Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015

Page 1



Contents

Forum Schedule 1 Forum Objecttive 15 Message from Chiamg Mai Provincial Admin Organization

21

Mr. Doyo speech 25 Context and Objective of the Forum

31

Message from Chiang Mai Governor

35

UNESCO Creative City : Crafts and Folk Art

Ms. Vanessa Achilles, Cultural Unit, UNESCO Bangkok

37

What It takes and What It Means to Become a UNESCO

Creative City - Jingdezhen, People’s Republic of China

53

เมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO คืออะไร ต้ องท�ำอย่างไรจึงได้ เป็ น Pekalongan เมืองสร้ างสรรค์สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน 59 Creative Networking and Cooperation Alice Ru-Hwa Chiu Secretary General, Institute for Historical Resources Management

Republic of China, Taiwan 73

‘Towards recovering a heritage of self-reliance through craft: from India’ Dr. Aarti Kawlra Affiliate Fellow, IIAS Leiden, The Netherlands Former Fellow, Nehru Memorial Museum & Library,

New Delhi India 89



Bandung as a Creative Entrepreneur Lab

Mr. Deden Hendan Durahman Visual Art Study Program

Faculty of Art & Design – Bandung Institute of Technology

95

Thailand’s Creative City Initiatives Chiang Mai, Sukhothai and Phuket Savitri Suwansathit Advisor to the Ministry of Culture In consultation with the Creative City Teams of Chiang Mai, Sukhothai and Phuket 98 The Transformation and New Value of Taiwan Indigo Dr .Wan-Lee Chen Professor, Department of Theatrical Design and Technology Taipei National University of the Arts, Taipei

109

Promoting Cultural Diversity through Crafts and Communities Mr. Khamchanh Souvannalith Collections Manager and Outreach and Education Manager

Traditional Arts and Ethnology Centre, Lao PDR 123

Promoting Lacquerware of MyanmarEver Stand Lacquerware Workshop, Bagan Ms.Malar Win Maung Mr Mr Nanda Win Maung Everstand Lacquerware Workshop Bagan

Republic of the Union of Myanmar 127

Community Learning Centre: A Contribution to Crafts and Folk Arts Sustainable Development Seng Sary Meanchey University, Banteaymeanchey Province, Cambodia 129



Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 by Chiang Mai Creative City of Crafts and Folk Art Initiative Nov 19 - 22, 2015 Venue : Chiang Mai Unoversity Art Center

Friday - Nov 20, 2015

8.00 - 9.00

Delegates registration

9.00 - 10.30

Opening Ceremony

Welcome: Mr Boonlert Buranupakorn Chief Executive of Chiang Mai Administrative Organization Mr Doyo Budiwibowo Representative Mayor of UNESCO Creative City Pekalongan, Republic of Indonesia Context and objectives of the forum: Assoc Prof Dr Woralun Boonyasurat Chiang Mai Creative City of Crafts and Folk Art Initiatives Team Leader Professor Niwes Nantachit President of Chiang Mai University Opening remarks: UNESCO Creative City: Crafts and Folk Art Ms. Vanessa Achilles Cultural Unit, UNESCO Bangkok 10.30- 10.45 Coffee break


2

10.45 - 12.00 (20 mins with 10 mins summary in Thai each, 10 mins Q&A/discussion) moderator: Prachya Compiranont, Chalapinya Triwit

• What It takes and What It Means to Become a UNESCO Creative City - Jingdezhen, People’s Republic of China Mrs Ni Shu and Miss Yuzhou Zha

12.00 - 13.00

• What It takes and What It Means to Become a UNESCO Creative City - Pekalongan, Republic of Indonesia Mr Gaura Mancacaritadipura Lunch break

13.00 - 14.30 Sharing Experiences from Best Practices 1: Republic of China, Taiwan; Republic of India and Republic of Indonesia (20 mins with 10 mins summary in Thai, 5 mins Q&A/discussion) moderator: Prachya Compiranont, Chalapinya Triwit


3

• Creative Networking and Cooperation Ms. Alice Ru Hwa Chiu Secretary General, Institute for Historical Resources Management, Taipei Republic of China, Taiwan • Towards Recovering a Heritage of Self Reliance through Craft: from Republic of India Dr Aarti Kawlra Affiliate Fellow, IIAS Leiden, The Netherlands Former Fellow, Nehru Memorial Museum & Library, New Delhi Republic of India • Bandung as Creative Entrepreneur Lab Mr. Deden Hendan Durahman Lecturer Institut Teknologi Bandung Republic of Indonesia 14.30 -14.45

Coffee break

14.45 - 16.00 Panel 1 - UNESCO Creative Cities Network and Thailand’s Perspective, Crafts in Thailand and Crafts and Folk Art in Lanna (20 mins with 5 mins summary in Thai, 5 mins Q&A/discussion) moderator: Thatchatham Silsupan, Meviga Han-gla • UNESCO Creative Cities Network and Thailand’s Perspective


4

Mrs Savitri Suwansathit Advisor to the Minister of Culture Former Secretary General of Thai National Commission for UNESCO • Creative Crafts In Thailand Ms Panjit Pitsawong Deputy Chief Executive Officer The Support Arts and Crafts International of Thailand (SACICT) • Crafts and Folk Art in Lanna Prof. Vithi Phanichphant Chiang Mai Creative City Initiative advisor Lanna art and culture scholar 16.00 - 17.00 Hands-on craft making 17.30 18.30

Crafts and Folk Art International Exhibition Opening Cultural Dinner (Lanna style at venue)


5

Saturday - Nov 21, 2015 9.00 - 10.30 Sharing Experiences from Best Practices 2: Republic of China, Taiwan; Lao PDR and Republic of the Union of Myanmar (20 mins with 10 mins summary in Thai, 5 mins Q&A/discussion) moderator: Prachya Compiranont, Chalapinya Triwit • The Transformation and New Value of Taiwan Indigo Dr Wan Lee Chen Department of Theatrical Design and Technology Taipei National University of the Arts, Taipei, Republic of China, Taiwan • Promoting Cultural Diversity through Crafts and Communities Mr Khamchanh Souvannalith Collections Manager and Outreach and Education Manager The Traditional Arts and Ethnology Centre (TAEC) Luang Prabang, Lao People’s Democratic Republic • Promoting Lacquerware of Myanmar Mr Nanda Win Maung - Ms Marlar Win Maung Everstand Lacquerware Workshop Bagan Republic of the Union of Myanmar 10.30 - 10.45

Coffee break


6

10.45 - 12.00 Sharing Experiences from Best Practices 3: Kingdom of Cambodia, Thailand (20 mins with10 mins summary in Thai, 10 mins Q&A/discussion) moderator: Thatchatham Silsupan, Meviga Han-gla • Community Learning Centre: A Contribution to Crafts and Folk Arts Sustainable Development Mr Sary Seng Meanchey University Kingdom of Cambodia • Lanna Collection Ms Piyachat Kriwanit Burton Division Director National Science and Technology Development Agency, Northern Network 12.00 - 13.00 Lunch break 13.00 - 14.30 Discussion/Summary of the Forum (all participants) moderator: Assoc Prof Dr Woralun Boonyasurat, Klos Boonthawee Prachya Compiranont, Chalapinya Triwit 14.45 18.00

Craft community temple visit - Sri Suphan Community Temple [Puak Taem Community Temple - if time allowed] Cultural Dinner (Wat Ton Kwain)


7

Sunday - Nov 22, 2015 8.30 - 13.30 [Optional] Pa Bong Bamboo Weaving Community San Kamphaeng: Bor Sang Umbrella Center, Prempracha 12.15

Lunch break

Delegates depart Please note that the schedule is subject to change.

Interpretation summary in Thai: Klos Boonthawee


8

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 โดย โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การยูเนสโก 19 - 22 พฤศจิกายน 2558 ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรมเชียงใหม่

วันศุกร์ ที่ 20 พฤศจิกายน 2558

8.00 - 9.00

ลงทะเบียน

9.00 - 10.30

พิธีเปิ ดการสัมมนา

กล่าวต้ อนรับ: นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์

นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

Mr Doyo Budiwibowo

ตัวแทนนายกเทศมนตรี เมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO Pekalongan, สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

บริ บทและวัตถุประสงค์ของการสัมมนา: รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ หัวหน้ าโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์

ศาสตราจารณ์ นพ.นิเวศน์ นันทจิต

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นายปวิน ชํานิประศาสน์

ผู้วา่ ราชการเชียงใหม่


9

ข้ อคิดในวาระการเปิ ดสัมมนา:

10.30- 10.45

เมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO: สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน Ms. Vanessa Achilles

ฝ่ ายวัฒนธรรม UNESCO กรุงเทพฯ พัก

10.45 - 12.00

(บรรยายหัวข้ อละ 20 นาที แปลสรุปภาษาไทย 10 นาที ตอบค�ำถาม และอภิปราย 10 นาที) moderator: ปรัชญา คัมภิรานนท์, ฉฬภิญญา ตรี วิทย์

เมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO คืออะไร ต้ องท�ำอย่างไรจึงได้ เป็ น - Jingdezhen, สาธารณรัฐประชาชนจีน

Mrs Ni Shu and Miss Yuzhou Zha

เมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO คืออะไร ต้ องท�ำอย่างไรจึงได้ เป็ น - Pekalongan, •

Republic of Indonesia Mr Gaura Mancacaritadipura 12.00 - 13.00 13.00 - 14.30

พักอาหารกลางวัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยผู้มีวิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศ ภาคหนึง่ : สาธารณรัฐจีน (ไต้ หวัน) สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

(บรรยาย 20 นาที แปลสรุปภาษาไทย 10 นาที ตอบค�ำถามและอภิปราย 5 นาที) moderator: ปรัชญา คัมภิรานนท์, ฉฬภิญญา ตรี วิทย์


10

• เครื อข่ายสร้ างสรรค์กบั ความร่วมมือ Ms. Alice Ru Hwa Chiu ประธานสถาบันเพื่อบริ หารจัดการทรัพยากร

ประวัตศิ าสตรไทเป สาธารณรัฐจีน (ไต้ หวัน)

หัตถกรรมเพื่อฟื น้ ฟูมรดกการพึง่ พาตนเอง ตัวอย่างจาก สาธารณรัฐอินเดีย

Dr Aarti Kawlra

นักวิจยั สมทบ, IIAS Leiden, The Netherlands

นักวิจยั , Nehru Memorial Museum & Library, New Delhi สาธารณรัฐอินเดีย

• บันดุง ห้ องทดลองส�ำหรับผู้ประกอบการสร้ างสรรค์

Mr Deden Hendan Durahman

Lecturer อาจารย์, Institut Teknologi Bandung สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

14.30 -14.45

พัก

14.45 - 16.00

เวทีอภิปรายครัง้ ที่ 1 – โครงการเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ขององค์การยูเนสโก ในมุมมองของประเทศไทย, หัตถกรรมในประเทศไทย และศิลปะพื ้นบ้ านล้ านนา

(บรรยาย 20 นาที แปลสรุปภาษาไทย 5 นาที ตอบค�ำถามและอภิปราย 5 นาที) moderator: ธัชธรรม ศิลป์ สุพรรณ, เมวิกา กล้ าหาญ


11

• โครงการเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การยูเนสโก

ในมุมมองของประเทศไทย นาง สาวิตรี สุวรรณสถิตย์ ที่ปรึกษากระทรวงวัฒนธรรม อดีตเลขาธิการ คณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด้ วยการศึกษาวิทยาศาสต์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)

หัตถกรรมสร้ างสรรค์ในประเทศไทย นางสาว ปานจิตต์ พิศวง รองผู้อ�ำนวยการศูนย์สง่ เสริ มศิลปาชีพระหว่างประเทศ (SACICT)

• หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านในล้ านนา อาจารย์วิถี พานิชพันธ์ ที่ปรึกษาโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปะวัฒนธรรมล้ านนา

16.00 - 17.00

ประสบการณ์รังสรรค์หตั ถกรรมด้ วยตนเอง

17.30

พิธีเปิ ดนิทรรศการหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านนานาชาติ

18.30

งานเลี ้ยงอาหารค�่ำประเพณีล้านนา


12

วันเสาร์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2558 9.00 - 10.30

แลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยผู้มีวิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศ ภาคสอง: สาธารณรัฐจีน (ไต้ หวัน) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา

(บรรยาย 20 นาที แปลสรุปภาษาไทย 10 นาที ตอบค�ำถามและอภิปราย 5 นาที) moderator: ปรัชญา คัมภิรานนท์, ฉฬภิญญา ตรี วิทย์

• การพลิกโฉมหน้ าและคุณค่าใหม่ของผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน Dr Wan Lee Chen Department of Theatrical Design and Technology

Taipei National University of the Arts, Taipei,

สาธารณรัฐจีน (ไต้ หวัน)

• การส่งเสริ มความหลากหลายทางวัฒนธรรม ผ่านหัตถกรรมและชุมชน

Mr Khamchanh Souvannalith

ผู้จดั การศิลปะวัตถุ และผู้จดั การเผยแพร่และการศึกษา The Traditional Arts and Ethnology Centre (TAEC) หลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

• การส่งเสริ มเครื่ องเขินในเมียนมา Mr Nanda Win Maung - Ms Marlar Win Maung

10.30 - 10.45

Everstand Lacquerware Workshop พุกาม

สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา พัก


13

แลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยผู้มีวิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศ ภาคสาม: ราชอาณาจักรกัมพูชาและไทย

