช้อุปกรณ์ สาธิตสิ่งประดิษฐ์ - ส่งเสริมและส่งต่อการพัฒนาอาชีพ ให้ครอบครัว และคนพิการ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

ผลลัพธ์ รพท./รพช.จัดบริการผ่าน เกณฑ์มาตรฐานระดับดี

หน้า 28


Health Promotion : Kalasin Public Health Office กิจกรรมหลัก

กลุ่มเปูา หมาย

พื้นที่

ผลลัพธ์

- ร่วมจัดตั้งกองทุน/ สนับสนุนการจัดตั้งชมรมคน พิการ/คณะกรรมการและสมาชิกชมรมระดับอาเภอ และระดับตาบล - อื่นๆระบุ

ที่ 1 2

3

คนพิการ/เป้าหมายบริการฟื้นฟูสมรรถภาพตามความจาเป็น ประเภท ขึ้นทะเบียน เปูาหมายบริการ หมายเหตุ/เจ้าภาพ (คน) (คน) ประเภทที่ ๑ ความบกพร่อง เจ้าภาพหลักรพ.กส. การเห็น (ปี ๕๕ : ๒๐๐ คน) เจ้าภาพรองรพ/สสอ. ประเภทที่ ๒ ความพิการ เจ้าภาพหลักรพ.กส. บุคคล ทางการได้ยิน หรือสื่อ ความหมาย รพช./สสอ. ประเภทที่ ๓ ความบกพร่อง จากการเคลื่อนไหวหรื อจาก ร่างกาย

4 ประเภทที่ ๔ ความบกพร่อง

รพช./สสอ.

ทางจิตใจหรื อพฤติกรรม 5 ประเภทที่ ๕ ความบกพร่อง

รพช./สสอ.

ทางสติปัญญา 6 ประเภทที่ ๖ ความบกพร่อง

รพช./สสอ.

ทางการเรี ยนรู้ 7 ประเภทที่ ๗ ความบกพร่อง

รพช./สสอ.

ทางออทิสติก

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 29


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ที่ 1 2 3

เป้าหมายบริการของกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเปูาหมาย ที่ขึ้นทะเบียน ผู้สูงอายุ ≥ ๖๐ ปี ที่ขึ้นทะเบียน ท๗๗ (คน) ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง (คน) 2.1 ผู้สูงอายุที่เป็นคนพิการ ท๗๔ ผู้ปุวย Sub acute (คน)

เปูาหมายบริการ

คาจากัดความ -ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุครบ ๖๐ ปี บริบูรณ์ -ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง คือ ผู้สูงอายุที่มีสภาวะเสื่อมถอยทางร่างกายปฏิบัติกิจวัตรประจาวันด้วยตนเองไม่ได้(พึ่งผิง คนอื่น) หรือผู้เจ็บปุวยติดบ้าน, ผู้ปุวยติดเตียง - กลุ่มเสี่ยง(ผู้ปุวย Sub acute )หมายถึง ผู้ที่อยู่ในระยะที่จาเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านการพูด การได้ยินสื่อสาร เป็นต้น และเป็นผู้ที่ไม่ถูกประเมินเป็นผู้พิการ แต่มีข้อจากัดในการเคลื่อนไหวหรือการสื่อสาร หรือการดาเนินชีวิตในสังคมด้วยความยากลาบาก เช่น ผู้ปุวยกระดูกหัก Bone facture กระดูกแตก ใส่เผือก หรือดามเหล็ก ละเด็กพัฒนาการช้า (Early intervention ) และผู้ปุวยโรคเบาหวาน (DM) โรคหัวใจหลอด เลือด ผู้ปุวยถุงลมโปร่งพองหรือผู้ปุวยหลังจาก Dishart -Home health care หมายถึง การติดตามเยี่ยมฟื้นฟูผู้ปุวยที่บ้าน เพื่อรักษาสมรรถนะให้ยู่ในระดับคงที่หรือ ขึ้น โดยการให้บริการส่งเสริมปูองกัน และรักษาในมิตากาย จิตใจสังคม และสิ่งแวดล้อมในOPD และในชุมชน โดยบุคคลากร และ จนท.สาธารณสุข หรือผู้ผ่านการอบรมระยะสั้น ระบบรายงาน ๑.รายงานการจัดบริการฟื้นฟู/มอบอุปกรณ์ทุก ๓ เดือน(ต.ค.-ธ.ค.,ม.ค –มี.ค,เม.ย-มิ.ย.,ก.ค-ก.ย.) ๒.รายงานการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อคนพิการในสถานบริการและหน่วยงานของรัฐ ( ครั้งที่๑ วันที่๑ ตค , รั้งที๒่ วันที่ ๓๐ ตค--ธ.ค, ครัง้ ที่๓ เดือนม.ค –มี.ค, ครั้งที่ ๔ เม.ย-มิ.ย.,ก.ค-ก.ย.) ๓. รายงานสรุปถอดบทเรียนโครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณหมวดพัฒนารูปแบบบริการ(งบกองทุน อบจ.) ผู้ควบคุมกากับ : : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ : นางสุวพิชญ์ วงศ์พรหมเมฆ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ เบอร์โทร : 043 – 811168

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 30


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๔. แนวทางการเบิ ก จ่ า ยงบประมาณการแก้ ไ ขปั ญ หาผู้ เ สพ / ผู้ ติ ด ยาเสพติ ด ประจาปี ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบ : นายสมพงษ์ สาราญพงษ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชนชานาญงาน สถานการณ์ : ๑. สถานบริการสาธารณสุข จัดทาแผนงาน / โครงการการแก้ไขป๎ญหายาเสพติด ประจาปี ๒๕๕๖ ด้านการบาบัดรักษาผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด และการติดตาม ดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ผ่านการบาบัดรักษาแบบ ครบกาหนด - ใช้หลักสูตร ๘ คืน ๙ วัน - แบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รุ่นละ ๕๐ คน - ค่าตอบแทนวิทยากร ๖๓,๐๐๐ บาท / รุ่น ๒. การเบิกจ่ายงบประมาณด้านการติดตาม ดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ผ่านการบาบัดรักษาแบบครบ กาหนด อย่างน้อย ๔ ครั้ง / ปี. ๒.๑ ระยะเวลาการติดตาม - ครั้งที่ ๑ หลังจากผ่านการบาบัดรักษาครบกาหนด เป็นเวลา ๑ เดือน - ครั้งที่ ๒ หลังจากผ่านการบาบัดรักษาครบกาหนด เป็นเวลา ๓ เดือน - ครั้งที่ ๓ หลังจากผ่านการบาบัดรักษาครบกาหนด เป็นเวลา ๖ เดือน - ครั้งที่ ๔ หลังจากผ่านการบาบัดรักษาครบกาหนด เป็นเวลา ๑๒ เดือน ๒.๒ หลักฐานการเบิกจ่าย - แบบสรุป บสต. ๕ ๓. กรมการส่งเสริมปกครองท้องถิ่น ได้จัดสรรงบประมาณด้านการบาบัดรักษาผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพ ติด ดังนี้ - อบต. ทุกแห่ง ๆ ละ ๓๐ คน ๆ ละ ๓,๕๐๐ บาท เป็นเงิน ๑๐๕,๐๐๐ บาท - เทศบาล ทุกแห่ง ๆ ละ ๕๐ คน ๆ ละ ๓,๕๐๐ บาท เป็นเงิน ๑๗๕,๐๐๐ บาท

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 31


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เป้าหมายการดาเนินงานการแก้ไขปัญหาผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด ปะจาปี ๒๕๕๖ ที่

อาเภอ

เป้าหมาย

งบประมาณ ทั้งสิ้น

งบประมาณ ปปส.

งบประมาณ

การติดตาม

อปท.

งบประมาณ

เป้าหมาย

งบประมาณ

๑ เมืองกาฬสินธุ์

๒๙๘

๑,๐๔๓,๐๐๐

๗๐

๒๔๕,๐๐๐

๒๒๘

๗๙๘,๐๐๐

๔๒๐

๒๐๑,๖๐๐

๒ ยางตลาด

๒๘๐

๙๘๐,๐๐๐

๗๐

๒๔๕,๐๐๐

๒๑๐

๗๓๕,๐๐๐

๔๙๗

๒๓๘,๕๖๐

๓ กุฉินารายณ์

๒๗๐

๙๔๕,๐๐๐

๖๐

๒๑๐,๐๐๐

๒๑๐

๗๓๕,๐๐๐

๖๗๖

๓๒๔,๔๘๐

๔ กมลาไสย

๑๓๐

๔๕๕,๐๐๐

๔๐

๑๔๐,๐๐๐

๙๐

๓๑๕,๐๐๐

๑๗๘

๘๕,๔๔๐

๕ สมเด็จ

๑๗๘

๖๒๓,๐๐๐

๔๐

๑๔๐,๐๐๐

๑๓๘

๔๘๓,๐๐๐

๒๔๖

๑๑๘,๐๘๐

๖ หนองกุงศรี

๒๔๒

๘๔๗,๐๐๐

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๑๙๒

๖๗๒,๐๐๐

๓๔๓

๑๖๔,๖๔๐

๗ คาม่วง

๑๓๐

๔๕๕,๐๐๐

๔๐

๑๔๐,๐๐๐

๙๐

๓๑๕,๐๐๐

๑๙๘

๙๕,๐๔๐

๘ สหัสขันธ์

๒๕๐

๘๗๕,๐๐๐

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๒๐๐

๗๐๐,๐๐๐

๓๖๓

๑๗๔,๒๔๐

๙ ห้วยเม็ก

๑๓๑

๔๕๘,๕๐๐

๔๐

๑๔๐,๐๐๐

๙๑

๓๑๘,๕๐๐

๑๔๐

๖๗,๒๐๐

๑๐ ท่าคันโท

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๑๐๕

๕๐,๔๐๐

๑๑ ห้วยผึ้ง

๙๘

๓๔๓,๐๐๐

๙๘

๓๔๓,๐๐๐

๒๙๖

๑๔๒,๐๘๐

๑๒ เขาวง

๑๑๘

๔๑๓,๐๐๐

๔๐

๑๔๐,๐๐๐

๗๘

๒๗๓,๐๐๐

๓๖๘

๑๗๖,๖๔๐

๑๓ นามน

๑๑๐

๓๘๕,๐๐๐

๑๑๐

๓๘๕,๐๐๐

๒๕๓

๑๒๑,๔๔๐

๑๔ ร่องคา

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๘๙

๔๒,๗๒๐

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 32


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เป้าหมายการดาเนินงานการแก้ไขปัญหาผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด ปะจาปี ๒๕๕๖ (ต่อ) ที่

อาเภอ

เป้าหมาย

งบประมาณ ทั้งสิ้น

๑๕ นาคู

งบประมาณ ปปส.

งบประมาณ

การติดตาม

อปท.

งบประมาณ

เป้าหมาย

งบประมาณ

๖๐

๒๑๐,๐๐๐

๖๐

๒๑๐,๐๐๐

๕๓

๒๕,๔๔๐

๑๖ สามชัย

๑๐๐

๓๕๐,๐๐๐

๑๐๐

๓๕๐,๐๐๐

๑๖๙

๘๑,๑๒๐

๑๗ ดอนจาน

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๕๐

๑๗๕,๐๐๐

๕๔

๒๕,๙๒๐

๑๘ ฆ้องชัย

๙๐

๓๑๕,๐๐๐

๙๐

๓๑๕,๐๐๐

๒๘๑

๑๓๔,๘๘๐

๒,๖๓๕

๙,๒๒๒,๕๐๐

๕๐๐

๑,๗๕๐,๐๐๐

๒,๑๓๕

๗,๔๗๒,๕๐๐

๔,๗๒๙

๒,๒๖๙,๙๒๐

รวม

************************* ผู้ควบคุมกากับ : : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุกนัก วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ : นายสมพงษ์ สาราญพงษ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชานาญงาน เบอร์โทร : 043 – 811168

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 33


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๕. โครงการ : ส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุน อสม. ในการดาเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชน ปี ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบโครงการ : นายพิทักษ์ กาญจนศร นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สถานการณ์ของแผนงานโครงการ ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๕ ที่ผ่านมาสานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ดาเนินการสนับสนุน และพัฒนาศักยภาพ อสม.มาอย่างต่อเนื่อง ตามโครงการพัฒนาสุขศาลา กาฬสินธุ์ โดยได้จัดให้มีการอบรม พัฒนาศักยภาพ อสม.ในหลักสูตรมาตรฐาน อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ ครบทุกคน ให้มีสุขศาลา กาฬสินธุ์ ครบทุก หมู่บ้าน อบรม อสม.ขั้นสูง ในหมู่บ้านสุขศาลาต้นแบบ นอกจากนี้ยังมีการอบรม อสม.เชี่ยวชาญ อบรม อสม. หลักสูตรผู้นาการเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพชุมชน มีการคัดเลือก อสม.ดีเด่น สนับสนุนชมรม อสม.ทุกระดับ จัดประชุมชมรม อสม.ระดับจังหวัดทุกเดือน สนับสนุนวัน อสม.แห่งชาติ ผลงานของ อสม.ได้สร้างให้ชุมชนมี มากมายหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันโรค การรักษาพยาบาล การดูแลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ รัฐบาลได้ส่งเสริมขวัญกาลังใจในการมอบ ค่าตอบแทนแก่ อสม. ทุกคน นับเป็นการกระตุ้นส่งเสริมการดาเนินงานของ อสม.ให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่ง ผลงานของ อสม.ที่ดาเนินงานในชุมชนได้ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่มีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริม พัฒนา สนั บสนุนอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และการให้ความสาคัญกับ อสม. นับว่าเป็นแนวทางที่สาคัญในการส่งเสริมการดาเนินงานสาธารณสุขทุกด้านให้ประสบผลสาเร็จ ส่งผลต่อการมี สุขภาพดีแบบพอเพียงของพี่น้องประชาชน วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ๒. เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ อสม.ในการดาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ๓. เพื่อเสริมสร้างขวัญกาลังใจและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ อสม. แนวทางการดาเนินงาน งานฐานข้อมูล อสม. การบันทึกและปรับปรุงฐานข้อมูล อสม. กระทรวงได้กาหนดให้บันทึกบนเว็ปไซต์ของกระทรวงที่ สร้างขึ้นใช้ร่วมกันทั้งประเทศ โดยมีรหัสผ่านของสถานบริการทุกแห่งเข้าไปจัดการ เพื่อเป็นการจัดทา ฐานข้อมูล อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นป๎จจุบันและรองรับสิทธิประโยชน์ของ อสม.ในพื้นที่ รวมถึงค่าตอบแทน อสม. เดือนละ ๖๐๐ บาท กระทรวงจะใช้ข้อมูลจากเวปไซต์นี้ในการตรวจสอบชื่อ อสม.ที่มี สิทธิ์ให้ได้รับค่าตอบแทน จึงขอความร่วมมือจากสถานบริการทุกแห่ง ให้ดาเนินการเร่งรัดในการปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูล อสม.ในพื้นที่ที่ตัวเองรับผิดชอบ ผ่านเวปไซต์ http://www.thaiphc.net ทั้งในส่วนข้อมูล อสม. คู่สมรส

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 34


Health Promotion : Kalasin Public Health Office อสม. บุตรอสม. และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆให้แล้วเสร็จ เป็นป๎จจุบัน ในส่วนการแก้ไขข้อมูล อสม.ใหม่ อสม.แทนคนที่ลาออก เสียชีวิต พ้นสภาพ ให้ส่งข้อมูลเข้าให้ จังหวัดเพื่อบันทึกให้ เนื่องจากกระทรวงได้กาหนดให้จังหวัดแป็นผู้แก้ไขข้อมูล การเป็น อสม.ใหม่ เท่านั้น โดย การส่งเอกสารใบสมัคร ทั้งคนใหม่และคนที่ออก ประกอบด้วยใบสมัคร อสม.ใหม่ ใบลาออก สาเนาบัตร สาเนาทะเบียนบ้าน และกรอกเอกสารข้อมูล อสม.คนใหม่ ตามแบบรายงานที่ขึ้นเวปให้ ทั้งนี้ข้อมูล อสม.แต่ละสถานบริการจะต้องมีจานวนเท่ากับข้อมูลที่ได้รับเงินค่าปุวยการในป๎จจุบันนี้ เท่านั้น จานวน อสม.จะต้องไม่เกินที่ได้รับเงินป๎จจุบัน งานคัดเลือก อสม.ดีเด่น ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายคัดเลือก อสม.ดีเด่น เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและสร้าง ขวัญกาลังใจแก่ อสม. ที่ได้ร่วมกันพัฒนางานสาธารณสุขด้วยความเสียสละตลอดจนเพื่อเป็นการเผยแพร่ ผลงานดีเด่นของ อสม. สาขาต่างๆ โดยมีทั้งสิ้นจานวน ๑๐ สาขา โดยการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ของจังหวัด กาฬสินธุ์ ได้กาหนดแนวทางการคัดเลือกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับตาบล ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด สาขาที่ทาการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ๑๐ สาขา ดังนี้ ๑. สาขาการเฝูาระวัง ปูองกันและควบคุมโรคติดต่อ ๒. สาขาการส่งเสริมสุขภาพ ๓. สาขาสุขภาพจิตในชุมชน ๔. สาขาการปูองกันและแก้ไขป๎ญหายาเสพติดในชุมชน ๕. สาขาการบริการในศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) และการสร้างหลักประกันสุขภาพ ๖. สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๗. สาขาภูมิป๎ญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ๘. สาขาการปูองกันและแก้ไขป๎ญหาเอดส์ในชุมชน ๙. สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน ๑๐. สาขานมแม่สายใยรักแห่งครอบครัว งานพัฒนา สุขศาลากาฬสินธุ์ สุขศาลา กาฬสินธุ์ เป็นนโยบายการพัฒนางานระบบสุขภาพชุมชน ของจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยการ ฟื้นฟูศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.)สู่การเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพ ต้นแบบ (สุขศาลาหมู่บ้าน) วัตถุประสงค์ ให้เป็นสถานที่บริการด้านสุขภาพในชุมชน ที่บริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งเชิงรุก และเชิงรับโดยชุมชนเพื่อชุมชน ด้วยความรักเอื้ออาทร เช่นการรักษาพยาบาลเบื้องต้น การปฐมพยาบาล การ ให้คาแนะนาด้านสุขภาพ การเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพ เป็นสถานที่นัดหมาย ประชุม ประสานงาน ของคน ในชุมชน อสม.และเจ้าหน้าที่

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 35


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ผลงาน ที่ดาเนินงานมา ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๒ มีสุขศาลต้นแบบ จานวน ๒๗๕ แห่ง ปี ๒๕๕๓ มีสุขศาลา จานวน ๖๙๘ แห่ง รวม ๒ ปี ปี ๒๕๕๔ มีสุขศาลา ๔๗๐ แห่ง และ ปี ๒๕๕๕ จานวน ๑๗๗ แห่ง ครบทุกแห่ง แล้ว ในการพัฒนาปรับปรุงและสนับสนุน สุขศาลานั้นให้พัฒนาดาเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานของสุขศาลา ซึ่งจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้พัฒนามาตรฐานสุขศาลาลากาฬสินธุ์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานร่วมกัน การประกวดสุขศาลากาฬสินธุ์ ในปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ จังหวัดกาฬสินธุ์จะมีการจัดประกวดสุขศาลา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ กระตุ้นการพัฒนาสุขศาลา กาฬสินธุ์ ให้มีการดาเนินงานต่อเนื่องและเกิดประโยชน์แก่ประชาชน เป็นการ ค้นหาสุดยอดสุขศาลา กาฬสินธุ์ เป็นสุขศาลาต้นแบบประจาปี และเพื่อเพื่อเสริมสร้างขวัญกาลังใจ เชิดชู เกียรติแก่ชุมชนที่มีผลงานดีเด่นในการพัฒนาและดาเนินงาน สุขศาลา กาฬสินธุ์ เปูาหมาย อาเภอส่งตัวแทนสุขศาลา เข้าร่วมประกวด อาเภอละ ๑ แห่ง จานวน ๑๘แห่ง โดยได้ ดาเนินการประกวดและมอบรางวัลไปแล้วนั้น ในปี 2556 นโยบายการประกวดจะยังคงมีเหมือนเดิม ส่วน รูปแบบ อาจจะมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมต่อไป การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) การพัฒนาศักยภาพ อสม. จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้วางรูปแบบการจัดการไว้ ๓ รูปแบบใหญ่ ๆ คือ รู ปแบบที่ ๑ การอบรม อสม.ตามหลั กสู ต รมาตรฐาน อสม.จัง หวัดกาฬสิ น ธุ์ เป็ นการพัฒ นา ศักยภาพ อสม.เพื่อที่จะให้บริการใน สุขศาลา หลักสูตร ๑๐ วัน เรียนในฐานการอบรม ๕ วัน ฝึกปฏิบัติงานที่ สอ./รพ. อีก ๕ วัน เน้นเชี่ยวชาญการดาเนินงานสุขภาพในชุมชน การให้บริการงานสาธารณสุขทั้งเชิงรุกและ เชิงรับในชุมชน ซึ่งจังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งเปูาหมายให้ อสม.ทุกคนผ่านการอบรมหลักสูตรนี้ทุกคน เพื่อการยืนยัน การเป็น อสม.ตามที่กระทรวงกาหนด สาหรับปีนี้หลักสูตรนี้ไม่มีเปูาหมายการอบรมจากจังหวัด เพื่อให้ อสม. ใหม่ ที่ยังไม่ผ่านการอบรม ให้พื้นที่ดาเนินงานวางแผนการอบรมเอง รูปแบบที่ ๒ การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ ตามที่กระทรวงเน้นให้ดาเนินการ และการอบรม อสม. ที่พื้นที่กาหนดแผนโครงการอบรมตามสภาพป๎ญหาของพื้นที่ โดยใช้หลักสูตรของกระทรวงและพื้นที่กาหนดขึ้น ได้แก่ หลักสูตร อสม.เชี่ยวชาญ ๑๐ สาขา ทั้งนี้ การจัดการอบรมรูปแบบนี้ ให้อาเภอและ สอ./รพ.จัดตามความเหมาะสมให้มีความต่อเนื่อง โดยให้เป็นรูปแบบ โรงเรียน อสม. โดยการให้ความรู้ในวันประชุมประจาเดือน อสม. ให้ต่อเนื่อง รูปแบบที่ ๓ การอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.เพื่อจัดการสุขภาพชุมชนและการบริการสุขศาลาที่ได้ มาตรฐาน จังหวัดกาฬสินธุ์ อสม.ทุกคน จานวน ๑๘,๕๐๐ คน โดยความร่วมมือจาก อบจ.กาฬสินธุ์และ สสจ. กาฬสินธุ์ โดยใช้หลักสูตร นโยบายงานสาธารณสุขของจังหวัดกาฬสินธุ์ และใช้หลักสูตรผู้นาการเปลี่ยนแปลง ระบบสุขภาพชุมชนคนกาฬสินธุ์ เป็นการอบรมต่อเนื่อที่สุขศาลา ระหว่างครูพี่เลี้ยงประจาหมู่บ้านและ อสม. เป็นการมอบหมายงาน ภารกิจให้กับ อสม.ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมปูองกัน ฟื้นฟูและลดโรค