10.45 - 12.00

(บรรยาย 20 นาที แปลสรุปภาษาไทย 10 นาที ตอบค�ำถามและอภิปราย 10 นาที) moderator: ธัชธรรม ศิลป์ สุพรรณ, เมวิกา กล้ าหาญ

• ศูนย์การเรี ยนรู้ชมุ ชน: กลไกเพื่อพัฒนาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านอย่างยัง่ ยืน Mr Sary Seng Meanchey University

ราชอาณาจักรกัมพูชา

• ล้ านนาคอลเล็กชัน นางปิ ยะฉัตร ไคร้ วานิช เบอร์ ทน ั Division Director ผู้อ�ำนวยการ

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครื อข่ายภาคเหนือ

พักอาหารกลางวัน

12.00 - 13.00 13.00 - 14.30

อภิปราย/สรุปผลการสัมมนา (เชิญทุกคน)

14.45

เยี่ยมชมวัดและชุมชนหัตถกรรม ชุมชนวัดศรี สพุ รรณ [ชุมชนวัดพวกแต้ ม - ถ้ าเวลาอํานวย]

18.00

moderator: รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ กลศ บุญทวี, ปรัชญา คัมภิรานนท์, ฉฬภิญญา ตรี วิทย์

เลี ้ยงอาหารค�่ำประเพณีล้านนา (วัดต้ นเกว๋น)


14

วันอาทิตย์ ที่ 23 พฤศจิกายน 2558 8.30 - 13.30

12.15

[Optional]

ชุมชนจักสานไม้ ไผ่ป่าบง สันก�ำแพง ศูนย์หตั ถกรรมร่มบ่อสร้ าง เปรมประชา พักอาหารกลางวัน

ผู้เข้ าร่วมสัมมนาเดินทางกลับ ก�ำหนดการนี ้อาจมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อความเหมาะสม

แปลสรุปภาษาไทย

กลศ บุญทวี


15

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 Assoc. Prof. Dr. Woralun Boonyasurat

Chiang Mai City Force Project to be a creative city network member of UNESCO organization (Handicraft and Folk Art)

Policy: The plan emphasizes on developing ‘Creative City’, focusing on building creative economy at both regional and local levels. To provide a foundation for this, economic opportunities backed by knowledge base, technology, innovation and creative economy development must be created. As a result, the creative city development was implemented by promoting creative businesses through capacity building of entrepreneurs and employees. We encourage using creative ideas to add value to goods and services. Creative industries development and investment get full support, while registering, using and protecting intellectual properties were accommodated. Researches on topics relating to creative economy and IT network development are running at full swing to allow top-notch, up-to-date communication and create learning atmosphere. Learning sources are made available in public spaces, while activities such as training, trade shows and other creative services are encouraged. The goal is to make Thailand a Creative Hub of ASEAN.

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015

Introduction: Encountering issues caused by a rapidly changing in Social, Economy and Environment, Thailand formulates the National Economy and Social Development Plan to effectively address them. Chiang Mai Provincial Administration Organization, while working to find administrative solutions, also determines to incorporate the Eleventh National Economy and Social Development Plan into its


16

Under the guiding policy towards Creative Economy by the Thai Government, Chiang Mai PAO authorized the Chiang Mai Creative City of Crafts and Folk Art Initiatives to hold Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 and the Crafts and Folk Art International Exhibition at Chiang Mai Art Center. The event, held in collaboration with Faculty of Fine Art, Chiang Mai University, National Science and Technology Development Agency and Chiang Mai entrepreneurs and craft communities, is a part of our efforts to promote Chiang Mai city to UNESCO Creative City Crafts and Folk Art. With this forum, we hope to set up a platform for experience sharing in creating Crafts and Folk Art to meet modern customers’ requirement. It will also help highlighting the value of cultural assets including intellectual, art and cultural heritages being passed along locally. Furthermore, Chiang Mai entrepreneurs will find international networking extremely valuable for exchanging work progress and techniques. To achieve these purposes, a number of international experts on implementation of support policy and promotion of crafts and folk art manufacturing were invited. Delegates from Taiwan, India, Cambodia, Laos, Myanmar, Japan and Thailand will share their wealth of knowledge and inspire participants to actively join the initiative to prepare Chiang Mai city to become UNESCO Creative City of Crafts and Folk Art.

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015

Objectives: 1.To exchange experiences on conservation, development and management of different countries crafts and folk art. 2.To enhance Chiang Mai and Thailand’s capacity to create and maintain international relationships as well as establishing a network of crafts and folk art cities. 3.To promote Chiang Mai crafts and folk art internationally. 4.To create understanding of Creative City concept among government agencies, lay persons, craft masters and members of younger generation, allowing them spaces to showcase the potential of craft and folk art to the public.


17

โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ นเมืองสร้ างสรรค์ ขององค์ การยูเนสโก (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้ าน)

ประเทศไทยได้ เผชิญกับสถานการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้ อมที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงหลายครัง้ อันน�ำมาสูก่ ารจัดท�ำแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้ สอดคล้ องกับสภาวการณ์ที่เผชิญ ทังนี ้ ้องค์การบริ หาร ส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีนโยบายการท�ำงานที่มงุ่ แก้ ปัญหาของประเทศ และสอดรับกับแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ของรัฐบาล ที่ให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนา “เมืองสร้ างสรรค์” (Creative City) ซึง่ มุง่ เน้ นและเสริ มสร้ างเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ในระดับ ภูมิภาคและท้ องถิ่น และเตรี ยมการเรื่ องนี ้ คือ การสร้ างโอกาสทางเศรษฐกิจด้ วยฐานความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ โดยการส่งเสริ มการพัฒนาเมือง สร้ างสรรค์ควบคูก่ บั การพัฒนาธุรกิจสร้ างสรรค์ ตามแนวทางเสริ มสร้ างศักยภาพผู้ประกอบ การและบุคลากร ในการใช้ ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการเพิ่มมูลค่าของสินค้ าและบริ การเพื่อ สนับสนุนการลงทุน และการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ ส่งเสริ มการจดทะเบียน การใช้ และการคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปั ญญา สนับสนุนการศึกษาวิจยั ประเด็นที่ส�ำคัญเกี่ยวข้ องกับ การพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ และการพัฒนาเครื อข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารที่มี คุณภาพ ทันสมัย เพื่อสร้ างบรรยากาศ และสภาวะที่เอื ้ออ�ำนวยต่อการเรี ยนรู้ เช่น การพัฒนา แหล่งการเรี ยนรู้ พื ้นที่สาธารณะ การจัดกิจกรรม ฝึ กอบรม และงานแสดงสินค้ าและบริ การ สร้ างสรรค์สาขาต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางเครื อข่ายการผลิต การค้ า และการบริ การของธุรกิจ สร้ างสรรค์ของภูมิภาคอาเชียน (Creative Hub of ASEAN) เพื่อให้ บรรลุตามพันธสัญญาการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ของรัฐบาล องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ ด�ำเนินงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ น เครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การยูเนสโก(สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) โดยร่วมกับ

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015

รองศาสตราจารย์ ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ นเครื อข่ายสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน


18

คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส�ำนักงานส่งเสริ มวิทยาศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ผู้ประกอบการ ชุมชนหัตถกรรม ในจังหวัดเชียงใหม่ จัดงานสัมมนา Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 และงานนิทรรศการศิลปะพื ้นบ้ านนานาชาติ (Crafts and Folk Art International Exhibition) ขึ ้น ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เพื่อเป็ นส่วนในการที่จะผลักดันเมืองเชียงใหม่ ให้ ก้าวสูเ่ มืองสร้ างสรรค์ สาขา หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านขององค์การ UNESCO ก่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทางการ ผลิตหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน และเกิดการสนองตอบ แก่ผ้ ใู ช้ งานได้ อย่างเหมาะสม รวมถึง สร้ างทุนทางวัฒนธรรมที่มีความหมาย มุง่ เน้ นคุณค่า และยังประโยชน์ให้ กบั ประเทศชาติ อีก ทังยั ้ งเป็ นการสร้ างเครื อข่ายระหว่างประเทศ เพื่อให้ เกิดเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กระบวนการท�ำงาน และเทคนิควิธีการต่างๆ อันจะเป็ นประโยชน์แก่ผ้ ปู ระกอบการชาว เชียงใหม่และชาวไทย

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015

การสัมมนาครัง้ นี ้มุ่งเน้ นให้ เกิดการตระหนักถึงความส�ำคัญในโอกาสจากการพบปะ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซงึ่ กันและกัน โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้ านการสนับสนุนนโยบาย และส่งเสริ มการผลิตงานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน จากหลากหลายประเทศ อาทิ ประเทศ ไต้ หวัน ประเทศอินเดีย ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศพม่า และหน่วยงานของไทย มา ให้ นโยบาย ความรู้สร้ างแรงบันดาลใจแก่ผ้ เู ข้ าร่วมสัมมนาในการเตรี ยมความพร้ อมของเมือง เชียงใหม่สเู่ มืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ต่อไปใน อนาคต ๑. เพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ประสบการณ์การอนุรักษ์ พัฒนา การจัดการงาน หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านของประเทศต่างๆ ๒. เพื่อเสริ มศักยภาพของเมืองและประเทศในการสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีและการ สร้ างเครื อข่ายงานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านระหว่างประเทศ ๓. เพื่อเป็ นการเผยแพร่งานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านของเมืองเชียงใหม่ให้ เป็ นที่ รู้จกั ในระดับนานาชาติ ๔ . เพื่อให้ หน่วยงานราชการประชาชน ชาวบ้ าน สล่า ช่างฝี มือ และคนรุ่นใหม่ ได้ รับ ทราบแนวปฏิบตั ทิ ี่เกี่ยวข้ องกับ “เมืองสร้ างสรรค์”และเปิ ดพื ้นที่แสดงศักยภาพของงาน หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านให้ สงั คมรับทราบ ๔ วัน : เริ่ ม พฤหัสบดีที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ถึง อาทิตย์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๘


19

หอนิทรรศการ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนนิมมานเหมินทร์ นักวิชาการชาวไทยและต่างชาติ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ผู้ประกอบการ และผู้ใช้ งาน หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ศิลปิ น ชุมชนหัตถกรรม สถานศึกษาและบุคคลที่มีความสนใจใน งานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านของเมืองเชียงใหม่

หน่วยงานสนับสนุน ศูนย์สง่ เสริ มศิลปาชีพระหว่างประเทศ สวทช. ภาคเหนือ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงแรมดาราเทวีเชียงใหม่ โครงการ Lanna Collection โครงการฟื น้ บ้ านย่านเวียงเชียงใหม่ เครื อข่ายชุมชนเมืองรักษ์ เชียงใหม่ เครื อข่ายพิพิธภัณฑ์กลางเวียงเชียงใหม่ ชมรมสล่าพื ้นบ้ านล้ านนา กลุม่ คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์ กลุม่ หน่อศิลป์ บริ ษัทเจอราร์ ด บริ ษัทเปรมประชา บริ ษัทศูนย์ท�ำร่ม 1999 บริ ษัทกระเบื ้องไม้ งาม บริ ษัทบัวผัดแฟคทอรี่ บริ ษัทภัทรบูรณ์ บริ ษัทสยามศิลาดล บริ ษัทคอททอนฟาร์ ม บริ ษัทวิชยั กุลเครื่ องเขิน

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015

สนับสนุน องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


20

บริ ษัทแฮนด์บายบุญ บริ ษัทใจฟ้าเครื่ องเขินเชียงใหม่ บริ ษัทคริ สตัลวอเทอร์ บริ ษัทโอเรี ยนทอลคิงดอม เนติสตูดิโอ Have a Hug Studio ชุมชนหัตถกรรมของจังหวัดเชียงใหม่ ฯลฯ

Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015


21

Message from Chiang Mai Provincial Admin Organization Mr.Boonlert Buranupakorn Chief Executive of Chiang Mai Provincial Administrative Organization

Province: 1.Promoting collaborative activity among the locals and various organizations to bring up awareness. Activities include are related to religion, the revival of the unique traditional culture and wisdom of Chiang Mai and her diverse ethnicity. 2.Supporting the educational and social institutions to play important role in conservation, preservation and stressing on religious heritage, art and culture, traditional customs as well as the historical and architectural heritage of Chiang Mai. 3.Providing knowledge of art and culture to local population and temples through collaboration with the public and private organizations. Hence, a better society with guided progress to develop Chiang Mai city to be Creative City of Crafts and Folk Art within the UNESCO Network frame. Chiang Mai Provincial Administrative Organization guidelines are related to The Eleventh National Economic and Social Development Plan (2012-2016) which focuses on economic development by promoting the creative city of the regional and local level for Thailand to become the Creative Hub of ASEAN.

Message from Chiang Mai Provincial Admin Organization

Chiang Mai Provincial Administrative Organization has responsibility in several aspects of Chiang Mai province development such as economy, social welfare, education, health promotion, public utilities, natural resources, regional traditions and practices including social wisdom to continue and its continuation. To achieve maximum gains for the province, Chiang Mai Provincial Administrative Organization has defined 3 guidelines which relate to social and cultural aspects of Chiang Mai


22

Chiang Mai province has studied preliminary collected and data base of Chiang Mai to prepare being a creative cities network member of UNESCO organization. The operating need to study whole and parts include needing to operating both of policy and practicing. In this regard, Chiang Mai Provincial Administrative Organization has initiated the Chiang Mai City Force Project under the name of “Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Initiatives� to be a creative cities network member of UNESCO organization (Crafts and Folk Art) to aspect for coordinating work with integrated with the public sector, private sector, community, education and career of Chiang Mai, and to jointly push Chiang Mai to be a creative cities network member of UNESCO organization (Crafts and Folk Art) which can build Thailand reputation to international level by the cultural capital of the Chiang Mai province.

Message from Chiang Mai Provincial Admin Organization


23

สาส์ นจากนายก องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงใหม่

องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีอ�ำนาจหน้ าที่ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ในหลายด้ าน ทังเศรษฐกิ ้ จ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริ มอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ ให้ ด�ำรงอยูแ่ ละสืบทอดสูค่ นรุ่นต่อไป เพื่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อประชาชนในท้ องถิ่น องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ วางแนวทางปฏิบตั ใิ นส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทุนทางสังคม และทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้ อ คือ 1.ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ท้องถิ่นด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�ำงานอย่าง บูรณาการ เพื่อให้ เกิดความตระหนัก ในการด�ำเนินกิจกรรมในด้ านการศาสนา การฟื น้ ฟูจารี ต ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่ หลากหลาย 2.ส่งเสริ มสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้ มีบทบาทส�ำคัญใน การอนุรักษ์ ท�ำนุบ�ำรุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณี อันดีงาม ตลอดจนสถาปั ตยกรรมโบราณและแหล่งประวัตศิ าสตร์ ของจังหวัดเชียงใหม่ 3.สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้ านศิลปะ วัฒนธรรมสูท่ ้ องถิ่น และศาสน สถาน โดยร่วมกับองค์กรต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน และองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสังคมในประเทศและ ต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมืองเชียงใหม่สเู่ มืองแห่งการสร้ างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึง่ แนวทางปฏิบตั ขิ ององค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้ องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่ให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่ง เสริ มการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมิภาคและท้ องถิ่น เพื่อให้ ประเทศไทย เป็ นศูนย์กลางเครื อข่ายการผลิต การค้ า และการบริ การของธุรกิจสร้ างสรรค์ของ ภูมิภาคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN)

Message from Chiang Mai Provincial Admin Organization

นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่


24

ที่ผา่ นมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�ำข้ อมูลเบื ้องต้ นของ เมืองเชียงใหม่ เพื่อเตรี ยมการเป็ นเครื อข่ายสมาชิกเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึง่ กระบวนการด�ำเนินงานจ�ำเป็ นต้ องมีการศึกษาทังเชิ ้ งกว้ างและเชิงลึก รวมถึงต้ องมีการปฏิบตั ิ การอย่างเป็ นรูปธรรม ทังส่ ้ วนนโยบายและการปฏิบตั กิ าร ในการนี ้องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ จดั ท�ำโครงการขับเคลื่อนเมือง เชียงใหม่ภายใต้ ชื่อ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ของ องค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน)” โดยมุง่ หวังให้ เกิดการท�ำงานร่วมกัน อย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาคการศึกษาและอาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้ จงั หวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) อันจะสามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยใน ระดับสากล จากทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ตอ่ ไป

Message from Chiang Mai Provincial Admin Organization


25

Welcoming Speech on behalf of the Mayor and Municipal Secretary of Pekalongan City on the Occasion of Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum

Chiang Mai University Art Centre, 20 November 2015 Mr. Doyo Budiwibowo

Mr Boonlert Buranupakorn, Chief Executive of Chiang Mai Administrative Organization Associate Prof Dr Woralun Boonyasurat of Chiang Mai Creative City of Crafts and Folk Art Initiative Associate Prof. Niwes Nantachit, President of Chiang Mai University Miss. Vanessa Achilles, of the Cultural Unit, UNESCO Bangkok Distinguised delegates, Ladies and Gentlemen Swadee Krap. Warmest greetings to you all from Pekalongan, Central Java, Indonesia My deepest thanks to the organizing committee of this event for your kind invitation for Pekalongan City to participate in this forum and share our experiences with you. Pekalongan as you may know is presently the only city in Indonesia, indeed the only city in South East Asia, to have been admitted to the UNESCO Creative Cities Network (in 2014). Hopefully we will soon be joined by other cities from South-East Asia. May I convey the deepest apologies from the Acting Mayor of Pekalongan City, Mr. Priyo Anggoro Budiraharjo, and from the Municipal Secretary of Pekalongan City, Mr. Dwie Arie Poetranto, who regret that they are unable to be present here today due to commitments related to preparations for upcoming elections on ninth December, and have asked me to convey this speech on their behalf. Pekalongan welcomes the initiative of Chiang Mai in organizing this event with the purpose of sharing experiences and best practices related to the UNESCO Creative Cities Network.


26

Ladies and gentlemen, Pekalongan is the “Batik City” of 300,000 people on the north coast of Central Java Province, Indonesia. The mainspring of the city’s economy is the continuously creative handcraft of hand drawn and hand stamped batik. Batik as an expression of art, culture and economy is the principal identity of Pekalongan City, and is well integrated into development plans for creative economy based on local potential. Pekalongan is a multicultural city where different ethnic communities live in harmony and mutual respect, often enjoying each other’s cultural expressions in the many exhibitions, parades and events held throughout the year. Pekalongan provides a good example of how culture based development can bring economic and quality of life benefits to its citizens, particularly women. Pekalongan City was informed of the UNESCO Creative Cities Network in 2003, and the then Mayor of Pekalongan Dr.Mohamad Basyir Ahmad formed a team of local government officials including myself, community members, entrepreneurs and experts such as Mr. Gaura Mancacaritadipura, and began to draft a nomination file, using the format of UNESCO, and based on the actual creativity of Pekalongan City. This work continued through 2013 and 2014, until Pekalongan City was admitted to the Network on 1 December 2014 by decree of the Director General of UNESCO. Pekalongan was happy to participate in the annual meeting of the Forum in Kanazawa, Japan, in May 2015. Ladies and gentlemen, May I say that the success of Pekalongan City was mainly due to a number of factors which will be elaborated by my colleague

Mr. Gaura in a later session; namely, ·An effective and inclusive nomination team ·Studying very carefully the UNESCO Creative Cities nomination form and related documents, and drafting and revising the nomination accordingly ·Presenting real information on the actual creative assets of Pekalongan City, namely the creative craft of hand drawn and hand stamped Indonesian batik, which contributes to the prosperity of our citizens, and multiethnic folk arts which contribute to mutual appreciation and respect among the various communites who reside in Pekalongan City. ·Support from other members of the UNESCO Creative Cities


27

Network I look forward to participating in this forum and to sharing information and experiences with all of you. I also look forward to ongoing networking between Pekalongan and all of you. And it is my hope that some of you may some day visit Pekalongan City and see and experience for yourself the “World’s City of Batik”. We look forward to welcoming you. Kap Koon Krap. Thank you very much On behalf of the Municipal Government of Pekalongan City Doyo Budi Wibowo, MM Director of the Transport, Culture and Tourism Service of Pekalongan City


28

ค�ำกล่ าวต้ อนรั บในนามของนายกเทศมนตรี และปลัดเทศบาล นครเพกาลองกัน Mr. Doyo Budiwibowo

ในการประชุม Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรี ยน คุณบุญเลิศ บูรณปกรณ์ นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ น เครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ศาสตราจารย์นายแพทย์นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Miss. Vanessa Achilles แผนกวัฒนธรรม UNESCO กรุงเทพฯ และแขกผู้มีเกียรติทกุ ท่าน สวัสดีครับ ผมขอกล่าวทักทายท่านในนามของเมืองเพกาลองกัน จังหวัดชวา กลาง อินโดนีเซีย ขอขอบคุณคณะกรรมการผู้จดั กิจกรรมครัง้ นี ้ ที่กรุณาเชิญนครเพกาลองกันมา ร่วมการประชุม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั ทุกท่าน เพกาลองกัน อย่างที่ทา่ นคง ทราบแล้ ว เป็ นเมืองเดียวในอินโดนีเซีย และเมืองเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ได้ เข้ า ร่วมเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ หรื อ UNESCO ในปี พ.ศ.2557 เราหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าจะมีเมืองอื่นใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้ าร่วมอีกในเร็ววัน ผมขอถื อโอกาสนีข้ อโทษต่อทุกท่านแทนรั กษาการนายกเทศมนตรี นครเพกา ลองกัน Mr. Priyo Anggoro Budiraharjo รวมทังปลั ้ ดเทศบาล Mr. Dwie Arie Poetranto ซึง่ ไม่สามารถเดินทางมาร่วมการประชุมวันนี ้ด้ วยตนเอง เนื่องจากติดภารกิจ เตรี ยมการเลือกตังซึ ้ ง่ จะมีขึ ้นในวันที่ 9 ธันวาคม จึงต้ องมอบหมายให้ ผมเป็ นตัวแทน ถ่ายทอดค�ำกล่าวต่อไปนี ้ เพกาลองกันขอแสดงความยินดีกบั โครงการขับเคลื่อนเชียงใหม่ฯ ที่ได้ จดั การ ประชุมนี ้ขึ ้นด้ วยเจตนาที่จะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศ เกี่ยวกับ เครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ของ UNESCO


29

ท่านผู้มีเกียรติครับ เพกาลองกัน “นครแห่งผ้ าบาติก” มีประชากรสามแสนคน ตังอยู ้ ช่ ายฝั่งทะเลด้ าน ทิศเหนือของจังหวัดชวากลาง อินโดนีเซีย เศรษฐกิจของเมืองมาจากหัตถกรรมสร้ างสรรค์คือ ผ้ าบาติกทังที ้ ่เขียนและพิมพ์ลวดลายด้ วยมือ ผ้ าบาติกในฐานะเครื่ องถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ คืออัตลักษณ์พื ้นฐานของนครเพกาลองกันแห่งนี ้ เพกาลองกันเป็ น เมืองที่มีวฒ ั นธรรมหลากหลาย ชุมชนต่างเชื ้อชาติอาศัยอยูร่ ่วมกันอย่างกลมกลืนด้ วยความ เคารพในกันและกัน นิยมชมชอบการแสดงออกทางวัฒนธรรมของเชื ้อชาติอื่น ไม่วา่ จะในรูป นิทรรศการ ขบวนพาเหรด และกิจกรรมต่างๆ ที่จดั ขึ ้นตลอดทังปี ้ เพกาลองกันเป็ นตัวอย่างที่ดี ของการพัฒนาโดยอิงวัฒนธรรมให้ สามารถสร้ างผลทางเศรษฐกิจ สร้ างคุณภาพชีวิตที่ดีให้ แก่ พลเมืองของตนได้ โดยเฉพาะประชากรสตรี เมืองเพกาลองกันรับทราบเรื่ องเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ของ UNESCO ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2546 ท�ำให้ นายกเทศมนตรี ในขณะนันคื ้ อ Dr.Mohamad Basyir ตังคณะท� ้ ำงานขึ ้น ประกอบด้ วย เจ้ าหน้ าที่รัฐซึง่ มีผมอยูด่ ้ วย สมาชิกชุมชน ผู้ประกอบการ และผู้ช�ำนาญการเช่น Mr. Gaura Mancacaritadipura เพื่อจัดท�ำร่างเอกสารเสนอตัวเข้ าร่วมเครื อข่ายตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด โดย UNESCO และใช้ งานสร้ างสรรค์ที่มีอยูจ่ ริ งในนครเพกาลองกันเป็ นฐานอ้ างอิง งานของ คณะท�ำงานด�ำเนินต่อเนื่องมาจนถึงพ.ศ.2556 และ 2557 จนเพกาลองกันได้ รับอนุมตั เิ ป็ นหนึง่ ในเครื อข่าย เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 ตามค�ำสัง่ ของประธานองค์การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ต่อมา เพกาลองกันก็ได้ ไปร่วมการประชุมประจ�ำปี ซงึ่ จัดขึ ้น ที่คานาซาวา ประเทศญี่ปนุ่ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2558 ท่านผู้มีเกียรติครับ ผมใคร่ขอเรี ยนว่าความส�ำเร็ จของนครเพกาลองกันนันเกิ ้ ดจากปั จจัยจ�ำนวนหนึง่ ซึง่ เพื่อนร่วมงานของผมคือ Mr. Gaura จะได้ กล่าวถึงโดยละเอียดต่อไป ปั จจัยดังกล่าวประกอบ ด้ วย คณะท�ำงานเสนอชื่อซึง่ ครอบคลุมบุคลากรที่จ�ำเป็ น และท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ศึกษาแบบฟอร์ มเสนอชื่อเมืองสร้ างสรรค์ UNESCO รวมทังเอกสาร ้ ประกอบอื่นๆ อย่าง รอบคอบ จากนันจึ ้ งร่างและแก้ ไขเอกสารเสนอชื่อตามที่ได้ ศกึ ษามา น�ำเสนอข้ อมูลจริ งจาก ทรัพยากรด้ านการสร้ างสรรค์ที่มีอยูข่ องนครเพกาลองกัน คือหัตถกรรมสร้ างสรรค์ผ้าบาติก อินโดนีเซียซึง่ เขียนและพิมพ์ลายด้ วยมือ เป็ นสินค้ าที่น�ำความมัง่ คัง่ มาสูป่ ระชากรเมือง และ ศิลปะพื ้นบ้ านจากหลากหลายเชื ้อชาติซงึ่ ช่วยสร้ างความนิยมชมชอบและความเคารพที่มีต่อ กันระหว่างชุมชนต่างๆ ที่อาศัยอยูใ่ นเมือง