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 36


Health Promotion : Kalasin Public Health Office งานสนับสนุนขวัญ กาลังใจ อสม. ขวัญกาลังใจ อสม.เป็นเรื่องสาคัญ เนื่องจาก อสม.เป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ที่อาสามาดูแลสุขภาพ ของประชาชน กระทรวงได้จัดสวัสดิการแก่ อสม.หลายอย่าง เช่น สิทธิการรักษาพยาบาล อสม.และครอบครัว สิทธิในการรับค่าตอบแทนการอบรม ประชุม สิทธิโควตาการศึกษาต่อของ อสม.และบุตร อสม. การเชิดชู เกียรติ แก่ อสม.ที่ ทางาน ครบ ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๓๐ ปี เป็นต้น ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน อสม. (ค่าป่วยการ อสม.) นโยบายรัฐบาลสนับสนุนค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน ของ อสม. เริ่มตั้งแต่เดือน เมย. ๒๕๕๒ จนถึงป๎จจุบัน คนละ ๖๐๐ บาทต่อเดือน โดยเบิกจ่ายตามแนวทางปฏิบัติของกระทรวง ในปี ๒๕๕๖ อสม.จะ ยังได้ค่าปุวยการเหมือนเดิม ตามโควตาและจานวน อสม. ตามข้อมูล ซึ่งปี ๒๕๕๖ จังหวัดได้โควตา อสม.ใหม่ เพิ่ม จานวน ๓๑๕ คน ตอนนี้ได้จัดสรรให้กับอาเภอไปแล้ว รวม อสม. ปี ๒๕๕๖ จะได้รับเงินทั้งจังหวัด จานวน ๑๘,๕๐๐ คน การเบิกจ่าย อบจ.กาฬสินธุ์โอนเงินให้ สสจ.กาฬสินธุ์ แล้ว สสจ. จะโอนเงินเข้าบัญชี ของสถานบริการทีเ่ ปิดไว้สาหรับโครงการนี้ เจ้าหน้าที่เบิกจ่ายเงินให้ อสม. ในวันประชุมประจาเดือนของ อสม. ที่ อสม./รพ. ซึ่งจะต้องประชุมให้ความรู้เรื่องต่างๆในแต่ละเดือน ต้องมีรายงานผลงานส่งเจ้าหน้าที่ทุกเดือน และ จนท.ต้องรายงานตามระบบที่วางไว้ให้ทันตามกาหนด หากมีเงินเหลือจ่ายให้ยอดเงินคงอยู่ในบัญชีสิ้น ปีงบประมาณต้องรายงานและส่งคืนให้ สสจ. ตามรูปแบบเดิม และ เอกสารหลักฐานประกอบการจ่ายเงินเก็บ ไว้ที่สถานบริการ ดังนี้ ใบสาคัญรับเงิน รายหมู่บ้านทุกเดือน ในเดือนแรก(ปีงบประมาณ)ให้แนบสาเนาบัตร ประจาตัวประชาชน อสม./สาเนาทะเบียนบ้านเก็บไว้ ที่สถานบริการด้วย และในปี ๒๕๕๖ ให้ อสม.ลงลายมือ ชื่อในใบแสดงตนการเป็น อสม.ทุกคนเพื่อรับค่าปุวยการ โดยมีแบบฟอร์มให้ และให้ อาเภอรวบรวมส่งจังหวัด ทั้งรูปแบบไฟล์ และเอกสารตัวจริง การส่งรายงาน ให้เจ้าหน้าที่รวบรวมส่งจังหวัดตามขั้นตอน เป็นรายเดือน ให้ สานักงานสาธารณสุข จังหวัดภายในวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน แบบรายงานใช้แบบเดิม การจัดงาน วัน อสม.แห่งชาติ วันที่ ๒๐ มีนาคม ทุกปีเป็นวัน อสม.แห่งชาติ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังของ อสม. และเสริมสร้าง ขวัญกาลังใจแก่ อสม. จึงขอความร่วมมือให้ทุกอาเภอได้ร่วมกับชมรม อสม. จัดกิจกรรมวัน อสม.แห่งชาติ มอบรางวัล อสม.ดีเด่น การแข่งขันกีฬา การรณรงค์ด้านสุขภาพ เป็นต้นโดยให้ใช้งบประมาณ เงินบารุงสถานบริการและเงินอื่นๆที่จะสามารถดาเนินกิจกรรมได้ในช่วงสัปดาห์ วัน อสม.แห่งชาติ การสนับสนุนชมรม อสม. ขอความร่วมมือในการสนับสนุนการดาเนินงานของชมรมตั้งแต่ระดับหมู่บ้านจนถึงระดับจังหวัด โดย การพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา สนับสนุนการดาเนินงาน ในระดับจังหวัด ชมรมมีการประชุมคณะกรรมการระดับ จังหวัดทุกเดือนและจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจาปี ปี ละ ๑ ครั้ง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 37


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

การพัฒนาโรงเรียน อสม. โรงเรียน อสม. คือ สถานที่ที่ อสม. มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ วิธีการต่างๆและวางแผนในการ ปฏิบัติงานร่วมกัน นับเป็นกระบวนการที่สาคัญในการสร้างแนวคิดและมุมมองใหม่ โดยไม่ใช่รูปแบบของ ห้องเรียน แต่เน้นเป็นศูนย์เรียนรู้หรือศูนย์กลางการพบปะหารือกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ อสม.และชุมชน เพื่อกระตุ้นให้ อสม.ตื่นตัวต่อการพัฒนา และเพิ่มศักยภาพของตนเอง โดยสามารกาหนดหลักสูตรได้ตามความ สนใจของตนเอง ซึ่งวัดระดับความสาเร็จของโรงเรียน อสม. จากการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน โดยเริ่มจากการมี มุมมอง วิธีคิด และวิธีการทางานแบบใหม่ร่วมกับชุมชนและมีเปูาหมายเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ ๓ ประการ คือ ๑. การเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสร้างวิถีชีวิตที่ดีต่อสุขภาพ ๒. สร้างสังคมสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพดีขึ้น ๓. การปกปูองสิทธิผู้บริโภคของคนในชุมชน รูปแบบ โรงเรียน อสม. จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑. มีโรงเรียนในระดับหมู่บ้าน ที่ตั้งหรือศูนย์การเรียนอยู่ที่สุขศาลากาฬสินธุ์ ๒. มีโรงเรียนระดับตาบล ที่ตั้งหรือศูนย์การเรียนอยู่ที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล ๓. มีโรงเรียนในระดับอาเภอ คือการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในภาพรวมตามหลักสูตร มาตรฐาน อสม.จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งกาหนดให้ ตัว อสม.ทุกคนต้องผ่านการอบรมหลักสูตรนี้ ๔. โรงเรียน อสม.ระดับหมู่บ้าน ตาบล ให้ อสม.จัดการเรียน การสอนโดยใช้หลักสูตรที่ อสม. สนใจหรือสภาพป๎ญหาของพื้นที่ หรือตามที่กระทรวงเน้นเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ๕. คนที่เป็นครูสอน อสม. คือ อสม.ด้วยกันเองหรือ จนท.สส. หรือปราชญ์ที่มีความรู้และ ประสบการณ์ หรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเอง ทั้งภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริงในชุมชน ๖. ครู อสม.สอนชุมชน เช่นสอนแกนนาสุขภาพประจาครอบครัว (กสค.) ๗. ต้องมีการเรียนการสอนหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง ที่สาคัญคือ ในการประชุมประจาเดือน เพื่อรับค่าตอบแทนที่ สอ./รพ.ให้ถือว่าเป็นวันเรียนที่โรงเรียนระดับตาบล ๘. สถานที่จัดการเรียนจะเป็นที่ใดก็ได้ตามความเหมาะสม ๙. จังหวัดกาหนดให้มีโรงเรียน อสม.ในทุกพื้นที่ หากที่ใดได้ดาเนินการและมีรูปแบบที่เป็น ตัวอย่างสามารถเป็นต้นแบบได ช่วยแจ้งจังหวัดเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อไป ……………………………………………………….. ผู้ควบคุมกากับ : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ : นายพิทักษ์ กาญจนศร นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ เบอร์โทร : 081 - 9541337 E-mail : Kalasin2008@hotmail.com

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 38


Health Promotion : Kalasin Public Health Office : งานสุขภาพภาคประชาชน ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่านครับ หากมีป๎ญหาประการใด สอบถามที่ ผู้รับผิดชอบงานได้โดยตรงครับ : 24 ชั่วโมง ๖. ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ผู้รับผิดชอบโครงการ : นายเอกรินทร์ สังขศิลา เจ้าพนักงานสาธารณสุขชานาญการ ตาบลจัดการสุขภาพ : เป็นรูปแบบหนึ่งของการพัฒนาด้านสุขภาพ เน้นการบูรณาการความ ร่วมมือของทุกภาคส่วนที่อยู่ในพื้นที่ทุกระดับ เน้นการใช้และแสวงหาต้นทุนทางสังคมทุกด้านที่มีอยู่ มาสร้าง การมีส่วนร่วม ผ่านกระบวนการการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในหมู่บ้าน/ชุมชน นั้นๆ และก่อให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสานึกที่ดีและมี ศรัทธาในการพัฒนา ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย หมายถึ ง ตาบลที่ มีก ระบวนการสร้า งเสริม สุ ขภาพที่ ให้ ความส าคั ญ กับ การพัฒ นาบทบาทภาค ประชาชน ท้องถิ่น และทุกๆ ภาคส่วนในท้องถิ่น ที่มีการบูรณาการร่วมกัน ช่วยกันค้นหาหรือกาหนดป๎ญหา สุขภาพ กาหนดอนาคต ดาเนินกิจกรรมการพัฒนาด้านสุขภาพและมาตรการทางสังคมรวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ด้วยความตั้งใจ เต็มใจมีจิตสานึกสาธารณะ โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อลดป๎จจัยเสี่ยง (๓อ. ๒ส.) และ โรควิถีชีวิต ๕ โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอด เลือดสมอง และมะเร็ง และส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน โครงสร้างกลไกการจัดการสุขภาพระดับตาบล ทีมตาบลจัดการสุขภาพ หมายถึง ผู้แทนของกลุ่มองค์กรหลักทั้ง 3 ภาคส่วนเข้ามาร่วมดาเนินการ ตาบลจัดการสุขภาพ องค์กรภาครัฐ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สถานศึกษา เกษตรตาบล พัฒนาชุมชน มี บทบาท ประสานความร่วมมือในการดาเนินงาน การสร้างความเข้าใจ สนับสนุนด้านวิชาการ สร้างเวทีเรียนรู้ คืนข้อมูล ในการจัดทาแผนสุขภาพ และร่วมกิจกรรม / ดาเนินการ / ติดตามประเมินผล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล(อบต.) เทศบาล มี บทบาทกาหนดนโยบาย / ข้อบังคับ ที่ได้จากการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม และสอดคล้องท้องถิ่น/ ประเทศ ,มีการหาแนวร่วม / สร้างทีม / คณะทางาน, มีแผนสนับสนุนการดาเนินงาน, มีการสนับสนุนการเรียนรู้ของ ชุมชนในการดาเนินงาน และร่วมกิจกรรม / ดาเนินการ / ติดตามประเมินผล ภาคประชาชน ได้แก่ กลุ่ม อสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มผู้นาชุมชน กลุ่มคณะกรรมการกองทุนต่างๆ คณะกรรมการหมู่บ้ าน กลุ่มผู้ สูงอายุ กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ชาวบ้าน และกลุ่มองค์กรอื่นๆในชุมชน มี บทบาทในการร่วมกาหนดนโยบายท้องถิ่น, มีการสะท้อนข้อมูล,ร่วมในกระบวนการทาแผนสุขภาพชุมชน และ มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม พร้อมทั้งติดตามประเมินผล

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 39


Health Promotion : Kalasin Public Health Office คุณลักษณะของทีมตาบลจัดการสุขภาพ (๑) มีความสมัครใจ ในการเข้าร่วมดาเนินงานด้านสุขภาพ (๒) มีความเข้าใจแนวคิด หลักการและกระบวนการพัฒนาหมู่บ้าน/ตาบลจัดการสุขภาพ (๓) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี (๔) มีทักษะในการสื่อสาร บทบาทหน้าที่ของทีมตาบลจัดการสุขภาพ ๑. ขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนา เพื่อนาไปสู่การพึงตนเองด้านสุขภาพในชุมชน ๒. บริหารจัดการ คน ความรู้ และทุน เพื่อส่งเสริมบทบาทประชาชนในการพัฒนานวัตกรรมระบบ สุขภาพชุมชน อย่างเหมาะสมกับบริบทชุมชน ๓. พัฒนาศักยภาพกาลังคนในชุมชน ให้สามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อม และสังคมโยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสานึกที่ดี และมีศรัทธาใน การพัฒนา ๔. สร้างและพัฒนาระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดพลังการมีส่วนร่วมของชุมชนในการ จัดการสุขภาพชุมชน ๕. ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการจัดทาแผนชุมชน/ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ๖. ส่งเสริมสนับสนุนและผลักดันให้เกิดมาตรการทางสังคม นโยบายสาธารณะ นโยบายท้องถิ่น และข้อบังคับของท้องถิ่นด้านสุขภาพ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 40


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

แผนภาพที่ ๑ แสดงแนวคิดการบูรณาการภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตาบล จัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี

ชุมชนมีการพัฒนาที่ยงั่ ยืน

โรคไร้ เชื ้อเรื อ้ รัง - เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ

วินิจฉัย/รักษา/ส่งเสริ มและ

มะเร็ ง

ป้องกัน

โรคติดต่อทัว่ ไป เช่น

ประสานความร่วมมือ

- หวัด ๒๐๐๙ ไข้ เลือดออก

สร้ างความเข้ าใจ

ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวติ ไทย

กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ -การดูแลหญิงตังครรภ์ ้ ผู้สงู อายุ คนพิการ

รพ.สต.

กองทุน แผนสุขภาพตาบล

กระบวนการพัฒนาบทบาท ภาค

อปท.

ประชาชน หมูบ่ ้ าน/ตาบลจัดการ สุขภาพ หมูบ่ ้ านปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ ภาคีเครื อข่ายต่างๆ บริ หาร

หลักประกัน

ภาค ประชาชน

กาหนดนโยบายข้ อบังคับ

-กระบวนการมีสว่ นร่วม

ยุทธศาสตร์ ร่วมกัน : SRM การพัฒนาศักยภาพ อสม.

รวมกาหนดนโยบาย

การพัฒนาการเรี ยนรู้ร่วมกันของ

ท้ องถิ่น

ชุมชน

สะท้ อนข้ อมูล

โรงเรี ยนนวัตกรรม /อสม.

ร่วมในกระบวนการทาแผน ร่วมปฏิบตั ิ/ดาเนินการ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

-สอดคล้ องกับท้ องถิ่น หาแนวร่วม/สร้ างทีม/ คณะทางาน จัดทาแผนสนับสนุนแผน สนับสนุนการเรี ยนรู้

หน้า 41


Health Promotion : Kalasin Public Health Office รายชื่อ ตาบลจัดการสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จังหวัดกาฬสินธุ์ ลาดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘

ตาบล ตาบลดอนสมบูรณ์ ตาบลอิตื้อ ตาบลนาทัน ตาบลเนินยาง ตาบลธัญญา ตาบลเจ้าท่า ตาบลสงเปลือย ตาบลหนองผือ ตาบลจุมจัง ตาบลหนองห้าง ตาบลโนนแหลมทอง ตาบลสหัสขันธ์ ตาบลสาราญ ตาบลคาสร้างเที่ยง ตาบลหนองแวง ตาบลมหาไชย ตาบลนาคู ตาบลบ่อแก้ว ตาบลหลุบ ตาบลไผ่ ตาบลคาบง ตาบลหนองอิบุตร ตาบลยอดแกง ตาบลนามน ตาบลสามัคคี ตาบลเหล่าอ้อย ตาบลฆ้องชัยพัฒนา ตาบลเหล่ากลาง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

อาเภอ ยางตลาด ยางตลาด คาม่วง คาม่วง กมลาไสย กมลาไสย เขาวง เขาวง กุฉินารายณ์ กุฉินารายณ์ สหัสขันธ์ สหัสขันธ์ สามชัย สามชัย สมเด็จ สมเด็จ นาคู นาคู เมือง เมือง ห้วยผึ้ง ห้วยผึ้ง นามน นามน ร่องคา ร่องคา ฆ้องชัย ฆ้องชัย

หน้า 42


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์การประเมินการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย การประเมินการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพ ได้กาหนดเป็นเกณฑ์มาตรฐานเพื่อใช้เป็นกรอบในการ ดาเนินงานและวัดผลสาเร็จของกระบวนการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพ ประกอบด้วย ๕ ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา ระดับดี ระดับดีมาก และระดับดีเยี่ยม ดังแสดงตามตารางที่ ๓ เกณฑ์การประเมินการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ระดับการประเมิน ระดับพื้นฐาน

ระดับพัฒนา

ระดับดี

เกณฑ์การประเมิน ๑. การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ(ทีมงาน) ๑.๑ องค์ประกอบเครือข่ายที่เข้าร่วมในทีมจัดการสุขภาพตาบล ๑.๒ มีการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตาบล ๑.๓ มีการอบรมความรู้ อสม. ในเรื่องการจัดทาแผนสุขภาพตาบลโดยใช้ แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์หรือกระบวนการจัดทาแผนอย่างมีส่วนร่วมด้วยวิธีอื่นๆ ๑.๔ มีการอบรมความรู้ อสม. ในเรื่องโรควิถีชีวิต ๕ โรค คือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ๒. การพัฒนากระบวนการจัดทาตามแผนสุขภาพตาบล(ต้องผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน) ๒.๑ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพตาบล ๒.๒ มีการสร้างการรับรู้ให้เกิดมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพตาบล ๒.๓ มีและใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ป๎ญหาสุขภาพชุมชนและจัดทาแผนสุขภาพ ตาบล โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรือวิธีอื่นๆที่เป็นแนวทางการมีส่วนร่วม ๒.๔ มีการระดมทรัพยากรและทุนจากชุมชนมาใช้ (กองทุนหลักประกันสุขภาพ / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น /ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น / ทรัพยากรจากแหล่งอื่นๆ) ๓. การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตาบลสู่การปฏิบัติ (ต้องผ่านเกณฑ์ระดับพัฒนา) ๓.๑ ชุมชน/ท้องถิ่นเป็นแกนนา จัดทาแผนสุขภาพ /โครงการ /กิจกรรม ๓.๒ มีการดาเนินกิจกรรมตามแผนสุขภาพตาบล / โครงการสุขภาพตาบล ๓.๓ มีกิจกรรมดาเนินงานเชิงรุกในชุมชน เช่น การส่งเสริมสุขภาพ( ๓ อ. ๒ ส. ) การ เฝูาระวังโรค เฝูาระวังพฤติกรรมสุขภาพวิถีชีวิต การคัดกรอง การคุ้มครอง ผู้บริโภค การดาเนินมาตรการทางสังคมของชุมชน ฯลฯ ๓.๔ มีแผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมของระบบเฝูาระวังและการจัดการโรควิถีชีวิต เพื่อรองรับกรณีภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติของชุมชน ฯลฯ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 43


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ระดับการประเมิน ระดับดีมาก

ระดับดีเยี่ยม

เกณฑ์การประเมิน ๔. ตาบลที่มีระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง (ต้องผ่านเกณฑ์ระดับดี) ๔.๑ มีข้อมูลที่จาเป็นเพื่อการติดตามประเมินผล ๔.๒ มีกระบวนการติดตามการบริหารจัดการและการควบคุมกากับอย่างสม่าเสมอ เชื่อมไปสูเปูาหมายหรือวิสัยทัศน์ของชุมชน/ ท้องถิ่น (บุคลากร งบประมาณ ทรัพยากรและเทคโนโลยี) ๔.๓ มีหมู่บ้านจัดการสุขภาพวิถีชีวิตไทยที่ผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านจัดการ สุขภาพ/หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ/ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค/ชุมชน ไร้พุง ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย ๒ หมู่บ้าน ๔.๔ มีการประกาศใช้มาตรการทางสังคมอย่างจริงจัง ๕. ความพร้อมและศักยภาพในการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (ต้องผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก) ๕.๑ มีการถอดบทเรียนเพื่อการพัฒนาและการจัดการความรู้ ๕.๒ มีการจัดการนวัตกรรม (นวัตกรรมกระบวนการ และนวัตกรรมผลผลิต) ที่ นาไปสู่ การส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันโรคและการฟื้นฟูสุขภาพ ๕.๓ มีศูนย์เรียนรู้ /เป็นที่ศึกษาดูงาน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน เช่น โรงเรียนนวัตกรรม /โรงเรียน อสม. ฯลฯ ๕.๔ มีการสร้างเครือข่ายการพัฒนาความร่วมมือระหว่างตาบล

ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยง พฤติกรรม ๓ อ ๒ ส หมายถึง พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกาลังกาย การคลาย เครียดทางอารมณ์ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การปรับพฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยง ตามเกณฑ์ที่กาหนด หมายถึง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ เข้าร่วมกระบวนการปรับพฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยงอย่างน้อย ๔ ใน ๕ กิจกรรม กระบวนการปรับพฤติกรรมฯ ประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมความรู้รอบด้านสุขภาพ (ความฉลาด ด้านสุขภาพ) กิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดป๎จจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการ ปูองกันโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โดยมีกิจกรรม ดังนี้ ๑) ประเมินพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลเฝูาระวังพฤติกรรม สุขภาพ (HBSS) เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงด้วยตนเอง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 44


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๒) กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓อ๒ส และลด เสี่ยง ในรูปแบบหลากหลาย เช่น การให้ความรู้ผ่านสื่อ จัดนิทรรศการหรือบอร์ดความรู้ เสวนา ความรู้ กิจกรรมสาธิตให้ความรู้และโปรแกรมคลายเครียด โปรแกรมการออกกาลังกาย โปรแกรม การเลิกบุหรี่ สุรา เป็นต้น ๓) การรณรงค์และสื่อสารความรู้สุขภาพในชุมชน อย่างน้อย ปีละ ๑ ครั้ง ๔) จัดป๎จจัยเอื้อต่อการเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ (ความฉลาดทางสุขภาพ) และการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ เช่น ศูนย์การเรียนรู้สุขภาพในชุมชน หอกระจายข่าวสารด้านสุขภาพ คลินิกให้ คาปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลานออกกาลังกาย การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค ในครัวเรือน จัดแหล่งจาหน่ายผักปลอดสารพิษในชุมชน เป็นต้น ๕) กาหนดและบังคับใช้มาตรการทางสังคมหรือข้อตกลงร่วมเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยงฯ

ผู้ควบคุมกากับ : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ๑. ผู้รับผิดชอบหลักตาบลจัดการสุขภาพ : นายเอกรินทร์ สังขศิลา เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘๘ - ๕๔๘๗๕๑๕, ๐๔๓ – ๘๑๒๒๔๐ ๒. ผู้รับผิดชอบหลักระบบรายงานในมิติประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ที่มีการปรับพฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ : นายธนาเดช อัยวรรณ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔ - ๒๖๑๖๒๔๙ , ๐๔๓ – ๘๑๑๑๖๘ : นางสาวแอนนา แสบงบาล เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๖ - ๗๑๖๖๖๐๖ ,๐๔๓ – ๘๑๑๑๖๘ ๓. ผู้รับผิดชอบหลักด้านวิชาการและการสนับสนุนมิติประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ที่มีการปรับพฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ : นายธนาเดช อัยวรรณ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔ - ๒๖๑๖๒๔๙ ,๐๔๓ - ๘๑๑๑๖๘ : นางสาวแอนนา แสบงบาล เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๖ - ๗๑๖๖๖๐๖ ,๐๔๓ - ๘๑๑๑๖๘

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 45


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๗. โครงการ : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบ : นางสมหวัง กลางประพันธ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชานาญงาน หลักการและเหตุผล การพัฒนาเด็กและเยาวชน ในป๎จจุบันใช้กระบวนการ จัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพควบคู่กัน ซึ่งจุดเริ่มต้นจึงจาเป็นต้องมุ่งไปที่การเพิ่มประสิทธิภาพของสถาบันการศึกษาให้เป็นแกนนาหรือศูนย์กลาง การสร้างสุขภาพกับการพัฒนาการศึกษาจึงพัฒนาควบคู่กันภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝุายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ครอบครัวของเด็ก โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นสถาบันพื้นฐานทาง สังคมที่มีความสาคัญยิ่งของการพัฒนา การประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็ก เพื่อนาไปสู่การพัฒนา โรงเรียนให้เป็น “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” ของชุมชน จังหวัดกาฬสินธุ์ พัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพได้ในระดับหนึ่ง แต่ยังไม่บรรลุเปูาหมายระดับเพชร เนื่องจากทีมประเมินฯ ระดับอาเภอยังขาดทักษะ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ ในการประเมินฯ อีกทั้งขาด การประสานงานที่ดีกับโรงเรียน การให้ความรู้ ความช่วยเหลือด้านวิชาการ การชี้แนะกิจกรรมที่เป็นผลต่อ การสร้างสุขภาพ กิจกรรมที่เอื้อต่อการประเมินผลโรงเรียนส่งเสริมฯ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่โรงเรียน ทาให้ โรงเรียนไม่สามารถประเมินฯ ผ่านเกณฑ์ที่สูงขึ้นได้ อีกทั้งการเฝูาระวังภาวะสุขภาพของเด็กวัยเรียนยังไม่ได้ รับการดูแลตามสิทธิขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิประโยชน์อย่างทั่วถึง การตรวจสุขภาพด้วยตนเองของเด็กชั้น ประถมฯ ๕ ถึงชั้นมัธยมฯ ๖ ยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากขาดการประสานงานระหว่างโรงเรียนและเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในพื้นที่ ดังนั้นในปี ๒๕๕๖ จังหวัดกาฬสินธุ์ จึงพัฒนาทีมประเมินฯ ระดับอาเภอให้มีความรู้ความ เข้าใจและมีทักษะในการประเมินฯรับรองให้เป็นทิศทางเดียวกัน ครูอนามัยโรงเรียนก็มีส่วนสาคัญในการ ขับเคลื่อนกระบวนการให้เกิดสุขภาวะทั้งในโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจะบรรลุผลตาม เปูาประสงค์ได้นั้น ครูอนามัยจะต้องมีศักยภาพสูง มีความมุ่งมั่นที่จะผลักดัน ขับเคลื่อนกิจกรรมการส่งเสริม สุขภาพให้เกิดผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์ อีกทั้งการบูรณาการงานกับการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อเด็กนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน เพื่อจะได้ยกระดับการพัฒนาโรงเรียนสู่เปูาหมายต่อไป วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. ทีมประเมินฯ ระดับอาเภอ เกิดทักษะและมีความชานาญมากขึ้น ๒. โรงเรียนสามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพเพื่อตอบสนองตัวชี้วัดของโครงการฯ ได้ ๓. เกิดการบูรณาการงานเฝูาระวังภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียนในพื้นที่กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 46


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๕. ขอบเขตโครงการ ประเด็น กลุ่มเป้าหมายผู้รับผลประโยชน์จากโครงการ พื้นที่เป้าหมาย ๖. ขั้นตอนการดาเนินงาน

ขอบเขตโครงการ โรงเรียนทุกแห่งทุกสังกัดในจังหวัดกาฬสินธุ์ - ประถม ฯ - มัธยม ฯ ๑๘ อาเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์

๑. จัดสรรงบประมาณให้อาเภอ พัฒนาศักยภาพทีมประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแต่ละอาเภอ ๒. พัฒนาบุคลากรสาธารณสุข / ครูอนามัยโรงเรียนให้เกิดทักษะด้านส่งเสริมสุขภาพ ๓. ประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่ (ระดับทองพลัส ทอง เงิน และทองแดง) ๔. สนับสนุน ส่งเสริมวิชาการ บูรณาการงาน / กิจกรรมสร้างสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน ๕. รายงานผลการประเมินโรงเรียนให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดฯ เพื่อจะได้ดาเนินการคัดเลือก โรงเรียนที่มีความพร้อม เข้ารับการประเมินฯ ระดับเพชร ๗. ขั้นตอนและกระบวนการหลักในการดาเนินโครงการ กิจกรรม

๑.พัฒนาศักยภาพทีมประเมินโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพระดับอาเภอ

ผู้รับผิดชอบ สสจ. สสอ. รพ / สต. รพช. /

/

กรอบการดาเนินงาน

๑.จัด อบรมพัฒนาศักยภาพทีม ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ อาเภอ ซึ่งประกอบด้วยฝุายการศึกษา/ สาธารณสุข/ท้องถิ่น / ผู้บริหารโรงเรียนแกนนา และตัวแทน ชุมชน ประมาณ ๑๐-๑๕ คน หรือ แล้วแต่ความเหมาะสมของ แต่ละพื้นที่ เพื่อให้ทีมประเมินฯ มี ทักษะ, มีประสบการณ์ และเกิดความ ชานาญในการประเมินฯ ตามตัวชี้วัด โรงเรียนส่งเสริมฯ ได้ถูกต้อง แม่นยา และเกิดประโยชน์สูงสุดในการพัฒนา โรงเรียน ๒.ประเมินรับรองโรงเรียนในเขตพื้นที่

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 47


Health Promotion : Kalasin Public Health Office กิจกรรม

๒.พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและครูอนามัย โรงเรียน ในการดาเนินกิจกรรมด้านส่งเสริม สุขภาพที่เอื้อต่อการพัฒนาโรงเรียนให้ผ่าน เกณฑ์ประเมินฯ ที่สูงขึ้น (ยกระดับ)

๓.พัฒนาแกนนาสุขภาพในพื้นที่ (ครู/ นักเรียน/ชมรมและเครือข่ายสุขภาพ) ให้มี ความรู้ความสามารถในการนาไปขยายผลใน กลุ่มเปูาหมายให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของ ส่วนรวมและชุมชน

ผู้รับผิดชอบ สสจ. สสอ. รพ / สต. รพช. /

/

/

กรอบการดาเนินงาน

รับผิดชอบ และรายงานผลให้ สสจ. เพื่อดาเนินการคัดเลือกเข้าสู่การ ประเมินฯ รับรองระดับเพชร ๑.จัดอบรมพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข และครูอนามัยโรงเรียน ในการดาเนิน กิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ เช่น สิ่งแวดล้อม สุขภาพจิตยาเสพติด ทักษะชีวิต โภชนาการ ทันต สาธารณสุข การตรวจสุขภาพนักเรียน เบื้องต้น ๒.อบรมการใช้แบบบันทึกการตรวจ สุขภาพด้วยตนเองสาหรับนักเรียน ป. ๕-ม.๖ การนาข้อมูลจากแบบบันทึก การตรวจสุขภาพของเด็กนักเรียนไปใช้ ประโยชน์ในการเฝูาระวังป๎ญหา สุขภาพ / ภาวะ การเจริญเติบโต และ ความผิดปกติจากโรคอื่นๆ เช่น โลหิต จาง, ขาดสารไอโอดีน, โรคพยาธิ, เหา และฟ๎นผุเป็นต้น ๑.ส่งเสริม สนับสนุนให้แกนนา นักเรียนได้รับการอบรมเพื่อพัฒนา ความรู้อยู่เสมอ เพื่อให้ทันกับ สถานการณ์การเกิดโรคตามฤดูกาล เพื่อการเฝูาระวังและปูองกันโรคที่เป็น ภัยต่อสุขภาพ ๒.ส่งเสริมให้มีการจัดทาค่ายเพื่อ ส่งเสริมสุขภาพ เช่นค่ายเด็กไทยทาได้/ อย.น้อย / ประกวดผลงานด้านสุขภาพ / ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ หรือการ ประกวดโครงงานฯ ๓.แกนนาด้านสุขภาพ หรือแกนนา อื่นๆ นาความรู้ไปขยายผลในชุมชน ๔.ครูสามารถนาความรู้ กิจกรรมด้าน สุขภาพ ไปบูรณาการกับหลักสูตรการ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 48


Health Promotion : Kalasin Public Health Office กิจกรรม

๔.ประเมินผลรับรองโรงเรียนสู่ระดับเพชร

ผู้รับผิดชอบ สสจ. สสอ. รพ / สต. รพช.

/

กรอบการดาเนินงาน

เรียนการสอน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ เด็กนักเรียนและชุมชน ๑.คัดเลือก ร.ร.จาก ๑๘ อาเภอ ที่มี ความพร้อม เพื่อพัฒนาสู่ระดับเพชร ๒.ประสานศูนย์อนามัยฯ เพื่อขอรับ การประเมินฯ ยกระดับโรงเรียน ๓.ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ ใน การดาเนินกิจกรรมตามตัวชี้วัดที่ โรงเรียนขอความช่วยเหลือ หรือขอ ความร่วมมือในการแก้ไขในบางกรณีที่ ไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดบางตัว

๘. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นขณะทาโครงการ)

ผลลัพธ์ (ผลที่เกิดขึ้นหลังเสร็จสิ้นโครงการ)

๑. โรงเรียนมีการพัฒนายกระดับการเป็นโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ๒. บุคคลากรสาธารณสุข/ครูอนามัยโรงเรียนได้รับการ พัฒนาความรู้ และนาความรู้ไปบูรณาการกับหลักสูตรการ เรียนการสอน ในการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการหลีกเลี่ยง และปูองกันโรคที่เป็นภัยต่อสุขภาพ ๓. นักเรียน บุคคลากรในโรงเรียนมีพฤติกรรมด้าน สุขภาพที่ถูกต้อง และนาไปขยายผลต่อในชุมชน

๑. โรงเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ระดับสูงขึ้น มีสิ่งแวดล้อมดี เอื้อต่อการเรียนการส่งเสริม สุขภาพ ๒. นักเรียน บุคคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพดีทั้ง ทางกายและทางจิต สามารถดูแลภาวะสุขภาพ ตนเองได้ รวมทั้งหลีกเลี่ยง/ปูองกันการเกิดโรค ตามฤดูกาลได้ ๓. นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปขยายผลต่อในครอบครัวและ ชุมชน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 49


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๙. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ผลผลิต

ตัวชี้วัด

๑.โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีการพัฒนา อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง

๒.นักเรียนได้รับการเฝูาระวังภาวะ โภชนาการและภาวะสุขภาพจากการเกิด โรคที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ (ขาดสาร ไอโอดีน/ขาดธาตุเหล็ก/ฟ๎นผุ/เหา,พยาธิ )

๑.โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพประเมินผ่าน เกณฑ์ -ระดับทอง -ระดับทองพลัส -ระดับเพชร ๒.นักเรียนมีภาวะ การเจริญเติบโตสมวัย -น้าหนัก/ส่วนสูง -ส่วนสูง/อายุ (ชายสูง ๑๗๕ ซม/ หญิงสูง ๑๖๕ ซม.)

ค่าเป้าหมาย ระยะเวลาแล้วเสร็จ กันยายน ๒๕๕๖ ๔๙๕ โรงเรียน ๒๔๗ โรงเรียน ๑ โรงเรียน กันยายน ๒๕๕๖ ร้อยละ ๖๐

๑๐. ผู้รับผิดชอบ ตาแหน่งในโครงการ

ชื่อผู้รับผิดชอบ

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ (เพื่อใช้ประโยชน์กาหนด JD/KPI)

ผู้สนับสนุนโครงการ (Project Sponsor)

นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้อนุมัติโครงการ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ผูเ้ ห็นชอบโครงการและติดตามกากับ ดูแลโครงการ

หัวหน้าโครงการ (Project Manager)

นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข

ทีมผู้ร่วมโครงการ

นางสมหวัง กลางประพันธ์ ดร.สุภัทรา สามัง ดร.ศิริชัย รินทะราช นางอภัยวัล พรตระกูลพิพัฒน์ นายธนาเดช อัยวรรณ นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก

ผู้รับผิดชอบ ผลักดันให้โครงการ ประสบความสาเร็จและดูแลบริหาร โครงการโดยรวม ดาเนินการตามกิจกรรมโครงการ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 50


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๑๑.ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ทีมประเมินฯ มีศักยภาพที่เข้มแข็ง ประเมินโรงเรียนให้ผ่านเกณฑ์อย่างมีคุณภาพ ๒. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครูอนามัยโรงเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพ ด้านส่งเสริมสุขภาพฯ ๓. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือการดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และสนับสนุน ดูแลภาวะ สุขภาพนักเรียนในพื้นที่มากขึ้น

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 51


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับทอง หน่วยวัด : ร้อยละ น้าหนัก : 20 คะแนน ค่าเปูาหมาย ร้อยละ 75 คาอธิบาย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง โรงเรียนที่มีความร่วมมือ ร่วมใจกันพัฒนาพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม่าเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดีของทุกคนในโรงเรียน ภายใต้ ๑๐ องค์ประกอบ ดังนี้ 1. นโยบายของโรงเรียน 2. การบริหารจัดการในโรงเรียน 3. โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน 4. การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ 5. บริการอนามัยโรงเรียน 6. สุขศึกษาในโรงเรียน 7. โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย 8. การออกกาลังกาย กีฬาและนันทนาการ 9. การให้คาปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม 10. การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน การประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีการประเมินรับรอง ตามเกณฑ์มาตรฐานดังนี้ ระดับทอง หมายถึง โรงเรียนที่มีการดาเนินงานด้านสุขภาพตามองค์ประกอบผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก ไม่น้อยกว่า ๘ องค์ประกอบ และอีก ๒ องค์ประกอบที่เหลือมีผลประเมินไม่ต่ากว่าระดับดี เกณฑ์การให้คะแนน : กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณาจาก ความก้าวหน้าของขั้นตอนการดาเนินงานตามเปูาหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ขั้นตอนที่ ๑

ระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

ขั้นตอนที่ ๕

หน้า 52


Health Promotion : Kalasin Public Health Office โดยที่ : เกณฑ์การให้คะแนนระดับขั้นของความสาเร็จ ดังนี้ ระดับ คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน

ขั้นตอนที่ ๑ มีคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและคณะกรรมการประเมิน ระดับอาเภอ ตามแนวทางที่กาหนด

ขั้นตอนที่ ๒ มีแผนงานโครงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ตามมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และมีผลประเมินฯ เพื่อรับรอง เกียรติคุณระดั ทอง งินและทองแดง

ขั้นตอนที่ ๓ มีผลสาเร็จของการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับทอง (ผ่านระดับดีมาก ๘ องค์ประกอบ และ ๒ องค์ประกอบที่เหลือผ่านระดับดี)

ขั้นตอนที่ ๔ มีการยกระดับผลประเมินฯ ในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จาก ระดับ ทองขึ้นสู่ระดับทองพลัส (มีผลประเมินฯ ในระดับดีมาก ทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ)

ขั้นตอนที่ ๕ มีผลการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทองพลัส ร้อยละ ≥๕๐

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน : ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด

ผลการดาเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.