30

ความสนับสนุนจากเมืองสมาชิกอื่นในเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ UNESCO ผมยินดีที่ จะเข้ าร่วมการประชุมครัง้ นี ้และแบ่งปั นข้ อมูล ประสบการณ์กบั ทุกท่าน ขณะเดียวกันก็ต้องการ ให้ เครื อข่ายร่วมระหว่างเพกาลองกันกับทุกท่านในที่นี ้ได้ ด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่อง หวังเป็ นอย่าง ยิ่งว่าสักวันเราจะมีแขกจากเชียงใหม่ไปเยี่ยมเยียน ไปมองเห็นและรับประสบการณ์ด้วยตัวเอง ว่า “นครแห่งผ้ าบาติกของโลก” นันเป็ ้ นอย่างไร เรายินดีต้อนรับทุกท่าน ขอบคุณครับ ในนามของเทศบาลนครเพกาลองกัน Doyo Budi Wibowo, MM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักคมนาคม วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว นครเพกาลองกัน


31

Context and Objective of the forum Assoc. Prof. Dr. Woralun Boonyasurat

The Eleventh National Economic and Social Development Plan has focused more on fostering ‘Creative City;’ a concept which could progress and promote the Creative Economy at local and regional level. On this basis, the Provincial Administration of Chiang Mai City decides to apply in the Crafts and Folk Art Category of the UNESCO Creative Cities Network. After becoming a part of “Chiang Mai City of Crafts and Folk Art” plan, I believe that this plan cannot be effectively run unless we can make Chiang Mai be the very showcase of our crafts and folk art, a place that supports art spaces in the 21st century, and a place that strengthens community engagement, both the public and private sector. Chiang Mai City then sees the capability of Chiang Mai University and Faculty of Fine Art in our shared understanding of the contributions of Lanna backgrounds and cultures for more than 30 years. In the recent years, we have brought government policy and planning into practice of community services. We started with a field work to document and record existing art and artisanal handicraft; and then we hope that our younger generations would benefit from this, a well-developed capacity for divergent thinking in the business. So we have encouraged a number of young faces to participate in craft design contests, an attempt that subsequently stimulates and inspires that ‘transforms’ the existing product into new crafts innovation. To name one in particular, our “Crafts with Heart” is an activity that supports young design talents,

Message from Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Initiative

Chiang Mai City Force Project to be a creative city network member of UNESCO organization (Handicraft and Folk Art)


32

and that actively engages more young faces with a strong passion in crafts. In Crafts with Heart, we taught and trained them works of ceramics,indigo and natural dyes. I also witnessed, a greater attempt in promoting the exchange of experiences and ideas between countries, in the conservation, preservation, and the display of the crafts and folk art—this undoubtedly maintains, if not promoted, good international relation or the interconnection between these countries, which subsequently, brings us much closer to the network-building of crafts and folk art. I would like to take this opportunity to welcome you to Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015, holds from 19th through to 22nd November, 2015.

Message from Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Initiative

The purpose of our forum is to convene delegates of Thai central and local government, UNESCO Bangkok, Thai and international crafts good practice organizations from Asian countries to provide them an opportunity to share experiences and ideas toward creative crafts and folk art sustainable development pertaining to UNESCO Creative City Network. The forum also aims at promoting recognition and fellowship among local and global craft organizations. We feel pleased and honored that we can welcome a representative from UNESCO, representative of UNESCO Creative Cities Network member from Jingdezhen, China and Pekalongan, Indonesia as well as many prestige institutions from China, Taiwan, India, Laos, Cambodia and Indonesia. Lastly, I hope every speaker who is here with us today, will support our dedicated efforts of the “Chiang Mai City of Crafts and Folk Art,” and will make the city be the very showcase of our crafts and folk art, the place that supports art spaces in the 21st century, and the place that strengthens community engagement, and most importantly, the guides uniquely pinpoint how to make this beautiful city be in the s and Folk Art Category of the UNESCO Creative Cities Network, as planned.


33

บริบทและวัตถุประสงค์ ของการประชุม

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ของรัฐบาลได้ ให้ ความ ส�ำคัญกับการพัฒนา “เมืองสร้ างสรรค์” (Creative City) ซึง่ มุง่ เน้ นและเสริ มสร้ างเศรษฐกิจ สร้ างสรรค์ในระดับภูมิภาคและท้ องถิ่น ซึง่ ทางองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ มีนโย บายตอบสนองโดยการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) ในฐานะประธานที่ปรึกษา โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมือง วัฒนธรรมสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) เห็นว่าส่วน ที่ส�ำคัญในการขับเคลื่อนโครงการนี ้ได้ คือ “ การสร้ าง - การถ่ายทอด - การต่อยอดองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้ องกับหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน เพื่อก้ าวสูโ่ ลกในศตวรรษที่21 โดยความร่วมมือกับ ชุมชน ภาครัฐและเอกชน ภาคการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ จึงเป็ นคนกลางชื่อมโยงสถาบัน การศึกษา คือมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะวิจิตรศิลป์ ซึง่ ศึกษา ค้ นคว้ า วิจยั อนุรักษ์ สร้ างสรรค์ศลิ ปะวัฒนธรรมล้ านนามากว่า 30 ปี โดยบูรณาการนโยบายภาครัฐสูก่ ารปฏิบตั จิ ริ งในชุมชน จากการท�ำงานโครงการ 2 ปี ที่ผา่ นมา เริ่ มต้ นจากการส�ำรวจข้ อมูลการคงอยูข่ องแหล่งผลิตศิลปะและหัตถกรรม และการ คาดการณ์สถานการณ์ของคนรุ่ นใหม่ที่จะสามารถน�ำเรื่ องการสร้ างสรรค์มาเป็ นฐานคิดด้ าน เศรษฐกิจ จึงมีการชักชวนคนรุ่นใหม่ให้ ประกวดการออกแบบหัตถกรรมสร้ างสรรค์ประเภท ต่างๆ ท�ำให้ เกิดการตื่นตัวในการผลิตงานหัตถกรรมในรูปแบบใหม่โดยใช้ รากฐานจาก วัฒนธรรมเดิมการสร้ างกิจกรรม “Craft with Heart” เพื่อสร้ างนักออกแบบรุ่นเยาว์ และค้ นพบ คนรุ่นใหม่ที่มีความรัก และสนใจในการสร้ างงานหัตถกรรมจ�ำนวนมาก จึงได้ จดั อบรมการ

Message from Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Initiative

รองศาสตราจารย์ ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ นเครื อข่ายสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน


34

Message from Chiang Mai City of Crafts and Folk Art Initiative

ท�ำงานเซรามิก งานย้ อมผ้ าด้ วยครามและสีธรรมชาติ รวมถึงศึกษาเรี ยนรู้ชมุ ชนหัตถกรรมใน จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนันยั ้ งมีความพยายามในการสร้ างประสบการณ์ให้ แก่เมือง ในการแลก เปลี่ยนเรี ยนรู้ประสบการณ์และแนวคิดการอนุรักษ์ พัฒนา และการจัดการงานหัตถกรรมและ ศิลปะพื ้นบ้ านจากประเทศในอาเซียน รวมถึงสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีเพื่อเป็ นฐานของการ สร้ างเครื อข่ายงานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านระหว่างประเทศ จึงได้ จดั งาน Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 ในระหว่างวันที่ 19 - 22 พฤศจิกายน 2558 นี ้ ซึง่ ได้ รับ เกียรติจากวิทยากรจากองค์การ UNESCO และ นักคิด นักสร้ างสรรค์รวมถึงสถาบันอันมีชื่อ เสียงจากประเทศในอาเซียน เช่น สาธารณรัฐจีน (ไต้ หวัน) สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ราชอาณาจักรกัมพูชาและผู้ แทนจากประเทศเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO เช่น เมือง Jingdezhen สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองที่มีชื่อเสียงด้ านพอร์ ซเลนกว่า 1000 ปี , เมือง Pekalongan สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมืองที่มีชื่อเสียงด้ านผ้ าบาติก ซึง่ เพิ่งได้ รับเกียรติให้ เป็ นสมาชิกเครื อ ข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ในปี 2014 รวมถึงได้ รับความร่วมมือในการจัด นิทรรศการ Crafts and Folk Art Exhibition จากผู้ประกอบการจากโครงการ Lanna Collection ซึง่ เป็ นโครงการความร่วมมือ ๕ ปี กบั ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ ส�ำนักงานภาคเหนือที่ท�ำงานพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้ ทนุ ทางวัฒนธรรมของ เชียงใหม่และล้ านนามาออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่กว่า 20 บริ ษัท รวมถึงชุมชนช่างที่สืบทอด มากว่า 100 ปี ของจังหวัดเชียงใหม่ ทางโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ของ องค์การ UNESCO หวังว่า วิทยากรทุกท่านทังชาวไทยและต่ ้ างประเทศ จะสามารถชี ้น�ำทิศทาง ให้ เมืองเชียงใหม่สามารถรักษาคุณค่างานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านและพัฒนาสู่การเป็ น หนึง่ ในสมาชิกเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้น บ้ าน) ต่อไปในอนาคต




35

Message from Chiang Mai Governor Pavin Chamniprasart Chiang Mai governor

- Mr. Boonlert Buranupakorn, Chief Executive of Chiang Mai Provincial Administrative Organization

I am truly honored to be here for the opening ceremony of “Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015� at Chiang Mai University Art Center, which is the program for developing Chiang Mai city to be Creative Cities of Crafts and Folk Art by UNESCO. More than 700 year of its long history, Chiang Mai has a lot of arts and cultural traditions which are the valuable heritage to local people and everyone who sense it. And this is special occasion that scholar, Craft and folk art Entrepreneurs and who those interested in craft and folk art can meet and exchange their experiences. Moreover, Chiang Mai people, Villagers, craftsmen will have the opportunity to learn about the procedures and good practices of the UNESCO Creative Cities. Besides, this forum creates a collaborative network of crafts and folk art cities. On behalf of Chiang Mai Province, I would like to express my appreciation to Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Chiang Mai Provincial Administrative organization and all the supporters who help support this Craft and Folk art forum. I hope this activity run to be success and can bring all the benefit to public.

Message from Chiang Mai Governor

- Clinical Professor Niwes Nantachit, President of Chiang Mai University - Associate Professor Dr. Woralun Boonyasurat, Dean of the Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University And honorable guests


36

ค�ำกล่ าวท่ านผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นายปวิณ ชํานิประศาสน์ ผู้วา่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่

- คุณบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ - ศาสตราจารย์ คลินิก นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - รองศาสตราจารย์ ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Message from Chiang Mai Governor

กระผมรู้สกึ ยินดีที่ได้ มีโอกาสมาเป็ นประธานในพิธีเปิ ดการประชุมวิชาการ Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 ซึง่ เป็ นโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ เป็ น เครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ของUNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในวันนี ้ เมืองเชียงใหม่เป็ นเมืองที่มีประวัตศิ าสตร์ ยาวนาน มีศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ ควรมีการอนุรักษ์ และส่งเสริ มสนับสนุนเป็ นอย่างยิ่ง และในครัง้ นี ้นับเป็ นโอกาสอันดีที่นกั วิชาการทังชาวไทยและต่ ้ างประเทศผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้ องกับหัตถกรรมและศิลปะพื ้น บ้ าน และบุคคลทัว่ ไปจะได้ มีความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เกี่ยวข้ อง รวมทัง้ ประชาชน ชาวบ้ าน สล่า ช่างฝี มือและคนรุ่นใหม่ ได้ รับทราบแนวปฏิบตั ทิ ี่เกี่ยวกับเมือง สร้ างสรรค์ ตลอดจนเป็ นการสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีและการสร้ างเครื อข่ายงานหัตถกรรม และศิลปะพื ้นบ้ านระหว่างประเทศ ขอขอบคุณ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ องค์การบริ หารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ ตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ที่ร่วมกันจัดการสัมมนาและมหกรรมศิลปะพื ้นบ้ านนา นาชาติ ขอให้ การจัดโครงการโครงการประสบผลส�ำเร็จและเป็ นประโยชน์กบั ส่วนรวมต่อไป


37

UNESCO Creative City: Crafts and Folk Art Ms. Vanessa Achilles, Cultural Unit, UNESCO Bangkok


38


39


40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


50


51


52


53

What It takes and What It Means to Become a UNESCO Creative City - Jingdezhen, People’s Republic of China

Mrs Ni Shu and Miss Yuzhou Zha

The Municipal Government Office of Jingdezhen’s Application for World Cultural Heritage

Ladies and gentlemen: Good morning!