หน่วยวัด

๒๕๕๓

๒๕๕๔

๒๕๕๕

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง

ร้อยละ

๗๑.๓๖

๗๒.๒๓

๗๓

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองพลัส

ร้อยละ

๓๔

๔๕

๔๕.๖๓

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

แห่ง

ผู้กากับดูแลตัวชี้วัด : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางสมหวัง กลางประพันธ์

-

-

-

เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓-๘๑๑๑๖๘ เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓–๘๑๒๒๔๐

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 53


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ตัวชี้วัดที่ 2 : หน่วยวัด : น้าหนัก : ค่าเปูาหมาย

ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองระดับทองพลัส ร้อยละ 10 คะแนน ร้อยละ 50

คาอธิบาย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองพลัส หมายถึง โรงเรียนที่มีการดาเนินงานด้านสุขภาพตาม องค์ประกอบผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมากครบทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ ระดับความสาเร็จในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับทองพลัส มีกระบวนการ หรือกิจกรรมที่สามารถผลักดันให้เกิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านการประเมินรับรองตามองค์ประกอบ ระดับดี มากทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ ซึ่งพิจารณาจากระดับความสาเร็จของการดาเนินงานจนบรรลุเปูาหมาย โดย กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ(Milestone)แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน : กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณา จากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดาเนินงานตามเปูาหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone)

ระดับคะแนน ขั้นตอนที่ ๑

ขั้นตอนที่ ๒

ขั้นตอนที่ ๓

ขั้นตอนที่ ๔

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

ขั้นตอนที่ ๕

หน้า 54


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

โดยที่ : เกณฑ์การให้คะแนนระดับขั้นของความสาเร็จ ดังนี้ ระดับ คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน

ขั้นตอนที่ ๑ มีคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและคณะกรรมการประเมิน ระดับอาเภอ ตามแนวทางที่กาหนด

ขั้นตอนที่ ๒ มีแผนงานโครงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ตามมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และมีผลประเมินฯ เพื่อรับรอง เกียรติคุณระดับ ทอง เงินและทองแดง

ขั้นตอนที่ ๓ มีผลสาเร็จของการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับทอง (ผ่านระดับดีมาก ๘ องค์ประกอบ และ ๒ องค์ประกอบที่เหลือผ่านระดับดี)

ขั้นตอนที่ ๔ มีการยกระดับผลประเมินฯ ในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จากระดับ ทองขึ้นสู่ระดับทองพลัส (มีผลประเมินฯ ในระดับดีมาก ทั้ง ๑๐ องค์ประกอบ)

ขั้นตอนที่ ๕ มีผลการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทองพลัส ร้อยละ ≥๕๐

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด

หน่วยวัด

ผลการดาเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๒๕๕๔

๒๕๕๕

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง

ร้อยละ

๗๑.๓๖

๗๒.๒๓

๗๓

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองพลัส

ร้อยละ

๓๔

๔๕

๔๕.๖๓

แห่ง

-

-

-

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

ผู้กากับดูแลตัวชี้วัด : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข

เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓-๘๑๑๑๖๘

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 55


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางสมหวัง กลางประพันธ์

เบอร์ติดต่อ : ๐๔๓–๘๑๒๒๔๐

จัดสรรงบประมาณให้อาเภอดาเนินการ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๕๖ ลาดับที่

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

กิจกรรม อาเภอ พัฒนาทีมประเมินฯ พัฒนาบุคคลากร รวม ระดับอาเภอ (ครูอนามัย/จนท. สส.) เมืองกาฬสินธุ์ ๕,๐๐๐ ยางตลาด ๕,๐๐๐ ห้วยเม็ก ๕,๐๐๐ หนองกุงศรี ๕,๐๐๐ ท่าคันโท ๕,๐๐๐ สหัสขันธ์ ๕,๐๐๐ คาม่วง ๕,๐๐๐ สามชัย ๕,๐๐๐ สมเด็จ ๕,๐๐๐ นามน ๕,๐๐๐ ห้วยผึ้ง ๕,๐๐๐ นาคู ๕,๐๐๐ เขาวง ๕,๐๐๐ กุฉินารายณ์ ๕,๐๐๐ ร่องคา ๕,๐๐๐ กมลาไสย ๕,๐๐๐ ฆ้องชัย ๕,๐๐๐ ดอนจาน ๕,๐๐๐ ๙๐,๐๐๐.สสจ. ติดตามประเมินผลฯ / คัดเลือก (เบี้ยเลี้ยงการเดินทาง) ๓๐,๐๐๐.หนึ่งแสนสองหมื่นบาทถ้วน ๑๒๐,๐๐๐.-

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หมายเหตุ

-ค่าอาหารว่าง / อาหารกลางวัน -ค่าวิทยากร -ค่าจัดทาเอกสาร

หน้า 56


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

การส่งเสริมทันตสุขภาพหญิงตั้งครรภ์

MCH งานทันตสาธารณสุข

หญิงตั้งครรภ์

ประวัติการตั้งครรภ์ ความเสี่ยงด้านสุขภาพ

ตรวจช่องปาก - ฟ๎นผุ - คราบจุลินทรีย์ - เหงือกอักเสบ – หินปูน

พฤติกรรมที่มีผลต่อ สุขภาพช่องปาก

ประเมินสุขภาพช่องปาก

ไม่มีป๎ญหาสุขภาพช่องปาก

มีป๎ญหาสุขภาพช่องปาก

ให้คาแนะนาเรื่องสุขภาพช่องปาก การดูแลสุขภาพช่องปากของทารก -ห้ามเคี้ยวอาหารปูอนเด็ก - ห้ามเลี้ยงทารกด้วยนมปรุงแต่งรส

รพ.สต. ที่ไม่มีทันตาภิบาล

ให้คาแนะนาเรื่องสุขภาพช่องปาก การดูแลสุขภาพช่องปากของทารก -ห้ามเคี้ยวอาหารปูอนเด็ก - ห้ามเลี้ยงทารกด้วยนมปรุงแต่งรส

รักษา/ปูองกันทางทันตกรรม ที่ รพ.สต.ที่มีทันตาภิบาล

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

รักษา/ปูองกันทางทันตกรรม ที่ โรงพยาบาล

หน้า 57


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

บันทึกการให้บริการ ทั้งในรูปแบบเอกสาร และ HOS XP /JHCIS ส่งรายงานทุกเดือน / 6 เดือน / 12 เดือน การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 0-3 ปี ในคลินิคเด็กดี

MCH งานทันตสาธารณสุข เด็กที่มารับบริการ

ตรวจช่องปาก - ฟ๎นผุ - ความสะอาดคราบจุลินทรีย์

สอบถามพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาพช่องปาก - พฤติกรรมการกิน - การทาความสะอาดช่องปาก

ประเมินสุขภาพช่องปาก ให้คาแนะนาเรื่องสุขภาพช่องปาก การดูแลสุขภาพช่องปากของทารก -ห้ามเคี้ยวอาหารปูอนเด็ก - ห้ามเลี้ยงทารกด้วยนมปรุงแต่งรส

สาธิตการแปรงฟ๎นแก่ผู้ปกครอง ทาฟลูออไรด์วานิชในรายที่มีฟ๎นขึ้นแล้ว ให้การรักษาทางทันตกรรม รพ.สต. ที่ไม่มีทันตาภิบาล

รักษา/ปูองกันทางทันตกรรม ที่ รพ.สต.ที่มีทันตาภิบาล

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

รักษา/ปูองกันทางทันตกรรม ที่ โรงพยาบาล หน้า 58


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ตัวชี้วัดจากการปฏิบัติงาน (สรุปข้อมูลทุกเดือน) -

อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา > ๘๐% อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีหินน้าลายและได้รับการขูดหินน้าลาย > ๕๐% อัตราเด็กอายุ ๖ เดือน -๓ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก > ๘๕% อัตราผู้ปกครองเด็กอายุ ๖ เดือน -๓ ปี ได้รับการสาธิตการฝึกแปรงฟ๎นให้เด็ก > ๘๕% อัตราเด็กอายุ ๙ เดือน -๓ ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช > ๕๐% ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก > ๘๐% ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี มีป๎ญหาฟ๎นผุ < ๖๐%

ตัวชี้วัดที่ได้จาการสารวจสภาวะสุขภาพช่องปาก (ปีละ 1 ครั้ง) - ร้อยละของเด็ก ๓ ปี ปราศจากฟ๎นน้านมผุ > ๔๐%

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 59


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

๘. งานส่งเสริมพัฒนาวัดเพื่อบรรลุเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพของกรมอนามัย ผู้รับผิดชอบ : นายยุทธพล ภูเลื่อน นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ หลักการและเหตุผล ตามที่รัฐบาลมีนโยบาย “สร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของ ชุมชนให้เป็นฐานของการสร้างสุขภาพ ด้วยวิธีการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพ ในการสร้างสุขภาพ วัดถือว่าเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมของชุมชน เพราะเป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของ ประชาชน คติความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่นนั้น เป็นสิ่งชักนาให้ชาวบ้านกับวัดที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียว แน่นและเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละท้องถิ่น เพื่อให้ “วัด” เป็น สถานที่พัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน ครอบครัว และ ชุมชน ด้วยหลักการ ๕ ร. คือ สะอาด ร่มรื่น สงบร่มเย็น สุขภาพร่วมสร้าง ศิลปะร่วมจิตวิญญาณ และชาว ประชาร่วมพัฒนา ซึ่งในปีพ.ศ.๒๕๕๕ มีวัดในจังหวัดกาฬสินธุ์ เข้าร่วมการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่นระดับ จังหวัดใน ๗ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง, อาเภอยางตลาด, อาเภอสมเด็จ, อาเภอเขาวง, อาเภอห้วยผึ้ง, อาเภอ สามชัยและอาเภอฆ้องชัย อาเภอละ ๑ วัด รวม ๗ วัด พบว่าทุกวัดได้เห็นความสาคัญและมีการปรับปรุง พัฒนาวัดตามเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพ จนสามารถเป็นวัดต้นแบบของจังหวัดกาฬสินธุ์ ดังนั้นในปี ๒๕๕๖ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ จึงได้มีเปูาหมายในการพัฒนาวัดใน พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์สู่การเป็นวัดส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ประเมินของกรมอนามัยต่อไป วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ประชาชนที่มาวัด พระ บุคลากรในวัดมีสุขภาพดี ๒. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากร และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้วัดเอื้อโอกาส ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรในชุมชม ๓. เพื่ออาศัยศักยภาพของวัด เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงในการพัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรมของประชาชน ครอบครัว และชุมชน สามารถเป็นวัดต้นแบบด้านการพัฒนาและ การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย วัดในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ วิธีดาเนินการ ๑. อาเภอแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการส่งเสริมพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพ ระดับอาเภอและระดับ ตาบล ๒. ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานและเกณฑ์การประเมินวัดส่งเสริมสุขภาพแก่พระสังฆาธิการ ในพื้นที่ ๓. ประสานงานให้วัดประเมินตนเองตามแบบประเมินวัดส่งเสริมสุขภาพ ๔. คณะกรรมการวัด และชุมชนร่วมกันปรับปรุงพัฒนาวัดในส่วนที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินตนเอง โดยคณะกรรมการฯระดับอาเภอและตาบลให้คาแนะนา การปรับปรุงพัฒนาวัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินตนเอง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 60


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๕. คณะกรรมการระดับอาเภอประเมินเชิงประกวดวัดที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อคัดเลือกวัดเป็น ตัวแทนของอาเภอเข้าประกวดระดับจังหวัด ๖. คณะกรรมการระดับจังหวัดออกประเมินเชิงประกวดวัดส่งเสริมสุขภาพในระดับอาเภอ ๗. สรุปผลการดาเนินงาน ๘. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบรางวัลการประเมินเชิงประกวดระดับจังหวัด ระยะเวลาในการดาเนินงาน พฤศจิกายน ๒๕๕๕ – กันยายน ๒๕๕๖ ผลผลิต ๑. วัดเข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพ อย่างน้อยตาบลละ ๑ วัด ๒. มีวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่นระดับจังหวัด อย่างน้อย อาเภอละ ๒ วัด โดยเป็นวัดที่ยังไม่เคยผ่าน เกณฑ์การประเมินวัดส่งเสริมสุขภาพมาก่อน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. วัดที่ผ่านเกณฑ์ประเมินเป็นศูนย์กลางของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนชนและชุมชน ๒. พระภิกษุ สามเณร ประชาชน และชุมชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และวิถีชีวิตของชุมชน ๓. เป็นรูปแบบ “วัดส่งเสริมสุขภาพต้นแบบ” ในการดาเนินการต่อไป ให้ครอบคลุมทุกวัดในจังหวัด ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ผู้บริหารให้ความสาคัญ ผู้รับผิดชอบงานให้ความร่วมมือและพระภิกษุ สามเณรและบุคลากรในวัด ตระหนักถึงความสาคัญของการเป็นวัดส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับผิดชอบโครงการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้ควบคุมกากับ : นางสาววิมลรัตน์ ภูผาสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้ประสานโครงการ : นายยุทธพล ภูเลื่อน นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ เบอร์โทร : 043 - 811168

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 61


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๙. แนวทางการดาเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบงาน : ดร.ศิริชัย รินทะราช นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ : นางสาวนภัสวรรณ สนธินอก นักวิชาการสาธารณสุข ๑. ยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม แนวทางการดาเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี งบประมาณ ๒๕๕๖ ยึดแนวทางการดาเนินงานให้ สอดคล้องกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ ๖ ขอนแก่น ซึ่งมียุทธศาสตร์ ๓ ประเด็น ๑. ประเด็นยุทธศาสตร์คุ้มครองสิทธิชุมชนจากผลกระทบสิ่งแวดล้อม ๑. การจัดการก่อนมีป๎ญหาโดยใช้กระบวนการ HIA ๑.๑ กิจการ กิจกรรมที่อาจก่อผลกระทบต่อสุขภาพ โรงไฟฟูาชีวมวล ๑.๒ การพัฒนาระบบและกลไก HIA ใน พรบ. การสาธารณสุข ๒. การจัดการระหว่างดาเนินการโดยใช้ ระบบการเฝูาระวังและการเตือนภัย เปูาหมาย ๒.๑ พัฒนาระบบและกลไกการเฝูาระวัง ๒.๑.๑ การเฝูาระวังคุณภาพน้าบริโภค ๒.๑.๒ การเฝูาระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมศูนย์เด็กเล็ก ๒. ประเด็นยุทธศาสตร์การลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ ๑. การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. ดาเนินการในพื้นที่นาร่อง ๒. การรับรองมาตรฐานสุขาภิบาล ๒.๑ การรับรองน้าประปาดื่มได้ ๒.๒ การรับรองระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร และน้าสาหรับ อปท. ๒.๔ การพัฒนาและรับรองมาตรฐานส้วม ๒.๔.๑ ส้วมสาธารณะทั้ง ๑๒ ประเภท ได้มาตรฐาน HAS ร้อยละ ๖๕ ๒.๔.๒ ส้วมห้อยขา ในครัวเรือน ปี ๒๕๕๖ ร้อยละ ๕๐ ปี ๒๕๕๘ ร้อยละ ๑๐๐ ๒.๔.๓ ส้วมห้อยขาในสถานที่สาธารณะ ปี ๒๕๕๖ ร้อยละ ๖๐ ปี ๒๕๕๘ ร้อยละ ๘๐ ๓. การพัฒนาพฤติกรรมอนามัยที่ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ๓.๑ พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกหลักสุขลักษณะ ร้อยละ ๘๐

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 62


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๓. ประเด็นยุทธศาสตร์การสุขาภิบาลยั่งยืนสู่วิถีพอเพียง โดยมีประเด็นงาน เปูาหมายและตัวชี้วัดดังสรุปในตาราง ประเด็นงาน เป้าหมาย ๓.๑ การสุขาภิบาลครัวเรือน ครัวเรือนจัดการปฏิกูล มูลฝอยและน้าเสีย (โครงการ Green and Healthy ตามหลักการสุขาภิบาลยั่งยืน มีพฤติกรรม Home) สุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง (การเลือก การ ปรุง ประกอบ และการเก็บ ๓.๒ การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูล อปท.จัดการสิ่งปฎิกูล มูลฝอยได้ถูก ฝอยของ อปท. สุขลักษณะ และมีการนาไปใช้ประโยชน์ ๓.๓ การจัดการน้าเสีย โรงพยาบาล

รพ. (สังกัด สธ.) จัดการน้าเสียได้ตาม มาตรฐานและนาไปใช้ประโยชน์

๓.๔ การลดโลกร้อนด้วย หลักการสุขาภิบาลยั่งยืน Green & Clean Hospital

รพ. (สังกัด สธ.) ดาเนินกิจกรรม Green และประเมินคาร์บอนฟฺุตพริ้น

ตัวชี้วัด จานวนชุมชนต้นแบบสุขาภิบาล ยั่งยืน ๑๒ ชุมชน (หมู่บ้าน / ตาบลต้นแบบ) จานวน อปท.ต้นแบบ (๑๒ แห่ง) - ร้อยละของเทศบาลที่จัดการ มูลฝอย/สิ่งปฏิกูลถูกสุขลักษณะ ร้อยละ ๕๐ ของ รพ. ที่มีการ จัดการน้าเสียได้มาตรฐานและนา น้าทิ้งไปใช้ประโยชน์ จานวน รพ. (สังกัด สธ.) ดาเนิน กิจกรรม Green&Clean แห่ง - รพ.สมัครเข้าร่วมโครงการ ๑๐๐ % - รพ.สต. สมัครเข้าร่วมโครงการ ๔๐ %

แผนงานโครงการงานอนามัยสิ่งแวดล้อม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ในปี ๒๕๕๖ ๑. โครงการ : การสร้างเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน ปีที่ ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ดาเนินการประเมินผลในรูปแบบของคณะกรรมการระดับอาเภอ ๒. โครงการน้าประปาดื่มได้ ดาเนินการร่วมกับศูนย์อนามัยที่ ๖ ขอนแก่น ๓. โครงการชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (Green Health Community : GHCO) ปี ๒๕๕๖ (บูรณาการภาคส่วนสาธารณสุขร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ๔. โครงการพัฒนาส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ๑๐๐ % เพื่อรับรองจากกรมอนามัย ปี ๒๕๕๖ ระบบรายงาน ๑. ๒. ๓. ๔.

แบบประเมินเกณฑ์ประเมินโรงพยาบาลสีเขียว จังหวัดกาฬสินธุ์ แบบประเมินตนเองสถานบริการสาธารณสุขลดโลกร้อน Green and Clean แบบรายงานระบบการจัดการขยะติดเชื้อ ในโรงพยาบาล แบบประเมินส้วมสาธารณะ เกณฑ์ศูนย์อนามัยที่ ๖ ขอนแก่น

สารสนเทศงานอนามัยสิ่งแวดล้อม : https://sites.google.com/site/kalasingreenhospital/

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 63


Health Promotion : Kalasin Public Health Office โครงการ : พัฒนาชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (Green - Health Community : GHCO) ………………………………………………………………….…………………………. การที่โลกต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงขึ้น จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก อันเนื่องมาจากการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ผลักดันให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกหันมา ให้ความสนใจและตระหนักถึงผลกระทบต่าง ๆ ที่จะตามมา เพื่อหาแนวทางยับยั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และปูองกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับมนุษย์ โดยมีการลงนามรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) การดาเนินในส่วนของประเทศไทย มีการรณรงค์ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมต่อการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก โดยให้ความรู้ และสร้างความตระหนัก ทั้งในภาคเอกชน ภาคราชการ และภาคประชาชน ภายใต้กลไกการพัฒนาที่สะอาด และการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งในส่วนของกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้ดาเนินงานให้ทุกโรงพยาบาลทุ กแห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต) ดาเนิน “โครงการ สาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยหลักการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” ตาม หลัก Green and Clean ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม G = Garbage คือ การจัดการมูลฝอยและการใช้ ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล โดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าก่อนทิ้งไปเป็นขยะ R = Rest room คือ การพัฒนาส้วม ในสถานบริการสาธารณสุข ให้ได้มาตรฐานส้วมสาธารณะไทย (HAS) และลดการใช้สารเคมีในห้องส้วม E = Energy คือ การลดการใช้พลังงาน เช่น การใช้มาตรการประหยัดไฟฟูา การประหยัดพลังงานเชื้อเพลิง หรือมี การใช้พลังงานทดแทนจากชีวภาพหรือชีวมวล เช่น ผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas) จากเศษอาหาร เศษผักผลไม้ หรือมูลฝอยอินทรีย์อื่น ๆ N = Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์การใช้ผักพื้นบ้าน อาหาร พื้นเมือง การปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือรวมพลังเป็นกลุ่ม เป็นชุมชน การใช้ผักพื้นบ้าน ปลูกผักตาม ฤดูกาล ลดการใช้ปุ฻ยเคมี เพื่อลดการปล่อยก๊าซไนตรัส สู่บรรยากาศโลก การพัฒนาชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ไม่ได้มองเฉพาะประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อม แต่ยังพิจารณาถึงความน่าอยู่ อย่างยั่งยืนทั้งในด้านโครงสร้าง สิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ ซึ่งการพัฒนาสู่ ชุมชนสีเขียว นั้นท้องถิ่นจะมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาขับเคลื่อนผลสาเร็จของชุมชน จากการสังเคราะห์การ พัฒนาสิ่งแวดล้อม เมืองน่าอยู่ และการสร้างสุขภาพของ The Economic Intelligence Unit1, Mercer2, ECA International3, เมืองทัคซัน ประเทศสหรัฐอเมริกา4 และ เมืองดงตัน มณฑลเซี่ยงไฮ้ 5 พบว่าป๎จจัยที่เป็น องค์ประกอบสาคัญที่ส่งผลต่อความสาเร็จการพัฒนา 1

The Economic Intelligence Unit องค์กรธุรกิจ และผู้นาด้านการวิเคราะห์เศรษฐกิจต่างประเทศ และเศรษฐกิจโลก เมืองน่าอยู่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ สามารถวิเคราะห์ ได้ 5 ด้าน ดังนี้ Mercer หน่วยงานให้คาปรึกษาการบริหารการเงิน และทรัพย์สนิ (สารวจคุณภาพชีวิตประชาชน 420 เมือง ทั่วโลก) 3 ด้านที่ 1 ด้หน่ านการดู แลสุ ขภาพอนามั ย และสุ พิจารณาในด้ านความสะดวก ECA International, วยงานปรึ กษาด้ านทรัพยากรมนุ ษย์ ข(จัาภิ ดอับนาล ดับความน่ าอยู่ประเทศต่ าง ๆ ในเอเชียและคุ แปซิฟณ ิค) ภาพการ 4 เมืให้องทั น ประเทศสหรัฐอเมริการจั กา สมาชิ กสภาเมืองทัคซันย ประเทศสหรั ฐอเมริ บริคกซัารทางการแพทย์ ดการขยะ/ของเสี การจัดการน้ าเสีกาย และการจัดการมลพิษอากาศ การ 5 เมืองดงตัน มณฑลเซี่ยงไฮ้ เมืองต้นแบบน่าอยู่ ทันสมัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สาธารณรัฐประชาชนจีน 2

จัดการน้าที่สะอาด ความเสี่ยงด้านสุขภาพอนามัย เป็นต้น

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 64


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ด้านที่ 2 ด้านธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ พิจารณาในด้าน การลดการใช้พลังงาน ชีว มวล และพลังงานแสงอาทิตย์ การจัดพื้นที่สีเขียว สร้างเส้นทางธรรมชาติ และการออกแบบหมู่บ้านหรือ ชุมชนระบบนิเวศน์ ด้านที่ 3 ด้านการศึกษา พิจารณาในด้านการจัดระบบการศึกษา ด้านที่ 4 ด้านสังคม และวัฒนธรรม พิจารณาในด้านออกแบบ และเพิ่มพื้นที่สาธารณะเพื่อให้เป็น แหล่งปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม มีการสนับสนุนกิจกรรมเชิงสังคม ด้านที่ 5 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณะ พิจารณาในด้าน การให้บริการระบบประปา การจราจร การจัดพื้นที่/สถานที่ออกกาลังกาย จากการวิเคราะห์ด้านต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาเมืองน่าอยู่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อ ต่อสุขภาพ จะเกี่ยวข้องกับระบบการดูแลสุขภาพ และการจัดการสุขาภิบาล การดูแลรักษาธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม การส่งเสริมความรู้ ด้านสังคม และวัฒนธรรม และโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนเอง ซึ่งป๎จจัย สาคัญที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการพัฒนาด้านต่าง ๆ นั้น ป๎จจัยสาคัญ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การ สนับสนุน ผลักดัน และขับเคลื่อน เป็นกลไกขับเคลื่อนสร้างจิตสานึก และการมีส่วนร่วมของชุมชน และ ประชาชนในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ให้มีความน่าอยู่ ที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืน ดั ง นั้ น ส านั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ์ เห็ น ความส าคั ญ ของการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ และ สิ่งแวดล้อมภายในท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งองค์กรภาคส่วนท้องถิ่น ถือว่าเป็นหน่วยงานหลัก ในการพัฒนา ขับเคลื่อนการสร้างสุขภาพ ภายใต้แนวทางการสร้างสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดี สานักงาน สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์จึงได้ดาเนินโครงการ : พัฒนาชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ขึ้น และเชิญชวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้สมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาชุมชนสี เขียว ระบบนิเวศน์ดี เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมให้เกิดความสุขแบบเรียบง่าย และพอเพียง บนวิถีวัฒนธรรมสุขภาพของจังหวัดกาฬสินธุ์ ต่อไป เป้าหมาย ๑. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ประเภท ๑.๑ เทศบาลตาบลขนาดกลาง และใหญ่ ๑.๒ เทศบาลเมือง (หมายเหตุ : ข้อ ๑.๑ และ ๑.๒ เกณฑ์การพิจารณาใช้เกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน) วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม ร่วมกับท้องถิ่น ๒. เพื่อพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ Green & Health ในชุมชน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 65


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เส้นทางเดินโครงการ ๑. จัดทารายละเอียดโครงการ : พัฒนาชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (Green - Health Community : GHCO) ๒. ประกาศรับสมัคร องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ ๓. ส่งเอกสาร ประเมินตนเอง เอกสาร กิจกรรมรูปภาพ พร้อมใบสมัคร ให้คณะกรรมการระดับจังหวัด พิจารณาเบื้องต้นเพื่อประเมินความเป็นไปได้เบื้องต้น ๔. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครเข้าร่วมโครงการ ฯ จัดการประชุมนอกสถานที่ ในพื้นที่ที่มีการ พัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาพและเกิดผลสาเร็จ (หมายเหตุ ข้อ ๔ ประเมินจานวน หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สนใจ สมัครเข้าร่วมโครงการอีกครั้ง) ติดตามประเมินผล ๑. ติดตามประเมินผลโครงการ : พัฒนาชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (Green - Health Community : GHCO) ๒. พิจารณาผลการประเมินเชิงประกวด พร้อมสรุปบทสรุปผู้บริหารสาหรับผู้นาท้องถิ่นในการพัฒนาต่อ ยอดชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ มอบโล่ รางวัล (Green - Health Community : GHCO) รางวัลที่ 1 เงินรางวัล 50,000 บาท พร้อมโล่ราชอาสน์ รางวัลที่ 2 เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่ราชอาสน์ รางวัลที่ 3 เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมโล่ราชอาสน์ เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (Green - Health Community : GHCO) ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๒ องค์ประกอบ ๑. องค์ประกอบด้านชุมชนสีเขียว (Green Community) ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๑.๕

G = Garbage ด้านการจัดการขยะ R = Rest room ด้านพัฒนาห้องส้วมสะอาด E = Environment ด้านสิ่งแวดล้อม E = Energy ด้านพลังงาน N = Nutrition ด้านอาหารปลอดสารพิษ

๒. องค์ประกอบด้านสุขภาพ (Health Community) ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕

H = Healthy Home บ้านสุขภาพดี E&A = E&A : Exercise and Activities ออกกาลังกาย และกิจกรรมของชุมชน L = Learning Center ศูนย์เรียนรู้ของชุมชน T = Temple Promotion วัดส่งเสริมสุขภาพ H = Happiness ความสุขของชุมชน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 66


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๑๐. การดาเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ผู้รับผิดชอบ : นางสาวแอนนา แสบงบาล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ ๑. แนวทางการดาเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (รายละเอียดในตอนท้าย)

๒. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว เทศบาลตาบลโคกศรี (รายละเอียดในตอนท้าย)

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 67


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ภาคผนวก แบบฟอร์ม และรายงาน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 68


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๑. แบบประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) แบบประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) หมู่บ้าน.................... หมู่ที่............ ตาบล........................... อาเภอ.................จังหวัดกาฬสินธุ์ โรงพยาบาล/สถานีอนามัย........................................ตาบล.................................. คาชี้แจง : ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างระดับผลการประเมินให้ตรงกับการดาเนินการจริงของพื้นที่ ที่เข้ารับการประเมินมากที่สุด มี ไม่มี เกณฑ์การประเมิน (1 คะแนน) (0 คะแนน) องค์ประกอบที่ 1 : กระบวนการขับเคลื่อน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ตัวชี้วัดที่ 1.1 : ชุมชน / หมู่บ้าน มีนโยบายและมาตรการควบคุมปูองกัน โรคขาดสารไอโอดีน เกณฑ์การประเมินพิจารณาจาก 1. มีการแต่งตั้งคณะทางานเพื่อกาหนดนโยบายและมาตรการการควบคุม ปูองกันโรคขาดสารไอโอดีน โดยมีผู้นาชุมชนและประชาชนร่วมเป็น คณะทางาน 2. มีการประกาศนโยบายและมาตรการการควบคุมปูองกันโรคขาดสาร ไอโอดีนอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร 3. มีการสื่ อสารนโยบายและมาตรการการควบคุมปูองกันโรคขาดสาร ไอโอดีนให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. มีการนานโยบาย / มาตรการสู่การปฏิบัติ และมีแผนปฏิบัติงานรองรับ รวมคะแนนตัวชี้วัดที่ 1.1 = ระดับผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 1.1 : ( ) 4 คะแนน = ดีมาก ( ) 2 คะแนน = พอใช้

………….. คะแนน

( ) 3 คะแนน = ดี ( ) 1 คะแนน = ยังไม่น่าพอใจ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 69


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) (ต่อ) เกณฑ์การประเมิน

มี ไม่มี (1 คะแนน) (0 คะแนน)

ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ผู้นาชุมชนและแกนนาชุมชน/หมู่บ้าน และประชาชนมีความรู้ และปฏิบัติเรื่องการควบคุมปูองกันโรคขาดสารไอโอดีนได้ เกณฑ์การประเมินพิจารณาจาก 1. ผู้นาชุมชนและแกนนาชุมชน/หมู่บ้าน(ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน อสม. คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกสภาท้องถิ่น) ได้รับความรู้เรื่องการควบคุม ปูองกันโรคขาดสารไอโอดีน และมีการสื่อสารให้ประชาชน มีความรู้ อย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง 2. ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการควบคุมปูองกันโรคขาดสารไอโอดีน 3. มีการประเมินความรู้และการปฏิบัติเรื่องการควบคุมปูองกันโรคขาดสาร ไอโอดีนของผู้นาชุมชน แกนนาชุมชน / หมู่บ้าน และประชาชน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เรื่องการควบคุมปูองกัน โรคขาดสารไอโอดีน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ………… คะแนน รวมคะแนนตัวชี้วัดที่ 1.2 = ระดับผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 1.2 : ( ) 4 คะแนน = ดีมาก ( ) 3 คะแนน = ดี ( ) 2 คะแนน = พอใช้ ( ) 1 คะแนน = ยังไม่น่าพอใจ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 70


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) (ต่อ) เกณฑ์การประเมิน

มี (1 คะแนน)

ไม่มี (0 คะแนน)

ตัวชี้วัดที่ 1.3 : มีการสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ณ แหล่งผลิต (ถ้ามี) สถานที่จาหน่าย ร้านอาหาร ครัวเรือน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ปีละ 2 ครั้ง เกณฑ์การประเมินพิจารณาจาก 1. แหล่งผลิตเกลือเสริมไอโอดีนในชุมชน/หมู่บ้าน ( ) มี ( ) ไม่มี ได้รับการตรวจสอบคุณภาพเกลือ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. สถานที่จาหน่ายเกลือเสริมไอโอดีน (ร้านค้า ร้านขายของชา รถเร่ ตลาดนัด ฯลฯ) ในชุมชน/หมู่บ้านได้รับการตรวจสอบคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหรือ อสม. 3. อสม. อย.น้อย. แกนนานักเรียน หรือบุคคลที่เหมาะสมตรวจสอบคุณภาพ เกลือเสริมไอโอดีน ณ ครัวเรือน โดยใช้ I-kit 4. อสม. อย.น้อย. แกนนานักเรียน หรือบุคคลที่เหมาะสมตรวจสอบคุณภาพ เกลือเสริมไอโอดีน ณ ร้านอาหาร (ถ้ามี) แผงลอย (ถ้ามี) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ถ้ามี) และโรงเรียน (ถ้ามี) โดยใช้ I-kit รวมคะแนนตัวชี้วัดที่ 1.3 = …………… คะแนน ระดับผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 1.3 (กรณีมีแหล่งผลิต) : ( ) 4 คะแนน = ดีมาก ( ) 3 คะแนน = ดี ( ) 2 คะแนน = พอใช้ ( ) 1 คะแนน = ยังไม่น่าพอใจ ระดับผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 1.3 (กรณีไม่มีแหล่งผลิต) : ( ) 3 คะแนน = ดีมาก ( ) 2 คะแนน = ดี ( ) 1 คะแนน = ยังไม่น่าพอใจ * รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 (ตัวชี้วัดที่ 1.1 + 1.2 + 1.3) =

………… คะแนน

หมายเหตุ : * (1) กรณีชุมชน / หมู่บ้านไม่มีแหล่งผลิตเกลือเสริมไอโอดีน ให้  ในช่อง ( ) ไม่มี และไม่ต้องนามาคิด คะแนน โดยคะแนนเต็มในตัวชี้วัดที่ 1.3 สาหรับชุมชน / หมู่บ้าน ที่ไม่มีแหล่งผลิตเกลือเสริมไอโอดีน เท่ากับ 3 คะแนน ส่วนชุมชน / หมู่บ้านที่มีแหล่งผลิตเกลือเสริมไอโอดีน คะแนนเต็มเท่ากับ 4 คะแนน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 71


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) (ต่อ) ระดับการประเมิน / คะแนน เกณฑ์การประเมิน

เปูาหมาย ผลงาน

ดีมาก 4 คะแนน

องค์ประกอบที่ 2 : ระดับความสาเร็จในการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีนของ ชุมชน / หมู่บ้าน ตัวชี้วัดที่ 2.1 : แหล่งผลิตเกลือเสริมไอโอดีนในชุมชน / หมู่บ้าน (ถ้ามี) ทุกแห่งผลิตเกลือเสริมไอโอดีนได้คุณภาพตาม มาตรฐานที่กฎหมายกาหนด ( ) มีแหล่งผลิต ( ) ไม่มีแหล่งผลิต ตัวชี้วัดที่ 2.2 : สถานที่จาหน่ายเกลือเสริมไอโอดีนและ ผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนทุกแห่ง (ร้านค้า ร้านขายของชา รถ เร่ ตลาดนัด ฯลฯ) จาหน่ายเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์ เสริมไอโอดีนคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ 2.3 : ครัวเรือนมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน คุณภาพมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90

ตัวชี้วัดที่ 2.4 : ร้านอาหาร (ถ้ามี) แผงลอย (ถ้ามี) ทุก แห่ง ในชุมชน / หมู่บ้านมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีนและหรือ ผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนคุณภาพปรุงและประกอบอาหาร ตัวชี้วัดที่ 2.5 : ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ ก (ถ้ามี) ทุกแห่ งใน ชุมชน / หมู่บ้านมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีนและหรือผลิตภัณฑ์ เสริมไอโอดีนคุณภาพปรุงและประกอบอาหารให้เด็กบริโภค ( ) มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ( ) ไม่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

100%

ดี

พอ ใช้

ยังไม่น่า พอใจ

3 2 คะแนน คะแนน

1 คะแนน

6069%

< 60%

…… แห่ง

…….% ≥80% 7079% ……… แห่ง

100%

……%

≥80% 7079%

6069%

< 60%

…… แห่ง ≥90%

…… แห่ง ……..% ≥90% 8089% ……. ครัว เรือน ……..% >80% 7079% ……… ร้าน ……% 100% 8599% …… แห่ง

7079%

<70%

6069%

< 60%

7084%

<70%

…… ครัว เรือน 100% ……… ร้าน 100% …… แห่ง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 72


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบประเมินตนเอง “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” (ประเมินรายหมู่บ้าน) (ต่อ)

เกณฑ์การประเมิน

เปูาหมา ผลงาน ย

ระดับการประเมิน / คะแนน ดีมาก ดี พอ ใช้ ยังไม่น่า พอใจ

4 3 2 1 คะแนน คะแนน คะแน คะแนน น 70<70% …….% 100% 8599% 84%

ตัวชี้วัดที่ 2.6 : โรงเรียน (ถ้ามี) ทุกแห่งในชุมชน / หมู่บ้าน 100% มีการใช้เกลื อเสริ มไอโอดีน และหรื อผลิ ตภัณฑ์เสริมไอโอดีน คุณภาพปรุงและประกอบอาหารให้เด็กบริโภค …..….… …….… ( ) มีโรงเรียน ( ) ไม่มีโรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2 = (ตัวชี้วัดที่ 2.1 + 2.2 + 2.3 + 2.4 + 2.5 + 2.6)

………. คะแนน

* รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 + 2 = ….…… คะแนน ( (

) ผ่านเกณฑ์การประเมิน ( คะแนนเฉลี่ยโดยรวม ≥ 3.00 คะแนน) ) ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (คะแนนเฉลี่ยโดยรวม < 3.00 คะแนน)

หมายเหตุ : * กรณีที่ในชุมชน / หมู่บ้าน ไม่มีแหล่งผลิต / ไม่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และหรือไม่มีโรงเรียน ไม่ต้องใส่ข้อมูล ในช่องเปูาหมาย ผลงาน และไม่นามานับคะแนน สาหรับคะแนนเต็มให้นับเฉพาะตัวชี้วัดที่ตอบว่า มี * กรณีที่ในชุมชน / หมู่บ้าน ใด ตอบว่า มีแหล่งผลิต / มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และหรือมีโรงเรียน ให้ใส่ข้อมูล ในช่องเปูาหมาย ผลงาน และคะแนนที่ได้ ในช่องระดับคุณภาพ ตาม % ผลงานที่ดาเนินการได้ในแต่ละ ตัวชี้วัด

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 73


Health Promotion : Kalasin Public Health Office (ประเมินรายหมู่บ้าน) แบบฟอร์ม 2 : สรุปผลการประเมิน คาชี้แจง : ให้นาคะแนนของคณะกรรมการประเมินตามเกณฑ์ในแบบฟอร์ม 1 ของคณะกรรมการทุกคน กรอกลงในแบบฟอร์มสรุปผลการประเมิน ดังนี้ ชุมชน / หมู่บ้าน จังหวัด

ตาบล ___________________ อาเภอ ประเมินครั้งที่ ___ วันที่

เดือน

พ.ศ.

*************************************** รายชื่อผู้ประเมิน (อาจจะมี 3 คน หรือ 5 คน หรือ 7 คน ตามความเหมาะสม) 1. ชื่อ – สกุล

ประธาน (ลงนาม) ........................................

2. ชื่อ – สกุล

กรรมการ (ลงนาม) ........................................

3. ชื่อ – สกุล

กรรมการ (ลงนาม) ........................................

4. ชื่อ – สกุล

กรรมการ (ลงนาม) ........................................

5. ชื่อ – สกุล

กรรมการ (ลงนาม) ........................................

6. ชื่อ – สกุล

กรรมการ (ลงนาม) ........................................

7.ชื่อ – สกุล

กรรมการและเลขานุการ (ลงนาม) ...................

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 74


Health Promotion : Kalasin Public Health Office สรุปผลการประเมิน  คะแนนจากผู้ประเมิน เกณฑ์การประเมิน คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7

 คะแนน รวม

 คะแนนเฉลี่ย

=

คะแนนรวม  (จานวนผู้ประเมิน X จานวนตัวชี้วัด)

องค์ประกอบที่ 1 : กระบวนการขับเคลื่อน ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน องค์ประกอบที่ 2 : ระดับความสาเร็จในการควบคุม ป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ของ ชุมชน/หมู่บ้าน

คะแนนรวม  (จานวนผู้ประเมิน X 3 ตัวชี้วดั ) คะแนนรวม 

=

(จานวนผู้ประเมิน X ….. ตัวชี้วัด) คะแนนรวม 

คะแนนรวมองค์ประกอบที่ 1 – 2

=

=

(จานวนผู้ประเมิน X …… ตัวชี้วัด)

ผลการประเมิน ( ) ผ่านเกณฑ์การประเมิน (คะแนนเฉลี่ยโดยรวม ≥ 3.00 คะแนน) ( ) ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (คะแนนเฉลี่ยโดยรวม < 3.00 คะแนน) หมายเหตุ : * คะแนนเฉลี่ย ในช่อง  มาจากคะแนนในช่อง  หารจานวนผู้ประเมิน คูณจานวนตัวชี้วัด ผลลัพธ์ที่ได้ให้ใช้ทศนิยม 2 ตาแหน่ง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 75


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบฟอร์ม 3 : ใบแสดงความจานงขอรับการประเมิน “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จากผู้ประเมินภายนอก ชื่อชุมชน / หมู่บ้าน........................................หมู่ที่......................ตาบล.......................................อาเภอ ..................................................จังหวัด.........................................ภาค...................... ชื่อผู้ประสานงาน..............................................ตาแหน่ง..................................... สถานที่ปฏิบัติงาน ........................................โทรศัพท์.................................. โทรสาร...................E-mail……………............ มีความประสงค์ขอรับการประเมิน “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” ตามเกณฑ์การประเมินของกรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดย ชุมชน / หมู่บ้าน ได้ประเมินตนเองตามเกณฑ์การประเมิน “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” ของกรมอนามัยแล้ว และมีผลการประเมินอยู่ในระดับ.....................................................ซึ่ง ได้แนบมาพร้อมนี้แล้ว ลงชื่อผู้ขอรับการประเมิน.................................... (...........................................................) ตาแหน่ง........................................... ลงวันที่.................../......................./......................