Jingdezhen has a porcelain making history of more than 1700 years. It is the most important ceramic production center in China, its porcelain representing the pinnacle of the ceramic industry of China and the world at large. Crafted with ingenious thought and consummate skill, Jingdezhen porcelain has not only found favor in the eyes of Chinese royalty and literati, but also obtained worldwide renown. For hundreds of years, it has traveled along the Silk Road overland and sea to other parts of the world, acting as an intermediary to facilitate the cultural and commercial exchange between the East and the West. In December 1st 2014, Jingdezhen had been designated as a member of UNESCO Creative Cities Network, in the category of Craft and Folk Art, which means the millennial porcelain capital gains another world-class “name card”.Undoubtedly, it is really a great honor for us, and this success means a lot to us.

Republic of China

On behalf of people’s government of Jingdezhen, today it’s my great honor to participate in Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015. Thanks for inviting us. Now please allow me to introduce our city briefly.


54

Firstly, it injects new vitality into the heritage protection and inheritance and brings new opportunities for the ceramic cultural creative industry.In the future collaboration, we will get more opportunities better resource and wider channels. Secondly, it will raise the international profile and city brand better. As an international organization, UCCN assembles the most famous influential and advanced talents, information and resource. Through this channel, cities will be more famous and influential, which will also strengthen the brand competitiveness. Thirdly, it will enhance the urban planning and development control city grade and public quality. It’s not only a result which UNESCO accept our performance in cultural creative industry, but also a process to promote the civilization degree, which will stimulate citizens to carry forward Jingdezhen’s spirit. Chiang Mai is a centuried cultural city, which is famous for the silk and textile. The large export quantity each year makes it backbone of Thailand’s manufacture. It is reported that Chiang Mai handicraft village is the biggest cottage craft in the world. The craftsmen in the village carry on the hereditary skill, creating various kinds of silk porcelain lacquerware woodcarving textile and hand-sketching paper umbrella, which combines tradition and modern. If applying city of craft and folk art, Chiang Mai will be a competitive city, which will be strongly supported by Jingdezhen. China Jingdezhen International Ceramic Fair co-sponsored by Trade Development Bureau of Ministry of Commerce of the People’s Republic of China and Jingdezhen Municipal People’s Government will be held each October 18th to 22nd. Here we sincerely invite Chiang Mai representatives to participate in the next ceramic fair with Thailand’s ceramics, showing yourselves by this professional platform. At the same time, we will also participate in Chiang Mai’s activities strengthening the communication and promoting the cultural trade. Republic of China

Hope Chiang Mai can be designated as a member of UNESCO Creative Cities Network as soon as possible. If there is any help we can offer through the application, we will try our best.


55

At last, I extend my sincere invitation to all the experts and friends here to come to Jingdezhen, the millennial porcelain capital, to share beneficial experience and promote communication, look forward to your arrival.

Republic of China

Welcome! Thank you!


56

เมืองสร้ างสรรค์ ขององค์ การ UNESCO คืออะไร ต้ องท�ำอย่ างไร

จึงได้ เป็ น Jingdezhen - สาธารณรั ฐประชาชนจีน Mrs Ni Shu and Miss Yuzhou Zha

The Municipal Government Office of Jingdezhen’s Application for World Cultural Heritage

สวัสดีค่ะแขกผู้มีเกียรติทกุ ท่ าน ในนามของคณะผู้บริ หารเมืองจิ่งเต๋อเจิ ้น ดิฉนั รู้สกึ เป็ นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้ เข้ าร่วม การประชุมครัง้ นี ้ ขอบคุณที่เชิญเรามา ก่อนอื่นดิฉนั ขอแนะน�ำเกี่ยวกับเมืองของเราสันๆ ้ นะคะ จิ่งเต๋อเจิ ้นมีประวัตศิ าสตร์ การสร้ างงานเครื่ องเคลือบพอร์ ซเลนยาวนานกว่า 1700 ปี เป็ นศูนย์กลางการผลิตเซรามิกที่ส�ำคัญที่สดุ ของประเทศ เครื่ องเคลือบพอร์ ซเลนของเราคือสุด ยอดของอุตสาหกรรมนี ้ทังในจี ้ นและทังโลก ้ เป็ นงานฝี มือที่กลัน่ กรองผ่านความคิดและทักษะ อันอัศจรรย์ เครื่ องเคลือบพอร์ ซเลนของจิ่งเต๋อเจิ ้นไม่เพียงต้ องตาต้ องใจของราชส�ำนักและ ปั ญญาชน แต่ยงั เป็ นที่ยอมรับไปทัว่ โลก หลายศตวรรษที่เครื่ องเคลือบเหล่านี ้ล�ำเลียงผ่านเส้ น ทางสายไหมทังทางบกและทางเรื ้ อไปสูด่ นิ แดนห่างไกลคนละซีกโลก เป็ นทังสื ้ ่อกลางแลก เปลี่ยนวัฒนธรรม ทังสิ ้ นค้ าซื ้อขายกันระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตก วันที่ 1 ธันวาคม 2557 จิงเต๋อเจิ ้นได้ รับแต่งตังเป็ ้ นสมาชิกเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ของ UNESCO ในสาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน เมืองซึง่ เป็ นเมืองหลวงของพอร์ ซเลนมา หนึง่ พันปี มีสถานะระดับโลกที่เปรี ยบเสมือน “นามบัตร” เพิ่มขึ ้นมาอีกหนึง่ อย่าง พวกเรารู้สกึ เป็ นเกียรติมาก ความส�ำเร็ จครัง้ นี ้มีความหมายอย่างยิ่งต่อพวกเรา Republic of China

ประการที่หนึง่ นี่เป็ นการเติมความคึกคักให้ กบั การคุ้มครองและสืบทอดมรดกของ บรรพบุรุษ รวมทังเปิ ้ ดลูท่ างใหม่ด้านธุรกิจให้ กบั อุตสาหกรรมเซรามิกส์ที่เน้ นการสร้ างสรรค์


57

และวัฒนธรรม ยิ่งรักษาความร่วมมือต่อไปเรื่ อยๆ เราจะยิ่งมีโอกาสมากขึ ้น มีทรัพยากรที่ดีและ ช่องทางที่เปิ ดกว้ างขึ ้น ประการที่สอง คือยกระดับภาพลักษณ์ในตลาดโลกและชื่อแบรนด์จิ่งเต๋อเจิ ้นให้ เป็ น ที่ร้ ูจกั แพร่หลายยิ่งขึ ้น เครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ของ UNESCO เป็ นองค์กรที่รวบรวมผู้มีชื่อ เสียง อิทธิพล มีความรู้ความสามารถ ข้ อมูลข่าวสาร และทรัพยากรที่ดีที่สดุ ของโลกไว้ ด้วยกัน ด้ วยช่องทางนี ้ เมืองสมาชิกจะยิ่งเป็ นที่ร้ ูจกั และทรงอิทธิพลยิ่งขึ ้น ท�ำให้ แบรนด์ของเมืองเข้ ม แข็ง มีศกั ยภาพในการแข่งขันมากขึ ้นด้ วย ประการที่สาม การเป็ นสมาชิกจะมีสว่ นท�ำให้ การวางแผนส�ำหรับเมือง การควบคุม การพัฒนา การจัดล�ำดับชันของเมื ้ อง และคุณภาพของสาธารณชนดีขึ ้น การยอมรับจาก UNESCO ไม่ได้ ตดั สินที่ผลงานของอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์วฒ ั นธรรมเพียงอย่างเดียว แต่ตดั สิน จากกระบวนการที่ใช้ สง่ เสริ มการปลูกฝังอารยธรรม ซึง่ กระตุ้นให้ พลเมืองได้ สืบทอดจิต วิญญาณของจิ่งเต๋อเจิ ้นต่อไป

เทศกาลเซรามิกส์นานาชาติจิ่งเต๋อเจิ ้น ประเทศ ซึง่ มีส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการค้ า กระทรวงพาณิชย์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน กับเทศบาลนครจิ่ง เต๋อเจิ ้นเป็ นเจ้ าภาพร่วมกันจัดขึ ้นทุกวันที่ 18 ถึง 22 ตุลาคมของทุกปี เรามีความยินดีที่จะเชิญ ผู้แทนจากเชียงใหม่เข้ าร่วมในเทศกาลครัง้ ต่อไป โดยน�ำงานเซรามิกส์ของไทยไปจัดแสดงใน สนามส�ำหรับมืออาชีพ ขณะเดียวกันเราก็ตงใจจะเข้ ั้ าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่เชียงใหม่จดั เพื่อ กระชับความสัมพันธ์และส่งเสริ มการค้ าเชิงวัฒนธรรมระหว่างกันด้ วย

Republic of China

เชียงใหม่เองก็เป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมมาหลายศตวรรษ เป็ นที่ร้ ูจกั ด้ านสิง่ ทอ และผ้ าไหม การผลิตสินค้ าส่งออกปริ มาณมหาศาลทุกปี ท�ำให้ ที่นี่เป็ นเหมือนกระดูกสันหลัง ของงานหัตถกรรมไทย หมูบ่ ้ านหัตถกรรมที่เชียงใหม่นี ้ กล่าวกันว่าเป็ นสถานประกอบ หัตถกรรมที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก ช่างฝี มือในหมูบ่ ้ านสืบทอดทักษะจากบรรพบุรุษ น�ำมาสร้ างสรรค์ สินค้ านานาชนิดทัง้ ผ้ าไหม เครื่ องเคลือบพอร์ ซเลน เครื่ องเขิน ไม้ แกะสลัก สิง่ ทอ ร่มกระดาษที่ วาดลวดลายด้ วยมือ ล้ วนผสมผสานความเก่าแก่โบราณกับสมัยใหม่ การผลักดันในฐานะ เมืองหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ยิ่งท�ำให้ เชียงใหม่มีศกั ยภาพในการแข่งขัน ซึง่ เป็ นสิง่ ที่จิ่ง เต๋อเจิ ้นต้ องการสนับสนุนเป็ นอย่างยิ่ง


58

หวังอย่างยิ่งว่าเชียงใหม่จะได้ รับแต่งตังเป็ ้ นสมาชิกเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ของ UNESCO โดยเร็ วที่สดุ หากมีความช่วยเหลือใดๆ ที่สามารถให้ ได้ เรามีความยินดีเป็ นอย่างยิ่ง ที่จะช่วย สุดท้ ายนี ้ ดิฉนั ใคร่ขอเชิญผู้ช�ำนาญการและมิตรสหายทุกท่านในที่นี ้ มาเยี่ยมเยียน จิ่งเต๋อเจิ ้น นครหลวงของเครื่ องเคลือบพอร์ ซเลนที่ยืนยงมาถึงหนึง่ พันปี เพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์อนั เป็ นประโยชน์ และส่งเสริ มการสื่อสารระหว่างกัน ขอเชิญทุกท่านนะคะ ขอบคุณค่ะ

Republic of China


59

เมืองสร้ างสรรค์ ขององค์ การ UNESCO คืออะไร ต้ องท�ำอย่ างไรจึงได้ เป็ น Pekalongan เมืองสร้ างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้ าน

Gaura Mancacaritadipura

Republic of Indonesia

ผู้ช�ำนาญการที่ปรึกษานายกเทศมนตรี นครเพกาลองกัน จังหวัดชวากลาง อินโดนีเซีย และ สมาชิกคณะท�ำงานผลักดันนครเพกาลองกันเป็ นสมาชิก เครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์


60

Republic of Indonesia


Republic of Indonesia

61


62

Republic of Indonesia


Republic of Indonesia

63


64

Republic of Indonesia


Republic of Indonesia

65


66

Republic of Indonesia


Republic of Indonesia

67


68

Republic of Indonesia


Republic of Indonesia

69


70

Republic of Indonesia


Republic of Indonesia

71


72

Republic of Indonesia


73

Creative Networking and Cooperation Alice Ru-Hwa Chiu

Secretary General, Institute for Historical Resources Management Republic of China, Taiwan

Founded in 2004, the Institute for Historical Resources Management is a leading nongovernmental organization in Taiwan, dedicated to informing, inspiring and mobilizing people in Taiwan to guard their neighborhoods, to appreciate the tangible and intangible dimensions of their living culture and to spontaneously participate in community-building practices. Currently the Institute’s primary concern and area of activity is in bonding urban inhabitants with their neighborhoods and communities, both in domestic andinternational areas. Through activities that preserve local memories and uniqueness, the Institute is able to mobilize a more respectful attitude toward the value of diversity and humanity, and to contribute to an acknowledgement of the uniqueness of Asian cultures. A wave of conservation is quietly taking place all over the world. People began to understand that there could be contributions among countries on cultural conservation; not just on commercial investments or ecological exploitation. How we started Yaoshan Cultural Foundation was established at the end of 1986 in Taipei, Taiwan with the mission to cleanse the environment and to protect resources. Since April 1987, a series of activities took place with the leadership of Alice R.H. Chiu; Executive Director of the Foundation.

Taiwan

Institute for Historical Resources Management


74

One of the most celebrated civil movement that Chiu led was an act dedicated to saving Taipei’s only historical blocks Di-Hua Street from road widening projects and tear-downs. Yaoshan initiated the “I love DiHwa Street” campaign which included petition, guided public tours and assembly of volunteers to assist in the movement. It was the first civil conservation movement in Taiwan, just after the lifting of Martial Law by the authoritative government at the time. Many people nicknamed Yaoshan the fire fighters of conservation. We believe that instead of putting out urgent fires, conservation work should be about endurance and persistence, and the readiness to fight a long long war containing numerous battles large or small. Yaoshan is a grass-root organization, friendly with local communities, sensitive to the understanding of their needs and intervene by providing assistance; and to establish a cooperative relationship with other NGO/NPOs.