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 76


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบสรุปการรายงานตัว (การแสดงตน) เพื่อยืนยันการมีตัวตน ตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบสิทธิ์ อสม. ในการรับค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่กาหนด ปี งบประมาณ 2556 (ฉบับสรุปของ สถานบริการแต่ละแห่ง) จังหวัดกาฬสินธุ์ อาเภอ................................................ตาบล.........................ชื่อสถานบริการ............................... ลายมือชื่อผูร้ ับรองผล ลาดับ

ชื่อ หมู่บ้าน/ชุมชน.

หมู่ที่

จานวน อสม.ทั้งหมด ที่ได้รับค่าปุวยการ

จานวน อสม.ที่มาแสดง ตนและลงชื่อรับรอง ความถูกต้องเพื่อรับค่า ปุวยการ

ผอ.รพสต.

ลงชื่อ ......................................................................

ผู้รายงาน หรือ จนท. ผู้รับผิดชอบ

(..................................................................) ตาแหน่ง......................................................... เบอร์โทร.........................................................

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 77

ประธาน อสม. ระดับ ตาบล


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบรายงานตัว (การแสดงตน) เพื่อยืนยันการมีตวั ตน ตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบสิ ทธิ์ อสม. ในการรับค่าตอบแทน ค่าป่ วยการ อสม. ปี งบประมาณ 2556 จังหวัดกาฬสิ นธุ์ อาเภอ ................................ ตาบล ..........................รพสต./รพช./รพท.......................................................จานวนหมู่บา้ นรับผิดชอบ...........หมู่ จานวน อสม.ทัง้ หมด............คน ชื่อ ผอ.รพ.สตหรือจนท.ผูร้ บั ผิดชอบ ...........................................................................................หมายเลขโทรศัพท์.............................อีเมล์......................................................................... ที่อยู่

อายุ

ลายมือชื่อ

เลขประจาตัว 13 หลัก ลาดับ

ชื่อ - สกุล

เลขที่ หมู่ที่

ตาบล

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

ระดับการ (ปี)

ปีที่เป็น อสม.

ศึกษา

อสม.ผู้แสดงตน

ลายมือชื่อผู้รับรองผล ประธานอสม.

ผอ.รพ.สต.

ตาบล/ชุมชน

หน.ศูนย์ฯ

หน้า 78

การมี ขื่อ ในฐาน เวป ไซต์


Health Promotion : Kalasin Public Health Office หมายเหตุ

1. การมีช่อื ฐานในเวปไซต์ หมายถึง รพสต.ตรวจสอบให้ในเวป www.thaiphc.net ถ้ามีให้ทาเครือ่ งหมาย / ไม่มใี ห้ 0 2. ให้ รพสต.จัดพิมพ์ขอ้ มูล ลงในไฟล์ Excell นี้ แล้วส่งรวมเป็นภาพอาเภอ สสอ. ส่งให้จงั หวัด ทีเ่ มล์ kalasin2008@hotmail.com 3. เอกสารฉบับจริงให้ ลงลายมือ อสม.แสดงตน แล้ว สสอ.รวบรวมเป็ นภาพอาเภอส่งให้ จังหวัด ภายใน 20 กย. 55 4. อสม.ใหม่ ปี 2555 ทีไ่ ด้โควตารับเงินให้ทาเป็ นอักษรสีแดงและทาเป็นตัวเอียงให้ดว้ ยครับเพื่อจะเอาข้อมูลลงเวปให้ครับ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 79


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบสรุปการรายงานตัว (การแสดงตน) เพื่อยืนยันการมีตัวตน ตรวจสอบข้อมูลและตรวจสอบสิทธิ์ อสม. ในการรับค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่กาหนด ปี งบประมาณ 2556 (ฉบับสรุปของ สสอ. ให้เอาของ รพ.ช. มารวมด้วยนะครับ) จังหวัดกาฬสินธุ์ อาเภอ.............................................................

ลาดับ

ชื่อ รพสต./รพช./รพท.

ชื่อตาบล

จานวน อสม. ทั้งหมดที่ได้รับค่า ปุวยการ จานวนอสม.ที่มาแสดงตน และลงชื่อรับรองความ ถูกต้อง เพื่อรับค่าปุวยการ

ลายมือชื่อผู้รับรองผล

สสอ./

รวม ลงชื่อ .................................................................. ผู้รายงาน หรือ จนท.ผู้รับผิดชอบ (..................................................................) ตาแหน่ง ……………………………… เบอร์โทร………….

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 80

ประธาน อสม. ระดับ อาเภอ


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

แบบรายงานการดาเนินงานตาบลจัดการสุขภาพตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปี 2556 ********************** ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย หมายถึง ตาบลที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยที่ให้ ความสาคัญกับการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน ท้องถิ่น และทุกๆ ภาคส่วนในท้องถิ่น ที่มีการบูรณาการ ร่วมกัน ช่วยกันค้นหาหรือกาหนดป๎ญหาสุขภาพ กาหนดอนาคต ดาเนินกิจกรรมการพัฒนาด้านสุขภาพและ มาตรการทางสังคม รวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสานึกสาธารณะ โดยเน้น กระบวนการการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อลดป๎จจัยเสี่ยง (๓อ. ๒ส.) และ โรควิถีชีวิต ๕ โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง ชื่อตาบล.......................................... อาเภอ...................................จังหวัด..................................... ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ประกอบด้วย 6 ส่วน ส่วนที่ 1. ส่วนที่ 2. ส่วนที่ 3. ส่วนที่ 4. ส่วนที่ 5. ส่วนที่ ๖.

ข้อมูลทั่วไปของตาบล ทีมงานตาบลจัดการสุขภาพ กระบวนการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพ ผลการดาเนินงานพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพ ป๎จจัยแห่งความสาเร็จ ป๎ญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ผลการประเมินเพื่อการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพ

ส่วนที่ 1. ข้อมูลทั่วไปของตาบล 1.1 ด้านภูมิศาสตร์ ( อาณาเขต สภาพพื้นที่ ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งน้า เป็นต้น) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.2 ด้านปกครอง ( จานวนหมู่บ้าน ประชากร ครัวเรือน อาชีพ รายได้ ) ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.3 ด้านสังคม ( โรงเรียน สถานีตารวจ วัด กลุ่มสังคม ทุนทางสังคม ) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.4 ข้อมูลด้านสุขภาพ .................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 81


Health Promotion : Kalasin Public Health Office -

จานวนเด็กก่อนวัยเรียน ( อายุ 0 - 6 ปี )....... คน - จานวน เด็กวัยเรียน ( อายุ 7 – 18 ปี ) .......คน จานวนวัยทางาน ( อายุ 19 - 60 ปี ) ........ คน - จานวนผู้สูงอายุ ( อายุ 60 ปีขึ้นไป ) ........คน จานวนผู้ปุวยโรคเบาหวาน ............คน - จานวนผู้ปุวยโรคความดันโลหิตสูง......คน จานวนผู้ปุวยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน .......คน แยกเป็น 1 ........................ จานวน...........คน 2 ......................... จานวน..........คน 3 ........................ จานวน...........คน 4 ……………… จานวน..........คน - จานวนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน – โรคความดันโลหิตสูง...........คน - จานวนผู้ด้อยโอกาสในชุมชน (ผู้พิการ, ผู้สูงอายุที่และผู้ปุวยเรื้อรังที่ขาดผู้ดูแล)................. คน - จานวน อสม ............. คน - จานวน ศสมช...................แห่ง - จานวน กสค.........คน - จานวน รพ.สต.(ในตาบล)................แห่ง 1.5 ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.5.1 ขนาดของ อปท. ( )เล็ก ( ) กลาง ( )ใหญ่ 1.5.2 งบประมาณที่ สนับสนุนงานด้านสุขภาพปีงบประมาณ 2556 ( ) 1. งบสาธารณสุขมูลฐาน (10,000.-บาทต่อหมู่บ้าน/ชุมชน) ( ) 2. กองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ จานวน ...............บาท สนับสนุนโครงการด้านสุขภาพ 1.เรื่อง..................................................จานวน....................บาท 2.เรื่อง..................................................จานวน....................บาท 3.เรื่อง..................................................จานวน....................บาท ( ) 3. งบประมาณเพิ่มเติมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(นอกเหนือจากข้อ 1 และ 2) จานวน........................บาท สนับสนุนโครงการด้านสุขภาพเรื่อง 1. เรื่อง..................................................จานวน....................บาท 2. เรื่อง..................................................จานวน....................บาท 3. เรื่อง..................................................จานวน....................บาท

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 82


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ส่วนที่ 2. . ทีมงานตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ประกอบด้วย

เครือข่าย

ชื่อ - นามสกุล

ตาแหน่ง

สถานที่ปฏิบัติงาน/ ที่อยู่

ช่องทางการติดต่อ ประสานงาน (โทรศัพท์/โทรสาร/E- Mail)

ภาครัฐ

ภาค ประชาชน

องค์กร ปกครอง ส่วน ท้องถิ่น

อื่น ๆ

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 83


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ส่วนที่ 3. กระบวนการ/ขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 3.1. การสร้างและพัฒนาทีมตาบลจัดการสุขภาพ (ระบุวิธีการ และตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) 3.1.1 โดยการพูดคุยประสานงาน /ประชาสัมพันธ์ ( ) 3.1.2 มีการจัดประชุมชี้แจงทาความเข้าใจ /ระดมความคิดเห็น ( ) 3.1.3 มีคัดเลือกทีมงาน ( ระบุวิธีการได้มา)................................................................................... ( ) 3.1.4 มีการจัดตั้งคณะทางาน /กาหนดบทบาทหน้าที่ ( ) 3.1.5 การอบรม /สัมมนา เรื่อง ...................................................................................................... ( ) 3.1.6 การศึกษาดูงาน เรื่อง............................................................................................................ ( ) 3.1.7 มีการอบรมความรู้ อสม.ในเรื่องการจัดทาแผนสุขภาพตาบล โดยใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์และอื่นๆโดยใช้ ............................................................................................................. ( ) 3.1.8 มีการอบรมความรู้ อสม. ในเรื่องตามนโยบายเร่งด่วน 5 โรค คือ โรคเบาหวาน / ความดัน โลหิตสูง / โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคมะเร็ง ( ) 3.1.9 อื่นๆโปรดระบุ ....................................................................................................................... 3.2 การพัฒนากระบวนการจัดทาแผนสุขภาพตาบล(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อและอธิบายวิธีการแต่ละ กระบวนการ) ( ) 3.2.1 การเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพตาบล ระบุ.......................... ( ) 3.2.2 มีการสร้างการรับรู้ให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพตาบล ระบุ .............................. ( ) 3.2.3 มีและใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ป๎ญหาสุขภาพของชุมชน ระบุ ......................................................... ( ) 3.2.4 มีการจัดทาแผนสุขภาพตาบลโดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรืออื่นๆโดยใช้............................. ( ) 3.2.5 มีการระดมทรัพยากรและทุนจากชุมชนมาใช้ ( กองทุนหลักประกันสุขภาพ / องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น/ ทรัพยากรจากแหล่งอื่น ๆระบุ ……...................................................................................................) ( ) 3.2.6อื่นๆ ( โปรดระบุ) ..........................................................................................................................

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 84


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ส่วนที่ 4. ผลการดาเนินงานพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 4.1 การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตาบลสู่การปฏิบัติ ( ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ ) ( ) 4.1.1 มีทีมงานด้านสุขภาพระดับหมู่บ้าน ( ) 4.1.2 ชุมชน/ท้องถิ่นเป็นแกนนาขับเคลื่อนแผนสุขภาพตาบล/โครงการ/กิจกรรม ( ) 4.1.3 มีการดาเนินกิจกรรมตามแผนสุขภาพตาบล/โครงการสุขภาพชุมชน ( ) 4.1.4 มีการดาเนินงานเชิงรุกในชุมชน เช่นการส่งเสริมสุขภาพ (๓ อ.๒ส) การเฝูาระวังโรค /เฝูา ระวังพฤติกรรมสุขภาพวิถีชีวิต การคัดกรอง การคุ้มครองผู้บริโภค การดาเนินมาตรการทางสังคมของชุมชน ฯลฯ ( ) 4.1.5 มีแผนปฏิบตั ิการเตรียมความพร้อมของระบบเฝูาระวังและการจัดการโรควิถีชีวิตเพื่อรองรับ กรณีภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติของชุมชน ฯลฯ 4.2 แผนงาน / โครงการพัฒนาด้านสุขภาพของตาบล โปรดระบุอย่างน้อย 3 โครงการ ชื่อโครงการ

กิจกรรมหลัก กลุ่มเป้าหมาย

พื้นที่ ดาเนินการ (ระบุหมู่บ้าน)

แหล่งทุน

จานวน (บาท)

องค์กรหลัก ที่รับผิดชอบ

4.3 ระบบการจัดการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ( ) 4.3.1 มีข้อมูลที่จาเป็นเพื่อการติดตามประเมินผล ได้แก่ .................................................. ( ) 4.3.2 มีกระบวนการติดตามการบริหารจัดการและการควบคุมกากับอย่างสม่าเสมอเชื่อมไปสู่ เปูาหมายหรือวิสัยทัศน์ของชุมชน / ท้องถิ่น(บุคลากร งบประมาณ ทรัพยากรและเทคโนโลยี)ระบุวิธีการ ติดตามประเมินผล....................................................................................................................................... ( ) 4.3.3 จานวนหมูบ่ ้านที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ จานวน.......หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ .......... (ของหมู่บ้านทั้งหมด) ( ) 4.3.4 จานวนหมู่บ้านผ่านเกณฑ์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จานวน ...... หมู่บ้าน ( ) 4.3.5 จานวนหมู่บ้านผ่านเกณฑ์ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค จานวน .......หมู่บ้าน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 85


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ( ) 4.3.6 จานวนหมู่บ้านผ่านเกณฑ์ชุมชนไร้พุง จานวน ........หมู่บ้าน ( ) 4.3.7 มีการประกาศใช้มาตรการทางสังคมชุมชนอย่างจริงจัง เรื่อง (ระบุ)..................................... 4.4 ข้อมูลผู้ปุวยเบาหวาน – โรคความดันโลหิตสูง(หลังดาเนินงานแล้ว) - จานวนกลุ่มเปูาหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน –โรคความดันโลหิตสูง................คน - จานวนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน – โรคความดันโลหิตสูง...........คน - จานวนผู้ปุวยโรคเบาหวาน(รายใหม่) ............คน - จานวนผู้ปุวยโรคความดันโลหิตสูง(รายใหม่) ......คน - จานวนผู้ปวุ ยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน .......คน แยกเป็น 1 ........................ จานวน ........... คน 2 ......................... จานวน .......... คน - จานวนผู้ด้อยโอกาสในชุมชน (ผู้พิการ, ผู้สูงอายุที่และผู้ปุวยเรื้อรังที่ขาดผู้ดูแล)..........................คน 4.5 การจัดการสุขภาพสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยต้นแบบ ( ) 4.5.1 มีการถอดบทเรียนเพื่อการพัฒนาและการจัดการความรู้ในเรื่อง (ระบุ).................................. ( ) 4.5.2 มีการจัดการนวัตกรรม (นวัตกรรมกระบวนการ และนวัตกรรมผลผลิต) ที่นาไปสู่การ ส่งเสริม ปูองกันโรคและการฟื้นฟูสุขภาพ ในเรื่อง (ระบุ)................................................................................... ( ) 4.5.3 มีศูนย์เรียนรู้ /เป็นที่ศึกษาดูงาน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน มีการถ่ายทอดความรู้ ในชุมชนโดยพัฒนาเป็น ( ) 1) โรงเรียน อสม. ในเรื่อง (ระบุ)............................................................................................... ( ) 2) โรงเรียนนวัตกรรม ในเรื่อง (ระบุ).......................................................................................... ( ) 3) ศูนย์การเรียนรู้ ในเรื่อง (ระบุ)............................................................................................... ( ) 4) เป็นที่ศึกษาดูงาน ในเรื่อง (ระบุ)............................................................................................ ( ) 4.5.4 มีการสร้างเครือข่ายการพัฒนาความร่วมมือระหว่างตาบลในเรื่อง (ระบุ)................................ ( ) 4.5.5 ผลงานเด่น/ที่ภาคภูมิใจ ............................................................................................................................................................................ ส่วนที่ 5 . ปัจจัยแห่งความสาเร็จ / ปัญหา / อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ข้ อเสนอแนะในการดาเนินงานประชาชน ปี 2551

5.1 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ …………………………............................................................................................................................... ................. 5.2 ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.3 ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 86


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ส่วนที่ 6 . ผลการประเมินตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

ระดับการ ประเมิน ระดับ พื้นฐาน

ระดับ พัฒนา

ระดับดี

ระดับดี มาก

ผลการประเมิน เกณฑ์การประเมิน

มี

ไม่มี

๑.การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ(ทีมงาน) ๑.๑ องค์ประกอบเครือข่ายที่เข้าร่วมในทีมจัดการสุขภาพตาบล ๑.๒ มีการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตาบล ๑.๓ มีการอบรมความรู้ อสม. ในเรื่องการจัดทาแผนสุขภาพตาบลโดยใช้ แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์หรือกระบวนการจัดทาแผนอย่างมีส่วนร่วมด้วยวิธีอื่นๆ ๑.๔ มีการอบรมความรู้ อสม. ในเรื่องโรควิถีชีวิต ๕ โรค คือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง การพัฒนากระบวนการจัดทาตามแผนสุขภาพตาบล (ต้องผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน) ๒.๑ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพตาบล ๒.๒ มีการสร้างการรับรู้ให้เกิดมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนสุขภาพตาบล ๒.๓ มีและใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ป๎ญหาสุขภาพชุมชนและจัดทาแผนสุขภาพ ตาบลโดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรือวิธีอื่นๆที่เป็นแนวทางการมีส่วนร่วม ๒.๕ มีการระดมทรัพยากรและทุนจากชุมชนมาใช้ (กองทุนหลักประกันสุขภาพ / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น /ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น / ทรัพยากรจากแหล่งอื่นๆ) การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตาบลสู่การปฏิบัติ (ต้องผ่านเกณฑ์ระดับพัฒนา) ๓.๑ ชุมชน/ท้องถิ่นเป็นแกนนา จัดทาแผนสุขภาพ /โครงการ /กิจกรรม ๓.๒ มีการดาเนินกิจกรรมตามแผนสุขภาพตาบล / โครงการสุขภาพตาบล ๓.๓ มีกิจกรรมดาเนินงานเชิงรุกในชุมชน เช่น การส่งเสริมสุขภาพ( ๓ อ. ๒ ส. ) การเฝูาระวังโรค เฝูาระวังพฤติกรรมสุขภาพวิถีชีวิต การคัดกรอง การคุ้มครอง ผู้บริโภค การดาเนินมาตรการทางสังคมของชุมชน ฯล ๓.๔ มีแผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมของระบบเฝูาระวังและการจัดการโรควิถี ชีวิตเพื่อรองรับกรณีภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติของชุมชน ฯลฯ ตาบลที่มีระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง(ต้องผ่านเกณฑ์ระดับดี) ๔.๑ มีข้อมูลที่จาเป็นเพื่อการติดตามประเมินผล

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

......... .......... ......... .......... ......... .......... ......... .......... ......... .......... ......... .......... ......... ............ ......... ............ …….

………

......... ............ ......... ............ ......... ........... ......... ............ ......... ............

หน้า 87


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ๔.๒ มีกระบวนการติดตามการบริหารจัดการและการควบคุมกากับอย่างสม่าเสมอ เชื่อมไปสูเปูาหมายหรือวิสัยทัศน์ของชุมชน/ ท้องถิ่น (บุคลากร งบประมาณ ......... ............ ทรัพยากรและเทคโนโลยี) ๔.๓ มีหมู่บ้านจัดการสุขภาพวิถีชีวิตไทยที่ผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านจัดการ สุขภาพ/หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ/ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค/ชุมชนไร้พุง ผ่าน ......... ........... เกณฑ์ อย่างน้อย ๒ หมู่บ้าน ......... .......... ๔.๔ มีการประกาศใช้มาตรการทางสังคมอย่างจริงจัง ระดับดี เยี่ยม

ความพร้อมและศักยภาพในการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (ต้องผ่าน เกณฑ์ระดับดีมาก) ๕.๑ มีการถอดบทเรียนเพื่อการพัฒนาและการจัดการความรู้ ๕.๒ มีการจัดการนวัตกรรม (นวัตกรรมกระบวนการ และนวัตกรรมผลผลิต) ที่ นาไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันโรคและการฟื้นฟูสุขภาพ ๕.๓ มีศูนย์เรียนรู้ /เป็นที่ศึกษาดูงาน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน เช่น โรงเรียนนวัตกรรม /โรงเรียน อสม. ฯลฯ ๕.๔ มีการสร้างเครือข่ายการพัฒนาความร่วมมือระหว่างตาบล

......... ........... ......... ........... ......... ........... ......... ...........

ผลการประเมินการพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย  ระดับพื้นฐาน  ระดับพัฒนา  ระดับดี  ระดับดีมาก  ระดับดีเยี่ยม ผู้รายงาน ชื่อ ............................................ตาแหน่ง ................................สถานที่ปฏิบัติงาน............................... โทรศัพท์ ................................. มือถือ ............................E-MAIL ………………………………………………………..… 0000000000000000000000000000000000000000000000000000 ๑. ผู้รับผิดชอบหลักตาบลจัดการสุขภาพ : นายเอกรินทร์ สังขศิลา เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๘-๕๔๘๗๕๑๕ , ๐๔๓ –๘๑๒๒๔๐ ๒. ผู้รับผิดชอบหลักระบบรายงานในมิติประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับ พฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ : นายธนาเดช อัยวรรณ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔ - ๒๖๑๖๒๔๙ , ๐๔๓ – ๘๑๑๑๖๘ : นางสาวแอนนา แสบงบาล เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๖ - ๗๑๖๖๖๐๖ ,๐๔๓ – ๘๑๑๑๖๘ ๓. ผู้รับผิดชอบหลักด้านวิชาการและการสนับสนุนมิติประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ที่มีการปรับ พฤติกรรม ๓ อ ๒ ส และลดเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ : นายธนาเดช อัยวรรณ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔ - ๒๖๑๖๒๔๙ ,๐๔๓ - ๘๑๑๑๖๘ : นางสาวแอนนา แสบงบาล เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๖ - ๗๑๖๖๖๐๖ ,๐๔๓ – ๘๑๑๑๖๘

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 88


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบรายงาน งานอนามัยโรงเรียน ผลประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๕๖ อาเภอ...................................... ลาดับ ที่

ชื่อโรงเรียน

สังกัด

ระดับ -ประถม -ขยายฯ -มัธยมฯ

ประเมินผ่านระดับ ทองพลัส

ทอง

เงิน

ทองแดง

ไม่ผ่าน

หมายเหตุ

รวม

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 89


Health Promotion : Kalasin Public Health Office การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง ภาคเรียนละ 1 ครั้ง ( ( วัน/เดือน/ปี

) ภาคต้น ) ภาคปลาย ชั้น

จานวนนักเรียน (คน) ตรวจ

พบโรค

แนะนา/รักษา

ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม ม.4 ม.5 ม.6 รวม รวม

ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป = จานวนนักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไปที่ตรวจสุขภาพด้วยตนเอง X 100 =……...... ที่ตรวจสุขภาพด้วยตนเอง จานวนนักเรียนชั้น ป. 5 ขึ้นไปทั้งหมด

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 90


Health Promotion : Kalasin Public Health Office การทดสอบสายตา จานวนนักเรียนทีไ่ ด้รับการทดสอบสายตา (คน) โดยใช้แผ่นทดสอบสายตา วัน เดือน ปี

ชั้น

ได้รับการ ทดสอบ

ผิดปกติ

โดยใช้ Pin - Hole การมองเห็นดี ขึ้น

ได้รับการแก้ไข ด้วยแว่นสายตา

การมองเห็น ไม่ดีขึ้น

ส่งต่อแพทย์

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม

ร้อยละของนักเรียนชื้น ป.1 ขึ้นไป = จานวนนักเรียนชั้น ป1 ขึ้นไปที่ได้รับการทดสอบสายตา X 100 =……………… ที่ได้รับการทดสอบสายตา จานวนนักเรียนชั้น ป. 5 ขึน้ ไปทั้งหมด

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 91


Health Promotion : Kalasin Public Health Office การทดสอบการได้ยิน วัน เดือน ปี

ชั้น

จานวนนักเรียนทีไ่ ด้รับการทดสอบการได้ยิน (คน) ได้รับการทดสอบฯ

การได้ยินผดปกติ

ได้รับการแก้ไข

รวม

ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 ที่ได้รับการทดสอบการได้ยินอย่างง่าย = จานวนนักเรียนชั้น ป. 1 ทีไ่ ด้รับการทดสอบการได้ยินอย่างง่ายX100 = ………..... จานวนนักเรียนชั้น ป.1 ทั้งหมด

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 92


Health Promotion : Kalasin Public Health Office บริการอนามัยโรงเรียน การตรวจสุขภาพนักเรียนโดยบุคลากรสาธารณสุข จานวนนักเรียน วัน เดือน ปี

ชั้น

พบโรค ตา

หู

อื่นๆ

รวม

รักษา

ชื่อ - สกุลผู้ตรวจ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 รวม

ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 - ป.4 ที่ได้รับ = จานวนนักเรียนชั้น ป1-ป.4ที่ได้รับการตรวจ X 100 =…………. การตรวจสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุข จานวนนักเรียนชั้น ป. 1 - ป.4 ทั้งหมด

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 93


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ภาวะการขาดสารไอโอดีนแสดงออกด้ วยอาการคอพอก

วัน/เดือน/ปี

ชั้น

ตรวจ

รวม ร้อยละ

*

จานวนนักเรียน (คน) ผิดปกติ

แก้ไข

ชื่อ-สกุล ผู้ตรวจ

แก้ไข

ชื่อ-สกุล ผู้ตรวจ

**

ภาวะโลหิตจางจากการตรวจร่ างกาย/ตรวจเลือด

วัน/เดือน/ปี

ชั้น

รวม ร้อยละ

ตรวจ

*

จานวนนักเรียน (คน) ผิดปกติ

**

*ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการตรวจ

=

จานวนนักเรียนชั้น ป1-ป.6 ที่ได้รับการตรวจ X100=…………. จานวนนักเรียนชั้น ป. 1 - ป.6 ทั้งหมด

** ร้อยละของนักเรียนที่ผิดปกติ

=

จานวนนักเรียนที่ผิดปกติ X 100=……………….. จานวนนักเรียนที่ตรวจ

หมายเหตุ : นักเรี ยนที่ตรวจพบภาวะโลหิตจางให้ ถือว่ามีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (ยกเว้ นกรณีที่เป็ นโลหิต จางธาลัสซีเมีย)

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 94


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

ชั้น

สรุปผลการเฝ้าระวังภาวะ การเจริญเติบโตของเด็กนักเรียน ปี 2556 ( ) ภาคต้น ( ) ภาคปลาย ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุอยู่ใน สมส่วน ผอม+ค่อนข้างผอม อ้วน+เริ่มอ้วน จานวน นร. ที่ชั่งน้าหนัก เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย เกณฑ์ดี(ส่วนสูงตามเกณฑ์+ (น้าหนักตามเกณฑ์ (น้าหนักตามเกณฑ์ (น้าหนักตามเกณฑ์ จานวน วัดส่วนสูง (ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ) ค่อนข้างสูง+สูง) ส่วนสูง) ส่วนสูง) ส่วนสูง) นร ทั้งหมด. ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ละ ละ ละ ละ ละ ละ

อ.1 อ.2 อ.3 รวม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม ม.1 ม.2 ม.3 รวม ม.4

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 95


Health Promotion : Kalasin Public Health Office สรุปผลการเฝ้าระวังภาวะ การเจริญเติบโตของเด็กนักเรียน ปี 2556 ( ) ภาคต้น ( ) ภาคปลาย (ต่อ)

ชั้น

ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุอยู่ใน สมส่วน ผอม+ค่อนข้างผอม อ้วน+เริ่มอ้วน จานวน นร. ที่ชั่งน้าหนัก เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย เกณฑ์ดี(ส่วนสูงตามเกณฑ์+ (น้าหนักตามเกณฑ์ (น้าหนักตามเกณฑ์ (น้าหนักตามเกณฑ์ จานวน วัดส่วนสูง (ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ) ค่อนข้างสูง+สูง) ส่วนสูง) ส่วนสูง) ส่วนสูง) นร ทั้งหมด. ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ละ ละ ละ ละ ละ ละ

ม.5 ม.6 รวม ทั้งหมด

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 96


Health Promotion : Kalasin Public Health Office ทันตสุขภาพในนักเรียนประถมศึกษา จานวนนักเรียน(คน) วัน เดือน ปี

ชั้น

ตรวจ

มีฟ๎นแท้ผุ จานวน

ร้อยละ

ไม่มภี าวะเหงือกอักเสบ

มีความต้องการบริการ ทันตกรรม เร่งด่วน

จานวน

จานวน

ร้อยละ

ร้อยละ

เคลือบหลุมร่องฟ๎น

ชื่อ - สกุลผู้ตรวจ

จานวน(คน/ซี่)

รวม ร้ อยละของนักเรียนที่ได้ รับการตรวจสุขภาพช่องปาก = จานวนนักเรี ยนที่ได้ รับการตรวจสุขภาพช่องปาก X 100 = …………… โดยบุคลากรสาธารณสุขหรื อครู จานวนนักเรียนทังหมด ้

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 97


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (Green - Health Community : GHCO) เกณฑ์มาตรฐาน Green Health Community องค์ประกอบที่ ๑ ด้านชุมชนสีเขียว (Green) การจัดการขยะ (G : Garbage) ๑. มีมาตรการ / โครงการ / กิจกรรม ในการจัดการขยะ ทุกประเภท เพื่อลดปริมาณขยะทุก ประเภทให้เป็นศูนย์ (Zero waste) ๒. มีการคัดแยกขยะของชุมชน ธนาคารขยะประจา ชุมชน และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการใช้ประโยชน์จากขยะ ๓. มีการใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น ทาปุ฻ยน้า ทาปุ฻ยหมัก เลี้ยงไส้เดือน ฯลฯ การพัฒนาห้องส้วม (R = Restroom) ๔. มีการพัฒนาส้วมสาธารณะ 12 ประเภท ในชุมชน ตามมาตรฐาน HAS ๕. มีการส่งเสริม สนับสนุน ดาเนินการ “ส้วมกตัญํู” ส้วมชักโครกสาหรับผู้สูงวัยในชุมชน การดูแลสิ่งแวดล้อม (E : Environment) ๖. มีการดาเนินกิจกรรมให้มีพื้นที่สีเขียว และส่งเสริมการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดทาธนาคารพันธุ์ไม้ ธนาคารสมุนไพรภายใน ชุมชน บวชปุาชุมชน เป็นต้น ๗. มีการกาหนดเส้นทาง “ถนนสีเขียวส่งเสริมสุขภาพ : Green Road” ในชุมชนอย่างน้อย ๑ เส้นทาง องค์ประกอบด้านชุมชนสีเขียว (Green) ๘. มีการจัดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น อบรมแกนนา สิ่งแวดล้อม รณรงค์วันสิ่งแวดล้อม ๙. มีมาตรการ แผนงาน โครงการในการจัดการน้าเสียของ ชุมชนอย่างถูกหลักสุขาภิบาล

ผลประเมิน

เอกสาร หลักฐาน

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 98


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (ต่อ) เกณฑ์มาตรฐาน Green Health Community ๑๐. มีโครงการ กิจกรรมสร้างจิตสานึกให้เยาวชน ประชาชน มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม ๑๑. มีการเฝูาระวัง และตรวจสอบคุณภาพน้าประปา และมี คลอรีนตกค้างตามมาตรฐาน ๑๒. มีการจัดทานวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพใน ชุมชน เช่น จักรยานป๎่นน้ารดต้นไม้ ฯลฯ พลังงาน (E : Energy) ๑๓. มีการใช้พลังงานทดแทนจากปุ฻ยชีวภาพ, ชีวมวล ผลิต Biogas จากมูลสัตว์ ขยะ เป็นต้น ๑๔. มีแผน /กิจกรรม /โครงการในการอนุรักษ์พลังงาน รณรงค์การใช้พลังงานอย่างประหยัด อาหารปลอดสารพิษ (N : Nutrition) ๑๕. มีกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน ชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษ การบริโภคอาหารพื้นถิ่น ภายในชุมชน ๑๖. มีการผลิตปุ฻ยอินทรีย์ ภายในชุมชนแทนการใช้ปุ฻ยเคมี ลดก๊าซไนตรัสออกไซด์ ๑๗. มีการจัดทาร้านค้าแผงลอยสีเขียว - ตลาดนัดสีเขียวลด โลกร้อนภายในชุมชน อย่างน้อย ๑ แห่ง องค์ประกอบด้านสุขภาพ Health บ้านสุขภาพดี (H : Healthy Home) ๑๘. มีหมู่บ้านตัวอย่าง ดาเนินกิจกรรมบ้านสะอาด หน้า บ้าน น่ามอง ในบ้านน่าอยู่ ตามหลักของ Green และ สุขาภิบาลครัวเรือน ๑๙. มีกิจกรรมการประกวดตามโครงการบ้านสะอาด สุขภาพดี ด้วยหลักการของ Green ๒๐. มีการปลูกผักปลอดสารพิษ “หลุมพอเพียง” “แปลงผัก พอกิน” ประจาครัวเรือน

ผลประเมิน  มี  ไม่มี

เอกสาร หลักฐาน

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 99


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (ต่อ) เกณฑ์มาตรฐาน Green Health Community ออกกาลังกาย และกิจกรรมสุขภาพ (E & A : Exercise and Activities)

ผลประเมิน

เอกสาร หลักฐาน

๒๑. มีมาตรการ / โครงการส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชน  มี  ไม่มี เป็น “ชุมชนไร้พุง ปลอดคนอ้วน” ๒๒. มีชมรมด้านสุขภาพ ทีส่ อดแทรกวัฒนธรรมชุมชนในการ  มี  ไม่มี ส่งเสริมการออกกาลังกาย และพื้นที่ในออกกาลังกายในชุมชน เช่น ชมรมจักรยาน ฯลฯ ๒๓. มีกิจกรรมส่งเสริมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ “ปลอดโรค  มี  ไม่มี ปลอดภัย อนามัยสิ่งแวดล้อมดี”

ศูนย์เรียนรู้ (L = Learning Center) ๒๔. มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม และ สุขภาพภายในชุมชน (แบบทางการ/ไม่เป็นทางการ) ๒๕. มีศูนย์เรียนรู้ต้นแบบชุมชนไร้พงุ ลดหวาน มันเค็ม ประจาชุมชน (แบบทางการ/ไม่เป็นทางการ) ๒๖. มีการดาเนินงานพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพื่อเป็น ศูนย์เรียนรู้สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

วัดส่งเสริมสุขภาพ (T = Temple promotion) ๒๗. มีการดาเนินกิจกรรมวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค ตาม เกณฑ์ ๕ ร. อย่างน้อยตาบลละ ๒ วัด ๒๘. มีการดาเนินกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่ม ผู้สูงอายุ ๘๐ ยังแจ๋ว “ช่วยตนเอง ช่วยสังคม”

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

ชุมชนความสุข (H = Happiness Community) ๒๙. มีการดาเนินกิจกรรมครอบครัวอบอุ่น สายใยรักแห่ง ครอบครัว ๓๐. มีแผนงาน /กิจกรรม/โครงการ พัฒนาทักษะชีวิตวัยรุ่น วัยใส ลดพฤติกรรมเสี่ยง ๓๑. มีแผนงาน /กิจกรรม /โครงการที่ส่งเสริมความมีชีวิต ชีวา ทีส่ ่งเสริมสุขภาพของชุมชน ๓๒. มีการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมสุขภาพ ประเพณี ในการดาเนินกิจกรรมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ เพื่อส่งเสริมความสุขของชุมชน

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 100


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบรายงานปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาล………………………………..จังหวัด กาฬสินธุ์ ขนาด……………………เตียง ที่อยู่ เลขที่ ………….หมู่ที่………ตาบล…………………..อาเภอ………………….โทร………………… ประจาเดือน  ต.ค – ม.ค. ๕๖  ก.พ – พ.ค. ๕๖  มิ.ย – ก.ย.๕๖ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เดือน

ปริมาณ มูลฝอยติดเชื้อ

ชื่อบริษัทเก็บขน

สถานที่กาจัด

หมายเหตุ

ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน รวม ชื่อผู้รายงาน ………………………………………… ตาแหน่ง ……………………………………………. เบอร์มือถือ …………………………………………… หมายเหตุ : กาหนดการรายงานผลการดาเนินงานแต่ละอาเภอ ส่งให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ปี ละ ๓ ครั้ง เดือน มกราคม / พฤษภาคม / กันยายน ๒๕๕๖ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ โทร : 043 811168 โทรสาร : 043 811168

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 101


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบรายงานผลการดาเนินงานพัฒนาส้วมสาธารณะไทย และสถานบริการสาธารณสุขลดโลกร้อน ประจาเดือน  ต.ค - ม.ค. ๕๖  ก.พ - พ.ค. ๕๖  มิ.ย - ก.ย.๕๖ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ อาเภอ …………………………………………………………. จังหวัดกาฬสินธุ์ ส้วมสาธารณะแยกรายการ Setting หน่วยนับ จานวน ๑. ส้วมสาธารณะในแหล่งท่องเที่ยว - จานวนแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด แห่ง - จานวนแหล่งท่องเที่ยวที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๒. ส้วมสาธารณะในสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง - จานวนสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงทั้งหมด แห่ง -จานวนสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๓.ส้วมสาธารณะในร้านอาหารที่ได้มาตรฐาน CFGT -จานวนร้านอาหารที่ได้มาตรฐาน CFGT ทั้งหมด แห่ง -จานวนร้านอาหารที่ได้มาตรบาน CFGT ที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๔. ส้วมสาธารณะในตลาดสดน่าซื้อ -จานวนตลาดสดน่าซื้อ ทั้งหมด แห่ง -จานวนตลาดสดน่าซื้อ ที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๕. ส้วมสาธารณะในโรงเรียน -จานวนโรงเรียนทั้งหมด แห่ง -จานวนโรงเรียนที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๖. ส้วมสาธารณะในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล - จานวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทั้งหมด แห่ง - จานวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๗. ส้วมสาธารณะในสถานที่ราชการ (ที่ว่าการอาเภอ เทศบาล ฯลฯ) - จานวนสถานที่ราชการทั้งหมด แห่ง - จานวนสถานีขนส่งที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๙. ส้วมสาธารณะในสวนสาธารณะน่ารื่นรมย์ - จานวนสวนสาธารณะทั้งหมด แห่ง - จานวนสวนสาธารณะที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๑๐. ส้วมสาธารณะในศาสนสถาน (วัด, วัดส่งเสริมสุขภาพ ฯลฯ ) - จานวนศาสนาสถานทั้งหมด แห่ง - จานวนศาสนสถาน ที่มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน แห่ง ๑๑. ส้วมในห้างสรรพสินค้า / ศูนย์การค้า / ดิสเคาสโตร์ - จานวนส้วม ห้างสรรพสินค้า / ศูนย์การค้าทั้งหมด แห่ง - จานวนส้วม ห้างสรรพสินค้า /ศูนย์การค้า ที่ได้มาตรฐาน แห่ง ๑๒. ส้วมสาธารณะในพื้นที่สาธารณะอื่น ๆ (ส้วมริมทาง) - จานวนส้วมริมทาง ทั้งหมด แห่ง

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 102


Health Promotion : Kalasin Public Health Office แบบรายงานผลการดาเนินงานพัฒนาส้วมสาธารณะไทย (ต่อ) ส้วมสาธารณะแยกรายการ Setting - จานวนส้วมริมทาง ที่ได้มาตรฐาน ๑๓. สถานบริการสาธารณสุขที่ดาเนินกิจกรรมสาธารณสุขลดโลกร้อน Green&Clean - จานวนสถานบริการสาธารณสุขที่ดาเนินกิจกรรมร่วมโครงการ ทั้งหมด - จานวนสถานบริการสาธารณสุขที่ดาเนินกิจกรรม ผ่านมาตรฐาน Green&Clean

หน่วยนับ แห่ง

จานวน

หมายเหตุ : กาหนดการรายงานผลการดาเนินงานแต่ละอาเภอ ส่งให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ปี ละ ๓ ครั้ง เดือน มกราคม / พฤษภาคม / กันยายน ๒๕๕๖ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ โทร : 043 811168 โทรสาร : 043 811168

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 103


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินโรงพยาบาลสีเขียว จังหวัดกาฬสินธุ์ Green Hospital Criteria : GHC สาหรับประเมินผลโครงการ : การสร้างเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน หน่วยงาน ……………………………………………. อาเภอ ………………………………….. สาหรับ : โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลชุมชน และประยุกต์ใน รพ.สต. ตารางที่ 1 น้าหนักความสาคัญขององค์ประกอบการประเมินโรงพยาบาลสีเขียว (Green Hospital Criteria : GHC) องค์ประกอบการประเมิน 1. นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม (Policy) 2. พลังงาน (Energy) 3. บริหารจัดการน้า (Water Management) 4. สุขาภิบาล อาชีวอนามัย และความปลอดภัย (Sanitation Occupational and safety) 5. การประยุกต์นวัตกรรมสิ่งแวดล้อม (Environment Innovation) 6. ภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อม (Environment Landscape) 7. วัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม และกระบวนการเรียนรู้ (Environment Culture) 8. การประเมินผลสิ่งแวดล้อม (Environment Evaluate) รวม