Taiwan

Networking and Cooperation - AWPNUC Starting late 80’s, we have been striving for the revitalization and regeneration of Asia’s tangible and intangible heritage. Attempting to introduce various kinds of new ideologies to inspire Asia’s conservation works. First via Chiu’s co-establishment of the Asia & West Pacific Network for Urban Conservation (AWPNUC) in 1992, then the International Field School for Asian Heritage (IFSAH) in 2002. We shares our diverse experiences with Taiwan and the rest of Asia, and continues to nurture talents throughout Asia. In 1992 when the series of UN Centre for Regional Development program (UNCRD) for urban conservation reached the end, at the last moment we decided to form a network called the AWPNUC. The idea is to network people from various cities in which the major players are the local activists, researchers and academics should take the supporting role. That was the first AWPNUC meet that started from Penang, Malaysia in 1992. Then we went to Adelaide, Australia, which was the sister city of Penang. The 3rd was in Hanoi, Vietnam, the 4th was held in Nara, Japan and 5th took place in Yogyakarta, Indonesia. Taiwan held the 6th in 1996, which was the last occurrence when Asia was hit by the Asian financial turmoil. Before we met again in Jan 2013 in the World Heritage City Penang, Malaysia, we formed a new “Asia Heritage Network” again trying to aim on the rapid economic development in some ASEAN countries.


75

IFSAH (International Field School on Asian Heritage) However, seeing AWPNUC being inactive, we started the International Field School on Asian Heritage (IFSAH) together with Tokyo University’s Professor Nishimura and started the first IFSAH in 2002 in various places throughout Thailand, learning from communities of Thailand’s diverse ethnicity, livelihood, craftsmanship, vernacular heritage, and local wisdom. Through then again in Malaysia for 2 weeks in 2003. The 3rd IFSAH was held after the earthquake in Northern India, 4th IFSAH was held in Yogyakarta and Kotagede where they needed assistance after disaster. Then there was the 5th, 6th, 7th, etc.

The Field School: The concept of a “field school” is adopted in this context with the apparent reasons to disseminate facts about certain conditions and attribute about the varied cultural entity of places in several Asian countries. This is to give more sense to every individual participating in the field school to really understand and appreciate the complexities that surround the principles of heritage conservation in the Asian context. On the physical attributes, there are different characteristics in different areas and places visited. There so many ways in which individuals, groups and stakeholders view these physical entities. There are philosophies guiding each intrinsic value in a particular community regarding their own heritage. There are different approaches undertaken by different agencies in the light of conserving the cultural heritage of certain localities. In short, there are so many inherent features portraying Asian

Taiwan

Main Objectives of IFSAH: To provide a platform for the exchange of experiences in cultural heritage planning and management in a range of Asian countries that will facilitate the development of “Asian standards” for cultural heritage planning and management. To share and understand the complexity of managing tangible cultural heritage sites ranging from listed World Heritage site to small urban historic quarters. To seek appropriate measures, principles and guidelines to improve the management of cultural heritage sites appropriate to Asian countries. We hope that we can work together and share the experiences. Our goal is every citizen may appreciate the heritage around them. More and more people are interested in urban conservation without knowing what it is or represents. To let them know the heritage, nothing is more important than public education; not for the expert, but for the common people.


76

cultural heritage that made it almost impossible to disseminate some of the facts in a confined “classroom-like” lectures. Being in the “field”, observing, listening to on-site explanation from various individuals/groups (authorities or the locals) and talking to these people, will bring better insight to the whole issue of cultural heritage and conservation. The participants for the “field trips” will comprise of mainly individuals from various fields of professions who have been actively involved in some major heritage conservation works in their own countries. They are rightly “experts” on their own fields with precious information and knowledge to share. Because of the varied nationality of the participants, it is anticipated that they will share their own experiences and to act in complementary to each other in understanding a common ground in the future to establishing the appropriate “Asian Chapter” for cultural resource conservation and management. Activities There are three main activities in the field school: Lectures on diversity of Asian heritage, experiences in applying international standards on “living cultural urban centres”, cultural heritage as tourism resources and management of heritage at local level. Resource persons were from Japan, Taiwan, Thailand, Indonesia, India and Malaysia.Field trips to places of cultural significance and urban historic communities. The trips included on-sites lectures, meeting with local authorities and residents, as well as exploration of urban conservation efforts and issues. Workshops among participants discussed and made presentation in relation to heritage management and proposal for Sungai Lembing Historical Park.International Symposium on Asian Heritage Conservation. This was a special highlighted program that brought speakers from various communities in the region who are actively in their own work on urban and cultural conservation in their own countries. It was a break from the norm whereby this time, academicians, professionals and other interested parties listened to ordinary people talking about their experiences pertaining to the issues on urban/cultural heritage.

Taiwan

Institute of Historical Resources Management Due to reasons not to be disclosed here, Yaoshan failed to extend services and operation as long as we have hoped. In place, our preparations for the establishment of “Institute of Historical Resources Management, IHRM” fell into place in June 2004 and continued our concern


77

Creative Challenges on the path to Urban Revitalization URS = A shared Hope for Tomorrow In 2011, Taipei put forth a new urban regeneration action framework that focuses on renaissance, innovation, synergy, and ecology as the main strategic points, symbolizing the city’s determination to pursue new dynamics that enable the city to leap forward. Taipei City Government initiated an innovating governance to promote the idea of creative city, called “Soft Urbanism”. Based on “Soft Urbanism”, Taipei launched the Urban Regeneration Station (URS) project, which uses the concept of “Urban Acupuncture” to coordinate urban contents and energize the city. Pronounced “yours”, the URS is named to be the project of everyone, of yours, while it does not follow any one specific model, it aims to give urban spaces a new mission. Over the past 4 years, URS have appeared in different corners of the city in all kinds of forms, continuously inviting professionals from different disciplines to participate in city building, put forth different ideas, and diversify the urban movement. With its openness, all kinds of thoughts can be absorbed; with its inclusiveness, all boundaries can be transcended. In addition to gradually enriching local urban images and lifestyle, URS can simultaneously inspire diverse thinking regarding urban values. Similar projects and spatial development plans have been launched by different municipal agencies as a result, and the effect of the URS project is now evident in many areas in Taiwan. Friends from other Taiwanese and foreign cities have visited Taipei and exchanged experience regarding urban transformation, and the independent operation of each URS has continued to attract more interdisciplin-

Taiwan

based on Taiwan historical culture and environment. Adhere to the role of a NGO through participation in international affairs and integration of communication, IHRM is a non-profit organization in Taiwan that promotes sustainability of historical resource, It is not only a research nor consulting service provider, we wish to be the thread and needle of cultural affairs, pick out specific problems and ensuring the progress of cultural preservation. We do not need to publicize ourselves, nor need recognition from everyone, we rather be discreet, just as long as someone carry on with continuing with the job and networking. We always incorporate “citizen participation” in the process through lectures, seminars, guided tours, overseas learning visitations, workshops, or mapping. We also value international cooperation as we have done prior, as a mean of expanding our horizon, and sharing knowhow.


78

ary participation and triggered more ideas. In addition to URS, the city government has also actively invited pioneers from different cities around the world to come to Taipei for exchange and interaction. Through Future Lab, we explore new possibilities for the future, and through Next Play, we try to examine the issues and facilitate dialogues. Externally, we attempt to induce a reformative urban thinking through diverse operations of URS Partner and URS Friends. From researchers to managers URS44—Dadaocheng Story House Besides research and studies, IHRM has reached a new milestone when we obtained the management right to URS44 Dadaocheng Story House and Futai Mansion 1910 in 2011 and 2014 respectively; we now can realize our ideologies in terms of historical resources management. These two buildings were both built during the Japanese Era, and are located in 2 of the 3 historical settlements in Taipei, giving us the opportunity to turn our ideologies and strategies into practice. Originally a mixed-use historical building on Dihua Street, the owner donated the building to the city government upon renovation. The building is named Dadaocheng Story House with the aim to promote the history of the Dadaocheng area. Through illustrating the traditional resources of the Dadaocheng historic blocks and the stories and history of the existing industries, such as tea, dried foods, Chinese herbs, and textile, the story house helps the community to recall their shared-memory, allowing different generations and communities to understand Taipei’s earliest-developed district. The Story House also interacts with both domestic and international groups to reexamine the neighborhood from different perspectives to develop an innovative future that enhances the area’s historical values. Futai Mansion 1910 The Taipei Walled City was built in 1884 by the Ching Regime, Japanese also used this area as its political center during the 50-year long occupation. Where the Ching’s Administration Office once stood, the Japanese had set up a new road named Futai Street, this Mansard Style Mansion is the only building left from that age, and therefore it was designated City Monument in 1997. Taiwan

The Mansion was built in 1910 by a Japanese construction com-


79

pany Takaishi as its headquarter. In 1930’s, Okura, the Japanese rice wine company, turned it into a shop and office. After WWII, it was once listed as dormitory of the Dept. of Defense, and had as many as 6 households living together in this 2-storey 147 m² house. In 2007, a fire nearly destroyed all its beauty, but 2014 it was newly opened as the “Taipei Photography Center” managed by IHRM. Hometown Safeguarding Program The concept of hometown safeguarding came from the love and understanding for each local township, where through field studies and hands on experience, training participants to ‘observe’, ‘listen’, and ‘discuss’ to achieve the most optimal communication with the community, amongst each other, and within oneself. If everyone knows how to love their ‘home’, then every place will be loved! If everyone guards their ‘home, then everywhere will be safe!

Asian Heritage Partner Network Over the years, we’ve worked with many organizations throughout Taiwan and Asia; the Machinami Hozon Renmei (The National Association on Settlements) from Japan has inspired us for more than 25 years; other friends include Macau, Malaysia, Thailand, Vietnam…. etc. We have been conducting researches in cooperation with foreign teams, students and sending volunteers and experts to various parts of Malaysia for heritage survey, seminars and lectures, survey and workshops. Alice Chiu, Secretary General of IHRM, received a grant from the Interchange Association Japan (IAJ) in 2011 to conduct research on the correlation between art festivals and regional revitalization. From her observation, research, interviews, research, Alice Chiu promoted the Echigo-Tsumari triennial and environmental symbiosis throughout Taiwan and even in many SEA countries. Throughout the years, we’ve made

Taiwan

Participants learn through culture, history, traditions, natural developments, existing conditions and resources about a place, then through map drawing, to identify participants’ awareness of the environment he/ she is in, and through couple days of lecture and group exercises, they learn to see things for others, give suggestions, and in return reflect back to their hometown. Through compare and contrast, looking at the past, present and future, the participants’ love for ‘home’ are triggered, and brings back a renewed heart to love their homes. Everyone can love their home, everyone can safeguard their hometown!


80

many friends and partners in urban conservation and heritage preservation, we’ve formed a non-institutional network to exchange our similarities and learn from our differences. We started the International Field School for Asian Heritage (IFSAH) in 2002; IHRM was 2005 Aichi Expo’s only Taiwanese partner; a workshop held in Pinglin gave the opportunity for Taiwan and Japan to exchange on the subject of tea, which later brought about the tourism cooperation project between New Taipei City and Shizuoka Province. Passengers can use the one-day pass from either side to get a free one-day pass from other side. Cooperation agreement continues until 2016. Moreover, from 2013 to 2016, we proudly take part in the Setouchi Art Triennale Festival ‘Asian Art Platform’ and ‘Fukutake House Development Project’ where we conduct art exhibition, cultural workshops, restored and reused a former post office; through recruiting students to participate in our projects, new inspirations are brought to the Fukuda community where the platform operates. For example, by introducing indigo dye workshop to the community ladies, they started using the local produce “olive” as dye material. Conclusion The management of historical resources doesn’t just froze in the process of preservation, it needs to contain the meaning of future prospect with an understanding and appreciation for local knowledge; so that history from the past becomes the nutrient for the future! Our work will never terminate. We would be glad to share our experiences with anyone interested. We have only one concept in mind – as long as you care, and consider yourself as a member of the global village, cultural resources and heritage is just as important, wherever it is, it is a place where you can roll up your sleeves and start working!