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

น้าหนักองค์ประกอบ (คะแนน) 10 15 15 15 15 10 10 10 100

หน้า 104


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินโรงพยาบาลสีเขียว จังหวัดกาฬสินธุ์ Green Hospital Criteria : GHC สาหรับ : โรงพยาบาลจังหวัด และโรงพยาบาลชุมชน และประยุกต์ใน รพ.สต. 1. องค์ประกอบด้านนโยบาย (Policy) น้าหนัก 10 คะแนน เกณฑ์ประเมิน

ประเมิน มี ไม่มี

1. นโยบาย (Policy) 1.1 นโยบายสิ่งแวดล้อม, อนามัยสิ่งแวดล้อม (Environment ; Sanitation Policy) 1) มีการกาหนดนโยบาย/วิสัยทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม,อนามัยสิ่งแวดล้อมในองค์กร (2) 2) ผู้บริหารมีการสนับสนุนนโยบายสิ่งแวดล้อม, อนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน (1) 3) มีการเขียนนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษร ลงนามโดยผู้บริหารองค์กร (1) 4) มีการสื่อสารนโยบายให้บุคลากรใน รพ. ทราบทั้งองค์กร (1) 1.2 ยุทธศาสตร์ และแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม (Environment Strategy and Plan) 1) มียุทธศาสตร์กาหนดทิศทางพัฒนางานสิ่งแวดล้อม, อนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กร (1) 2) มีแผนงานหลัก และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนครอบคลุมการดาเนินงาน สิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อมในองค์กร (2) 3) มีกระบวนการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจ ขอบเขตความรับผิดชอบ ตามแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับในองค์กร (1) 4) มีกระบวนการทบทวนแผนปฏิบัติงานสิ่งแวดล้อม/อนามัยสิ่งแวดล้อมในองค์กร (1) 2. องค์ประกอบด้านการจัดการพลังงาน (Energy Management) น้าหนัก 15 คะแนน เกณฑ์ประเมิน

ประเมิน มี ไม่มี

1. การจัดการพลังงาน (Energy Management) 1.1 มีข้อมูลแสดงผลการวิเคราะห์การใช้พลังงานไฟฟูา น้ามันเชื้อเพลิงเปรียบเทียบ ข้อมูลย้อนหลัง อย่างน้อย ๓ ปี (3) 1.2 มีแผนปฏิบัติการที่แสดงถึง กิจกรรมอนุรักษ์พลังงานในองค์กร (2) 1.3 มีการติดตั้งมิเตอร์ไฟฟูาแยกรายตึก หรือตามหน่วยงานเพื่อวิเคราะห์แนวโน้ม การใช้พลังงานไฟฟูาในองค์กร (2) 1.4 มีอัตราค่าใช้ไฟฟูารายเดือน และปริมาณการใช้ไฟฟูาโดยเฉลี่ยลดลงเมื่อเปรียบเทียบ ก่อนดาเนินโครงการด้านสิ่งแวดล้อม หรือก่อนกาหนดนโยบาย (2) 1.5 ปริมาณการใช้น้ามันโดยเฉลี่ยลดลงเมื่อเปรียบเทียบก่อนดาเนินโครงการด้าน สิ่งแวดล้อม หรือก่อนกาหนดนโยบายในองค์กร (2)

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 105


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 2. องค์ประกอบด้านการจัดการพลังงาน (Energy Management) น้าหนัก 15 คะแนน (ต่อ) เกณฑ์ประเมิน

ประเมิน มี ไม่มี

1.6 มีการอบรม (Training) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการประหยัดพลังงานไฟฟูา และพลังงานเชื้อเพลิง (2) 1.7 มีกิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างพฤติกรรมประหยัด พลังงาน ในองค์กร เช่น ประกวดวาดภาพ ปูายประชาสัมพันธ์ คาขวัญ เป็นต้น (2) 3. องค์ประกอบด้านบริหารจัดการน้า (Water Management) น้าหนัก 15 คะแนน เกณฑ์ประเมิน

ประเมิน มี ไม่มี

1. บริหารจัดการน้า (Water Management) 1.1 มีข้อมูลแสดงผลการวิเคราะห์ปริมาณการใช้น้า กับค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบข้อมูล ย้อนหลัง อย่างน้อย ๓ ปี (2) 1.2 มีแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนที่แสดงถึงการดาเนินกิจกรรมประหยัดน้า (2) 1.3 มีการแยกมิเตอร์การใช้น้าภายในตึก/หน่วยงาน และแสดงผลการใช้ปริมาณน้า (2) 1.4 อัตราค่าน้ารายเดือน และปริมาณการใช้น้าโดยเฉลี่ยลดลงเมื่อเปรียบเทียบก่อน ดาเนินโครงการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น โครงการสาธารณสุขลดโลกร้อน โครงการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม โครงการรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เป็นต้น (3) 1.5 มีการนาน้าที่ใช้แล้ว กลับมาใช้ประโยชน์ในองค์กร (2) 1.6 มีการอบรม (Training) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการประหยัดน้า (2) 1.7 มีกิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างพฤติกรรมประหยัดน้าในองค์กร เช่น ประกวดวาดภาพ ปูายประชาสัมพันธ์ คาขวัญ เป็นต้น (2) 4. องค์ประกอบด้านสุขาภิบาล อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Sanitation Occupational and safety) น้าหนัก 15 คะแนน ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี 1. สุขาภิบาล และอาชีวอนามัย (Sanitation and Occupational) 1.1 การจัดการขยะมูลฝอย (Solid Waste Management) 5 คะแนน 1) มีผู้รับผิดชอบดูแล และมีระบบการจัดการขยะในองค์กร ทั้งขยะติดเชื้อ ขยะทั่วไป ขยะอันตราย (Hazardous Waste) และขยะรีไซเคิล (1) 2) มีข้อมูลแสดงแนวโน้มปริมาณ และประเภทของขยะในองค์กร (0.5) 3) มีแผนงาน โครงการในการแก้ไขป๎ญหา และลดขยะภายในองค์กร (0.5) 4) มีกิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างพฤติกรรม และจิตสานึก

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 106


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 5. องค์ประกอบด้านสุขาภิบาล อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ) น้าหนัก 15 คะแนน ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี การคัดแยกขยะ การลดปริมาณขยะในองค์กร (0.5) 5) มีมาตรการ ข้อตกลงร่วมกันในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลด ปริมาณขยะ เช่น กระดาษ 2 หน้า นาวัสดุเหลือทิ้งใช้กลับมาใช้ใหม่ (0.5) 6) มีการนาขยะอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ในองค์กร (0.5) 7) มีธนาคารขยะรีไซเคิลเพื่อบริหารจัดการขยะในองค์กร (1) 8) มีระบบตรวจสอบมาตรฐานการจัดการขยะติดเชื้อของบริษัทเอกชน ระหว่างต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และชุมชน (0.5) 1.2 ส้วม (Restroom) 4 คะแนน 1) มีผลการประเมินส้วมสาธารณะตามเกณฑ์มาตรฐาน HAS กรมอนามัย (1) 2) มีการพัฒนาส้วมที่เชื่อมโยงกับการอนุรักษ์พลังงาน น้า และลดสารเคมี เช่น การใช้แสงสว่างจากธรรมชาติ การประหยัดน้าของระบบชักโครก เป็นต้น (0.5) 3) มีการจัดภูมิทัศน์ด้านหน้าห้องส้วม และภายในห้องน้าสะอาด น่าใช้ ไม่มีกลิ่น (1) 4) มีเอกสาร แสดงถึงการควบคุมกากับ ดูแลห้องส้วมให้สะอาด น่าใช้ และสอดแทรก ความรู้ ด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม (0.5) 5) มีการลดการใช้สารเคมีในการทาความสะอาดห้องส้วมด้วยผลิตภัณฑ์ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (0.5) 6) มีการนาของเสียมาใช้ประโยชน์อย่างถูกหลักสุขาภิบาล เช่น อุจจาระ ป๎สสาวะ (0.5) 1.3 ระบบบาบัดน้าเสีย 2 คะแนน 1) มีหลักฐานแสดงผลการตรวจสอบคุณภาพน้าทิ้งผ่านมาตรฐานทุกพารามิเตอร์ (1) 2) มีการจัดสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์บริเวณรอบบ่อบาบัดน้าเสียให้น่าอยู่ น่าทางาน (1) 1.4 โรงครัว 2 คะแนน 1) มีผลการประเมินมาตรฐานโรงครัว ตามเกณฑ์กรมอนามัย (1) 2) โรงครัว สะอาด 5 ส. เป็นระเบียบ ปลอดภัย เน้นอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพลังงาน (1) 1.5 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational and safety) 2 คะแนน 1) มีผลการประเมินสิ่งคุกคามทางสุขภาพ (กายภาพ เคมี ชีวภาพ การยศาสตร์ จิตวิทยาสังคม) และการแก้ไข ในองค์กร (1) 2) มีเอกสารตรวจสอบเครื่องจักร/อุปกรณ์/เครื่องใช้ และการบารุงรักษาให้อยู่ในสภาพดี และเอกสารด้านความปลอดภัยของสารเคมี (MSDS) (0.5) 3) มีการจัดสภาพการทางานที่ปลอดภัย เช่น ความเป็นระเบียบของสายไฟ เป็นต้น (0.5)

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 107


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 6. องค์ประกอบด้านประยุกต์นวัตกรรมสิ่งแวดล้อม (Innovation Environment) น้าหนัก 10 คะแนน ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี 6.1 การประยุกต์นวัตกรรมสิ่งแวดล้อม (Innovation Environment) 10 คะแนน 1) มีการประยุกต์ จัดทานวัตกรรมที่ส่งเสริมสิ่งแวดล้อม และการสร้างสุขภาพ ที่แสดงถึง การนาทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) (4) 2) มีการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมสิ่งแวดล้อม (Utilization Guidelines) (3) 3) มีโอกาสพัฒนานวัตกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขภาพ สู่มาตรฐาน และขยายผลได้ (3) 7. องค์ประกอบด้านภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อม (Environment Landscape) น้าหนัก 10 คะแนน ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี 7. ภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อม (Environment Landscape) 10 คะแนน 7.1 พื้นที่บริเวณ (3 คะแนน) 1) ด้านหน้าขององค์กร มีความสะอาด เป็นระเบียบ ได้รับการดูแล (1) 2) ถนน ทางเดินภายนอกอาคาร และภายใน สะอาดเรียบร้อย ไม่เศษมีขยะมูลฝอย (1) 3) มีการกาหนดขอบเขต แผนด้านการดูแลความสะอาดของพื้นที่บริเวณ (1) 7.2 การจัดภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อม ( 7 คะแนน) 1) รพ. มีพื้นที่สีเขียว ต้นไม้ยืนต้น ร่มรื่น สวยงาม (2) 2) มีแผนงาน โครงการในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใน รพ. เช่น โครงการจัดตั้งธนาคารพันธุ์ ไม้ โครงการอนุรักษ์ทรัพยากร และเพิ่มพื้นที่สีเขียว เป็นต้น (2) 3) รพ. มีการจัดภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้บุคลากร และผู้มารับบริการ (1) 4) นาแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดภูมิทัศน์ สิ่งแวดล้อม ใน รพ. ที่เน้นเกิดประโยชน์ เช่น ปลูกแปลงผักเพิ่มพื้นที่สีเขียวในโรงพยาบาล สวนผัก ประจาหน่วยงาน เป็นต้น (2) 8. องค์ประกอบด้านวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม และกระบวนการเรียนรู้ (Environment Culture) น้าหนัก 10 คะแนน ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี 8. วัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม และกระบวนการเรียนรู้ (Environment Culture) 10 คะแนน 1) มีวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมที่แสดงออกร่วมกันในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การเปิด ปิด แอร์ เครื่องใช้ไฟฟูา ในเวลาที่กาหนด, การจัดประชุมไม่ใช้ กล่องโฟม การทาบุญใน รพ. ด้วยการปลูกต้นไม้ประจาวันเกิด เป็นต้น (3) 2) มีกระบวนการส่งเสริมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อมของบุคลากร

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 108


Health Promotion : Kalasin Public Health Office 8. องค์ประกอบด้านวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม และกระบวนการเรียนรู้ (Environment Culture) น้าหนัก 10 คะแนน (ต่อ) ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี และ อสม. เช่น ฝึกอบรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งแวดล้อม เป็นต้น (2) 3) มีคู่มือ หลักสูตรฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อมใน รพ. (1) 4) มีแกนนาสิ่งแวดล้อม หรือแกนนาเยาวชน ในการสร้างกิจกรรมสิ่งแวดล้อม (1) 5) มีการจัดทาฐานเรียนรู้สิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อมใน รพ. เพื่อพัฒนาความรู้ บุคลากร ผู้รับบริการ และผู้ศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายนอก (3) 9. องค์ประกอบด้านการประเมินผลสิ่งแวดล้อม (Environment Evaluate) น้าหนัก 10 คะแนน ประเมิน เกณฑ์ประเมิน มี ไม่มี 9. การประเมินผลสิ่งแวดล้อม (Environment Evaluate) 10 คะแนน 1) มีการประเมินผลสาเร็จการดาเนินกิจกรรมตามนโยบาย และแผน (3) 2) มีคณะกรรมการประเมินผลสิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อมใน รพ. (1) 3) มีการใช้โปรแกรมการประเมินผลด้านสิ่งแวดล้อมมาใช้ในองค์กร เช่น โปรแกรม Carbon Footprint, ซอฟแวร์การจัดการและคานวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากขยะ ชุมชน เป็นต้น (3) 4) มีผลการประเมินด้วยโปรแกรมที่แสดงถึงแนวโน้มการลดการปล่อย Co2 (3) สรุปผลการประเมิน และข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …………………………………………………………. (…………………………………………………………) (คณะกรรมการผู้ประเมิน) วันที่……………………………………………………

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 109


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (Green - Health Community : GHCO) เกณฑ์มาตรฐาน Green Health Community องค์ประกอบที่ ๑ ด้านชุมชนสีเขียว (Green) การจัดการขยะ (G : Garbage) ๑. มีมาตรการ / โครงการ / กิจกรรม ในการจัดการขยะ ทุกประเภท เพื่อลดปริมาณขยะทุก ประเภทให้เป็นศูนย์ (Zero waste) ๒. มีการคัดแยกขยะของชุมชน ธนาคารขยะประจา ชุมชน และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการใช้ประโยชน์จากขยะ ๓. มีการใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น ทาปุ฻ยน้า ทาปุ฻ยหมัก เลี้ยงไส้เดือน ฯลฯ การพัฒนาห้องส้วม (R = Restroom) ๔. มีการพัฒนาส้วมสาธารณะ 12 ประเภท ในชุมชน ตามมาตรฐาน HAS ๕. มีการส่งเสริม สนับสนุน ดาเนินการ “ส้วมกตัญํู” ส้วมชักโครกสาหรับผู้สูงวัยในชุมชน การดูแลสิ่งแวดล้อม (E : Environment) ๖. มีการดาเนินกิจกรรมให้มีพื้นที่สีเขียว และส่งเสริมการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดทาธนาคารพันธุ์ไม้ ธนาคารสมุนไพรภายใน ชุมชน บวชปุาชุมชน เป็นต้น ๗. มีการกาหนดเส้นทาง “ถนนสีเขียวส่งเสริมสุขภาพ : Green Road” ในชุมชนอย่างน้อย ๑ เส้นทาง องค์ประกอบด้านชุมชนสีเขียว (Green) ๘. มีการจัดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น อบรมแกนนา สิ่งแวดล้อม รณรงค์วันสิ่งแวดล้อม ๙. มีมาตรการ แผนงาน โครงการในการจัดการน้าเสียของ ชุมชนอย่างถูกหลักสุขาภิบาล

ผลประเมิน

เอกสาร หลักฐาน

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 110


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (ต่อ) เกณฑ์มาตรฐาน Green Health Community องค์ประกอบด้านชุมชนสีเขียว (Green) ๑๐. มีโครงการ กิจกรรมสร้างจิตสานึกให้เยาวชน ประชาชน มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม ๑๑. มีการเฝูาระวัง และตรวจสอบคุณภาพน้าประปา และมี คลอรีนตกค้างตามมาตรฐาน ๑๒. มีการจัดทานวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพใน ชุมชน เช่น จักรยานป๎่นน้ารดต้นไม้ ฯลฯ พลังงาน (E : Energy) ๑๓. มีการใช้พลังงานทดแทนจากปุ฻ยชีวภาพ, ชีวมวล ผลิต Biogas จากมูลสัตว์ ขยะ เป็นต้น ๑๔. มีแผน /กิจกรรม /โครงการในการอนุรักษ์พลังงาน รณรงค์การใช้พลังงานอย่างประหยัด อาหารปลอดสารพิษ (N : Nutrition) ๑๕. มีกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน ชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษ การบริโภคอาหารพื้นถิ่น ภายในชุมชน ๑๖. มีการผลิตปุ฻ยอินทรีย์ ภายในชุมชนแทนการใช้ปุ฻ยเคมี ลดก๊าซไนตรัสออกไซด์ ๑๗. มีการจัดทาร้านค้าแผงลอยสีเขียว - ตลาดนัดสีเขียวลด โลกร้อนภายในชุมชน อย่างน้อย ๑ แห่ง

ผลประเมิน

เอกสาร หลักฐาน

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

องค์ประกอบด้านสุขภาพ Health บ้านสุขภาพดี (H : Healthy Home) ๑๘. มีหมู่บ้านตัวอย่าง ดาเนินกิจกรรมบ้านสะอาด หน้า บ้าน น่ามอง ในบ้านน่าอยู่ ตามหลักของ Green และ สุขาภิบาลครัวเรือน ๑๙. มีกิจกรรมการประกวดตามโครงการบ้านสะอาด สุขภาพดี ด้วยหลักการของ Green ๒๐. มีการปลูกผักปลอดสารพิษ “หลุมพอเพียง” “แปลงผักพอกิน” ประจาครัวเรือน

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 111


Health Promotion : Kalasin Public Health Office เกณฑ์ประเมินชุมชนสีเขียว ระบบนิเวศน์ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ (ต่อ) เกณฑ์มาตรฐาน Green Health Community ออกกาลังกาย และกิจกรรมสุขภาพ (E & A : Exercise and Activities) ๒๑. มีมาตรการ / โครงการส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชน เป็น “ชุมชนไร้พุง ปลอดคนอ้วน” ๒๒. มีชมรมด้านสุขภาพ ที่สอดแทรกวัฒนธรรมชุมชนในการส่งเสริม การออกกาลังกาย และพื้นที่ในออกกาลังกายในชุมชน เช่น ชมรม จักรยาน ฯลฯ ๒๓. มีกิจกรรมส่งเสริมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ “ปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยสิ่งแวดล้อมดี” ศูนย์เรียนรู้ (L = Learning Center) ๒๔. มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ ภายในชุมชน (แบบทางการ/ไม่เป็นทางการ) ๒๕. มีศูนย์เรียนรู้ต้นแบบชุมชนไร้พุง ลดหวาน มันเค็ม ประจาชุมชน (แบบทางการ/ไม่เป็นทางการ) ๒๖. มีการดาเนินงานพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพื่อ เป็นศูนย์เรียนรู้สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม วัดส่งเสริมสุขภาพ (T = Temple promotion) ๒๗. มีการดาเนินกิจกรรมวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค ตามเกณฑ์ ๕ ร. อย่างน้อยตาบลละ ๒ วัด ๒๘. มีการดาเนินกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ๘๐ ยังแจ๋ว “ช่วยตนเอง ช่วยสังคม” ชุมชนความสุข (H = Happiness Community) ๒๙. มีการดาเนินกิจกรรมครอบครัวอบอุ่น สายใยรักแห่งครอบครัว ๓๐. มีแผนงาน /กิจกรรม/โครงการ พัฒนาทักษะชีวิตวัยรุ่น วัยใส ลดพฤติกรรมเสี่ยง ๓๑. มีแผนงาน /กิจกรรม /โครงการที่ส่งเสริมความมีชีวิต ชีวา ที่ ส่งเสริมสุขภาพของชุมชน ๓๒. มีการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมสุขภาพ ประเพณี ในการดาเนินกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ เพื่อส่งเสริมความสุขของชุมชน

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

ผลประเมิน

เอกสาร หลักฐาน

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

 มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี  มี  ไม่มี

หน้า 112


Health Promotion : Kalasin Public Health Office

กลุ่มงานสร้างเสริมสุขภาพ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

หน้า 113


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.