Taiwan


81

เครื อข่ ายสร้ างสรรค์

กับความร่ วมมือ

Alice Ru-Hwa Chiu ประธานสถาบันเพื่อบริ หารจัดการทรัพยากรประวัตศิ าสตร์ ไทเป สาธารณรัฐจีน (ไต้ หวัน)

จุดเริ่มต้ น เมื่อสิ ้นปี พ.ศ. 2529 มูลนิธิวฒ ั นธรรมเย่าซ่านก่อตังขึ ้ ้นที่กรุงไทเป ไต้ หวัน โดยมีพนั ธ กิจคือท�ำความสะอาดสิง่ แวดล้ อมและป้องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ตังแต่ ้ เดือนเมษายน 2530 มูลนิธิได้ จดั กิจกรรมขึ ้นหลายครัง้ ภายใต้ การน�ำของ Alice R.H. Chiu ประธานมูลนิธิ หนึง่ ในกิจกรรมประชาสังคมที่ประสบความส�ำเร็จสูงสุดภายใต้ การน�ำของ Chiu คือ การยับยังโครงการขยายถนนและรื ้ อ้ ถอนอาคารในพื ้นที่ประวัติศาสตร์ ถนนตี๋ฮวั โดยมูลนิธิเย่า ซ่านจัดรณรงค์ “ฉันรักถนนตี๋ฮวั ” ขึ ้น ประกอบด้ วยการยื่นหนังสือคัดค้ าน จัดทัวร์ น�ำประชาชน เข้ าชมพื ้นที่ และจัดตังกลุ ้ ม่ อาสาสมัครเพื่อสนับสนุนความเคลื่อนไหวนี ้ นับเป็ นความ

Taiwan

สถาบันเพื่อบริหารจัดการทรั พยากรประวัตศิ าสตร์ ก่อตังพ.ศ. ้ 2547 เป็ นองค์กรนอกภาครัฐที่ท�ำหน้ าที่ให้ ความรู้ แรงบันดาลใจ รวมทัง้ กระตุ้นชาวไต้ หวันให้ หนั มาใส่ใจชุมชนของตน เห็นคุณค่ามรดกวัฒนธรรมทังที ้ ่เป็ นวัตถุและ นามธรรม ตลอดจนกระตือรื อร้ นที่จะเข้ าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่เป็ นการเสริ มสร้ างชุมชน ปั จจุบนั ภารกิจหลักที่สถาบันต้ องการบรรลุคือท�ำให้ ประชากรเมืองมีความผูกพันกับ ชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ ทังในและต่ ้ างประเทศ ด้ วยการจัดกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ ความทรงจ�ำและ เอกลักษณ์เฉพาะประจ�ำพื ้นที่ สถาบันมีสว่ นท�ำให้ ประชาชนมีทศั นคติแง่ดีตอ่ ความหลาก หลาย มีมนุษยธรรม ทังยั ้ งเป็ นกลไกให้ เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมเอเชียเป็ นที่ร้ ูจกั ยอมรับยิ่งขึ ้น ด้ วย ขณะนี ้กระแสการอนุรักษ์ ก�ำลังก่อตัวขึ ้นเงียบๆ ทัว่ ทุกมุมโลก ผู้คนเริ่ มเข้ าใจว่าแต่ละ ประเทศต่างก็มีบทบาทในการอนุรักษ์ วฒ ั นธรรมทังสิ ้ ้น ไม่ใช่มีแต่การลงทุนท�ำการค้ าหรื อน�ำ ทรัพยากรนิเวศวิทยามาใช้ ประโยชน์ถ่ายเดียว


82

เคลื่อนไหวประชาสังคมครัง้ แรกของไต้ หวัน คล้ อยหลังจากที่รัฐบาลประกาศยกเลิกกฎอัยการ ศึกในประเทศเพียงไม่นาน หลายคนให้ สมญามูลนิธิเย่าซ่านว่าเป็ นต�ำรวจดับเพลิงส�ำหรับการอนุรักษ์ เราเชื่อ มัน่ ว่าแทนที่มงุ่ จะดับไฟตรงหน้ าเป็ นการเร่งด่วน งานอนุรักษ์ นา่ จะเป็ นการใช้ ความอดทน ไม่ ย่อท้ อ และแน่วแน่ที่จะต่อสู้สงครามอันยาวนาน มีสนามรบมากมายทังใหญ่ ้ น้อยคอยอยู่ เย่า ซ่านเป็ นองค์กรรากหญ้ าที่เป็ นมิตรกับชุมชนท้ องถิ่น ละเอียดอ่อนในการท�ำความเข้ าใจความ ต้ องการ และยื่นมือเข้ ามาให้ ความช่วยเหลือ เพื่อก่อร่างความสัมพันธ์ในลักษณะความร่วมมือ กับองค์กรนอกภาครัฐและองค์กรไม่หวังผลก�ำไรอื่นๆ การสร้ างเครื อข่ ายและความร่ วมมือ - AWPNUC ตังแต่ ้ ปลายทศวรรษที่ 80 เราทุม่ เทกับการคืนชีวิตและฟื น้ ฟูมรดกทังรู้ ปธรรมและ นามธรรมของเอเชีย โดยน�ำอุดมคติใหม่หลายอย่างมาเปิ ดตัวให้ เป็ นแรงบันดาลใจในการ ท�ำงานอนุรักษ์ เริ่ มจากเครื อข่ายอนุรักษ์ เมืองในทวีปเอเชียและแปซิฟิกตะวันตก (Asia & West Pacific Network for Urban Conservation – AWPNUC) ในปี 2535 ซึง่ Chiu เป็ นผู้ร่วมก่อตัง้ จากนันในปี ้ 2545 ก็จดั กิจกรรม โรงเรี ยนนานาชาติภาคสนามเพื่อมรดกเอเชีย (International Field School for Asian Heritage – IFSAH) ประสบการณ์อนั หลากหลายนี ้เราน�ำมาเผยแพร่ ทังในไต้ ้ หวันเองและประเทศอื่นในทวีปเอเชีย รวมทังบ่ ้ มเพาะบุคลากรผู้มีความสามารถทัว่ ทัง้ ทวีปอย่างต่อเนื่องด้ วย เมื่อปี 2535 นันโครงการศู ้ นย์พฒ ั นาภูมิภาคว่าด้ วยการอนุรักษ์ เมือง ของสหประชาชาติ (UN Centre for Regional Development for urban conservation – UNCRD) ถูกระงับไป เราจึงตัดสินใจในนาทีสดุ ท้ ายก่อตังเครื ้ อข่าย AWPNUC ขึ ้น ด้ วยเจตนาจะ รวบรวมผู้คนจากเมืองต่างๆ เข้ าด้ วยกัน โดยให้ นกั กิจกรรมในท้ องถิ่นเป็ นผู้มีบทบาทหลัก ส่วน นักวิจยั และนักวิชาการมีหน้ าที่สนับสนุนเท่านัน้ การประชุมครัง้ แรกของ AWPNUC จัดขึ ้นที่ปีนงั มาเลเซีย ในปี 2535 จากนันจึ ้ งย้ าย ไปเมือง อเดเลด ออสเตรเลีย ซึง่ เป็ นเมืองพี่น้องของปี นงั การประชุมครัง้ ที่สามจัดขึ ้นที่กรุง ฮานอย เวียดนาม ส่วนครัง้ ที่สี่คือ นารา ประเทศญี่ปนุ่ ครัง้ ที่ห้าจัดที่เมือง ยกยาการ์ ตา อินโดนีเซีย ไต้ หวันเป็ นเจ้ าภาพการประชุมครัง้ ที่ 6 พ.ศ. 2539 ซึง่ เป็ นครัง้ สุดท้ ายก่อนวิกฤต การเงินจะปะทุขึ ้นทัว่ เอเชีย เมื่อกลับมาพบปะกันอีกครัง้ ในเดือนมกราคม 2556 ในเมืองมรดก โลกปี นงั มาเลเซีย เราก็ก่อตัง้ เครื อข่ายมรดกเอเชีย (Asia Heritage Network) ขึ ้นใหม่อีกครัง้ โดยมุง่ เป้าไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบก้ าวกระโดดซึง่ เกิดกับหลายประเทศในทวีปเอเชีย โรงเรี ยนนานาชาติภาคสนามเพื่อมรดกเอเชีย (International Field School for Asian HeriTaiwan


83

tage – IFSAH) เมื่อ AWPNUC หยุดชะงักไป เราก็หนั ไปจับมือกับศาสตราจารย์นิชิมรู ะจาก มหาวิทยาลัยโตเกียว เปิ ดโรงเรี ยนนานาชาติภาคสนามเพื่อมรดกเอเชียขึ ้นในปี 2545 โดยใช้ สถานที่หลายแห่งทัว่ ประเทศไทย เป็ นการเรี ยนรู้เกี่ยวกับชุมชนหลากหลายชาติพนั ธุ์ของไทย วิถีชีวิต งานช่างฝี มือ มรดกพื ้นบ้ าน และภูมิปัญญาท้ องถิ่น ต่อมาก็น�ำมาปฏิบตั ใิ นมาเลเซีย เป็ นเวลา 2 สัปดาห์ในปี 2546 ส่วนกิจกรรม IFSAH ครัง้ ที่ 3 นันจั ้ ดขึ ้นหลังเหตุแผ่นดินไหวทาง ภาคเหนือของอินเดีย กิจกรรมครัง้ ที่ 4 จัดขึ ้นที่ ยกยาการ์ ตาและโกตาเกด ซึง่ ก�ำลังต้ องการ ความช่วยเหลือหลังหายนะภัย จากนันก็ ้ จดั ครัง้ ที่ 5, 6, 7 อย่างต่อเนื่อง

โรงเรี ยนภาคสนาม: การน�ำความคิด “โรงเรี ยนภาคสนาม” มาใช้ ในบริ บทนี ้มีเหตุผลคือ เพื่อแยกแยะข้ อ เท็จจริ งเกี่ยวกับสถานการณ์เฉพาะ และคุณลักษณะของแก่นแท้ ทางวัฒนธรรมของสถานที่ ต่างๆ ในหลายประเทศในเอเชีย ท�ำให้ ผ้ เู ข้ าร่วมกิจกรรมโรงเรี ยนภาคสนามทุกคนมีความเข้ าใจ และชื่นชมความซับซ้ อนของหลักการต่างๆ ในการอนุรักษ์ มรดกในบริ บทชาวเอเชีย เมื่อกล่าวถึงคุณลักษณะทางกายภาพ แต่ละพื ้นที่ที่เดินทางไปชมล้ วนมีบคุ ลิกที่แตก ต่าง บุคคล กลุม่ บุคคล และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียสามารถมองเห็นกายภาพดังกล่าวได้ หลายวิธี ค่านิยมแต่ละข้ อของชุมชนทีมีตอ่ มรดกของตนเอง ต่างมีปรัชญาความเชื่อเป็ นเครื่ องชี ้น�ำอยูท่ งั ้ สิ ้น การอนุรักษ์ มรดกวัฒนธรรมของพื ้นที่ใดๆ มักกระท�ำโดยหน่วยงานจ�ำนวนมากซึง่ ยึดวิถี ทางปฏิบตั ติ า่ งกันไป จึงสรุปได้ วา่ มรดกวัฒนธรรมของเอเชีย มีความเฉพาะตัวสูงจนแทบเป็ น ไปไม่ได้ ที่จะแยกแยะข้ อเท็จจริ งด้ วยวิธีบรรยายในห้ องเรี ยน ต้ องลงไปศึกษาในภาคสนาม

Taiwan

วัตถุประสงค์ หลักของ IFSAH: เพื่ อ เป็ น เวที แ ลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก ารวางแผนและจัด การมรดกวัฒ นธรรม ครอบคลุมประเทศต่างๆ ในเอเชีย เป็ นหนทางสูก่ ารพัฒนา “มาตรฐานเอเชีย” ว่าด้ วยการ วางแผนและจัดการมรดกวัฒนธรรม เพื่อแลกเปลี่ยนและท�ำความเข้ าใจความซับซ้ อนของการ จัดการพื ้นที่มรดกวัฒนธรรมที่เป็ นรูปธรรม ครอบคลุมตังแต่ ้ พื ้นที่มรดกโลกไปจนถึงย่านเล็กๆ ในเมืองที่มีความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ เพื่อหามาตรการ หลักการ และแนวทางปฏิบตั ทิ ี่ เหมาะสมสามารถปรับปรุงการจัดการพื ้นที่มรดกวัฒนธรรมในประเทศเอเชียให้ ดีขึ ้นได้ เรามี ความหวังที่จะท�ำงานร่วมกัน และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้ วยเป้าหมายคือประชาชนทุกคน สามารถชื่นชมมรดกที่ห้อมล้ อมตนอยูไ่ ด้ ผู้ที่สนใจการอนุรักษ์ เมืองทวีจ�ำนวนขึ ้นทุกขณะแม้ จะ ไม่ร้ ูวา่ นี่คืออะไร เป็ นตัวแทนของอะไร หากต้ องการให้ คนเหล่านี ้รู้จกั มรดกของตน ไม่มีอะไร ส�ำคัญกว่าการให้ การศึกษาแก่สาธารณชน ไม่ใช่ให้ แก่ผ้ เู ชี่ยวชาญ แต่ให้ กบั คนทัว่ ไปต่างหาก


84

สังเกต รับฟั ง ค�ำอธิบายจากหลายๆ คน หลายๆ กลุม่ (จะเป็ นเจ้ าหน้ าที่หรื อชาวบ้ านก็ตาม) ณ สถานที่จริ ง จึงจะท�ำความเข้ าใจปั ญหาทังหมดของการอนุ ้ รักษ์ มรดกวัฒนธรรมได้ จริ ง ผู้เข้ าร่วม “เดินทางภาคสนาม” ประกอบด้ วยบุคลากรสาขาวิชาชีพต่างๆ ซึง่ มีบทบาท ในงานอนุรักษ์ มรดกชิ ้นส�ำคัญๆ ในประเทศของตน เนื่องจากทุกคนเป็ น “ผู้ช�ำนาญการ” ใน สาขาของตนจึงเป็ นแหล่งข้ อมูลและขุมความรู้ที่ควรค่าแก่การเผยแพร่ เมื่อมีผ้ เู ข้ าร่วมจาก หลายชาติหลายภาษาจึงเป็ นที่คาดหมายว่าต่างคนจะเผยแพร่ ประสบการณ์ของตนและช่วย เหลือกันและกันในการท�ำความเข้ าใจจุดยืนร่วม เพื่อก่อตัง้ “ส�ำนักงานสาขาเอเชีย” ว่าด้ วยการ อนุรักษ์ จดั การทรัพยากรวัฒนธรรมให้ ส�ำเร็จในอนาคต กิจกรรม กิจกรรมหลักของโรงเรี ยนภาคสนามมีสามส่ วนคือ: บรรยายเกี่ยวกับความหลากหลายของมรดกเอเชีย ประสบการณ์ในการน�ำมาตรฐาน สากลมาใช้ ใน “ศูนย์วฒ ั นธรรมเมืองที่มีชีวิต” มรดกวัฒนธรรมในฐานะทรัพยากรการท่องเที่ยว และการจัดการมรดกในระดับท้ องถิ่น โดยผู้บรรยายจากญี่ปนุ่ ไต้ หวัน ประเทศไทย อินโดนีเซีย อินเดีย และมาเลเซีย มีการเดินทางไปเยี่ยมชมสถานที่ส�ำคัญทางวัฒนธรรมและชุมชน ประวัตศิ าสตร์ ในเมือง โดยบรรยายในสถานที่จริ ง พบปะตัวแทนหน่วยงานท้ องถิ่นและชาว บ้ าน รวมทังส� ้ ำรวจการท�ำงานและปั ญหาอุปสรรคในการอนุรักษ์ เมือง มีการประชุมปฏิบตั กิ าร โดยผู้เข้ าร่วมเพื่ออภิปรายและน�ำเสนอการจัดการมรดก จัดท�ำร่างโครงการอุทยาน ประวัตศิ าสตร์ สไุ หงเล็มบิง เสนอต่อที่ประชุมนานาชาติวา่ ด้ วยการอนุรักษ์ มรดกเอเชีย นับเป็ น กิจกรรมที่โดดเด่นเพราะน�ำผู้บรรยายจากชุมชนต่างๆ ในภูมิภาคซึง่ มีสว่ นส�ำคัญในงานอนุรักษ์ เมืองและวัฒนธรรมในประเทศของตนมาพูด ตรงข้ ามกับการประชุมทัว่ ไป จึงเป็ นโอกาสที่นกั วิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ และภาคส่วนอื่นๆ ที่สนใจจะได้ รับฟั งคนธรรมดาเหล่านี ้บอกเล่าถึง ประสบการณ์ของตนเกี่ยวกับปั ญหาเรื่ องมรดกเมือง/วัฒนธรรม สถาบันบริการจัดการทรั พยากรประวัตศิ าสตร์ ด้ วยเหตุผลที่ไม่อาจกล่าวในที่นี ้ได้ มูลนิธิเย่าซ่านจึงไม่สามารถปฏิบตั หิ น้ าที่ได้ ยาวนานดังที่เราหวัง จนมีการก่อตัง้ “สถาบันบริ หารจัดการทรัพยากรประวัตศิ าสตร์ ” (Institute of Historical Resources Management - IHRM) ขึ ้นแทนที่ในปี 2547 เพื่อสานต่อเจตนารมณ์ ในการปกป้องประวัตศิ าสตร์ วฒ ั นธรรมและสิง่ แวดล้ อมของไต้ หวัน นอกจากเข้ าร่วมกิจกรรม และติดต่อสื่อสารกับองค์กรระดับนานาชาติตามธรรมชาติขององค์กรพัฒนาเอกชนแล้ ว IHRM ยัง เป็ น องค์ ก รไม่ แ สวงผลก� ำ ไรแห่ ง หนึ่ ง ของไต้ ห วัน ที่ ส่ ง เสริ ม ความยั่ง ยื น ของทรั พ ยากร Taiwan


85

ความท้ าทายด้ านการสร้ างสรรค์ เพื่อฟื ้ นคืนชีวติ ให้ เมือง URS = ช่ วยกันหวังถึงอนาคตที่ดี ในปี 2554 กรุงไทเปวางกรอบปฏิบตั ใิ หม่วา่ ด้ วยการฟื น้ ฟูเมือง โดยมุง่ ใช้ ยทุ ธศาสตร์ การฟื น้ ฟู นวัตกรรม การท�ำงานร่วมกัน และนิเวศวิทยา เป็ นหลัก เพื่อเป็ นสัญลักษณ์ถงึ ความ มุง่ มัน่ ในการใช้ กรอบนี ้น�ำทางเมืองไปข้ างหน้ า รัฐบาลนครไทเปจึงเริ่ มใช้ กลไกใหม่ในการส่ง เสริ มแนวคิดเมืองสร้ างสรรค์ เรี ยกว่า “Soft Urbanism” จากนันกรุ ้ งไทเปก็เปิ ดโครงการ สถานี ฟื น้ ฟูเมือง (Urban Regeneration Station - URS) ใช้ แนวคิด “ฝังเข็มเมือง” เพื่อประสานงาน ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ และเติมพลังงานให้ กบั เมือง URS นี ้ออกเสียงว่า yours คือตังใจจะ ้ ให้ เป็ นโครงการส�ำหรับทุกคน เป็ นโครงการของคุณ ซึง่ ไม่ยดึ ที่ไหนเป็ นแม่แบบ แต่มงุ่ เปิ ดพื ้นที่ ในเมืองให้ ใช้ ท�ำภารกิจใหม่ ตลอดระยะเวลา 4 ปี URS ปรากฏตัวขึ ้นทุกมุมเมืองในรูปแบบ หลากหลาย เชื ้อเชิญบุคลากรจากหลายสาขาให้ มาร่วมมือกันสร้ างเมือง ผลักดันความคิดที่ แตกต่าง สร้ างความหลากหลายให้ ความเคลื่อนไหวของเมือง ด้ วยแนวทางที่เปิ ดกว้ างจึง รองรับความคิดที่กว้ างขวาง ข้ ามพ้ นเส้ นเขตแดนที่เคยขวางกัน้ นอกจากค่อยๆ เสริ มภาพ ลักษณ์และไลฟ์ สไตล์ของชาวเมืองแล้ ว URS ยังกระตุ้นให้ เกิดค่านิยมที่หลากหลายเกี่ยวกับ เมือง หน่วยงานเทศบาลหลายต่อหลายแห่งพากันเปิ ดโครงการและวางแผนพัฒนาเชิงพื ้นที่ ตามแนวทางนี ้ ผลจากโครงการ URS จึงเห็นได้ ชดั ในหลายพื ้นที่ในไต้ หวัน ผู้มาเยือนจากเมือง อื่ น ในไต้ ห วัน และต่า งประเทศหลั่ง ไหลมายัง ไทเปเพื่ อ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก ารพลิก โฉมหน้ าเมือง นอกจากนี ้การปฏิบตั งิ านเป็ นเอกเทศของ URS แต่ละแห่งยังเป็ นเครื่ องดึงดูดให้ เกิดการมีสว่ นร่วมในลักษณะสหสาขาวิชา และกระตุ้นให้ เกิดแนวคิดใหม่ๆ อยูต่ ลอดเวลาด้ วย

Taiwan

ประวัตศิ าสตร์ เราไม่ได้ ท�ำหน้ าที่วิจยั หรื อให้ ค�ำปรึกษาเท่านัน้ แต่ต้องการรับบทบาทรอบด้ าน ในงานเกี่ยวกับวัฒนธรรม เป็ นผู้ชี ้ปั ญหาที่ต้องแก้ ไข และน�ำกระบวนการอนุรักษ์ วฒ ั นธรรมมา ใช้ ด้วย เราไม่จ�ำเป็ นต้ องโฆษณาเผยแพร่ตวั เอง ไม่ปรารถนาการยอมรับจากใคร และยินดีที่จะ ท�ำงานไปเงียบๆ ตราบที่ยงั มีผ้ สู ืบทอดภารกิจและเครื อข่ายนี ้ เราผนวก “ความร่วมมือจากประชาชน” เป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนการท�ำงานตลอด มา โดยการบรรยาย สัมมนา มัคคุเทศก์น�ำเที่ยว เดินทางดูงานต่างประเทศ ประชุมปฏิบตั กิ าร และการจัดท�ำแผนที่ ขณะเดียวกันเรายังเห็นค่าของความร่วมมือระดับนานาชาติเช่นที่เคยท�ำ มาก่อน เพราะช่วยขยายโลกทัศน์และแลกเปลี่ยนทักษะความช�ำนาญได้


86

นอกเหนือจาก URS รัฐบาลนครไทเปยังเชิญผู้บกุ เบิกจากเมืองต่างๆ ทัว่ โลกให้ มาแลกเปลี่ยน และพบปะกัน โดยจัดโครงการ ห้ องทดลองอนาคต ส�ำรวจความเป็ นไปได้ ตา่ งๆ ส�ำหรับอนาคต และโครงการ Next Play เพื่อสอบทานปั ญหาและอ�ำนวยความสะดวกให้ แก่การเจรจา ส่วน การด�ำเนินการภายนอก เรามีเจตนาจะชักน�ำการคิดเชิงปฏิรูปเมืองผ่านการปฏิบตั งิ านของ ภาคี URS และมิตร URS จากนักวิจยั สู่ผ้ ูบริหารจัดการ URS44 บ้ านเล่ าเรื่ องต้ าเต้ าเซิง นอกจากการศึกษาวิจยั IHRM ยังบรรลุยา่ งก้ าวส�ำคัญก้ าวใหม่เมื่อได้ รับสิทธิ์เป็ นผู้ บริ หารจัดการ URS44 บ้ านเล่าเรื่ องต้ าเต้ าเซิง และคฤหาสน์ฟไู้ ถ 1910 ในปี พ.ศ. 2554 และ 2557 ตามล�ำดับ ท�ำให้ สามารถน�ำแนวคิดการจัดการทรัพยากรประวัตศิ าสตร์ มาแปรเป็ น ความจริ งได้ อาคารทังสองแห่ ้ งสร้ างขึ ้นสมัยญี่ปนุ่ ปกครอง และตังอยู ้ ใ่ น 2 ใน 3 ชุมชน ประวัตศิ าสตร์ ยคุ ตังถิ ้ ่นฐานของไทเป จึงเป็ นโอกาสอันดียิ่งที่จะน�ำนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่มี มาใช้ ปฏิบตั งิ าน เดิมอาคารประวัตศิ าสตร์ บนถนนตี๋ฮวั หลังนี ้มีการใช้ งานแบบผสมผสาน หลังจาก ซ่อมแซมเสร็ จเจ้ าของก็บริ จาคตึกนี ้ให้ กบั รัฐบาลเมือง โดยตังชื ้ ่อว่า บ้ านเล่าเรื่ องต้ าเต้ าเซิง ด้ วยเจตนาจะใช้ สง่ เสริ มประวัตศิ าสตร์ ยา่ นต้ าเต้ าเซิง บ้ านเล่าเรื่ องแห่งนี ้แสดงภาพของ ทรัพยากรเก่าแก่ในย่านประวัตศิ าสตร์ ต้าเต้ าเซิง รวมทังเรื ้ ่ องเล่าและประวัตศิ าสตร์ ของ อุตสาหกรรมต่างๆ ที่พบเห็นได้ เช่น ชา อาหารแห้ ง สมุนไพรจีน และสิง่ ทอ บ้ านเล่าเรื่ องช่วยให้ ชุมชนร� ำลึกถึงความทรงจ�ำที่มีร่วมกัน ให้ ผ้ คู นต่างวัย ต่างชุมชนได้ เข้ าใจพื ้นที่แห่งแรกของ ไทเปที่มีการพัฒนาขึ ้นเป็ นเมือง นอกจากนันบ้ ้ านเล่าเรื่ องยังมีปฏิสมั พันธ์กบั กลุม่ ต่างๆ ทังใน ้ และต่างประเทศเพื่อวิเคราะห์พื ้นที่นี ้ด้ วยมุมมองที่แตกต่าง ท�ำให้ สามารถพัฒนาอนาคตอย่าง มีนวัตกรรมและเสริ มคุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ ของย่านไปในตัว คฤหาสน์ ฟ้ ูไถ 1910 ก�ำแพงเมืองไทเปสร้ างขึ ้นเมื่อพ.ศ. 2427 สมัยราชวงศ์ชิง ญี่ปนุ่ ก็ใช้ พื ้นที่นี ้เป็ น ศูนย์กลางทางการเมืองระหว่างการยึดครองนาน 50 ปี บริ เวณที่เคยเป็ นที่วา่ ราชการเมืองของ ราชวงศ์ชิง ญี่ปนุ่ ตัดถนนใหม่ชื่อฟูไ้ ถผ่าน ตึกหลังคาซ้ อนสองชันนี ้ ้เป็ นอาคารแห่งเดียวที่ ตกทอดมาจากยุคนัน้ จึงได้ รับแต่งตังเป็ ้ นอนุสรณ์สถานประจ�ำเมืองในปี 2540 Taiwan


87

คฤหาสน์ฟไู้ ถ 1910 ก่อสร้ างในปี 2453 โดยบริ ษัทก่อสร้ างของญี่ปนุ่ ชื่อทาคาอิชิ เพื่อ เป็ นที่ท�ำการบริ ษัท สองทศวรรษต่อมา บริ ษัทเหล้ าสาเกชื่อ โอกุระ ก็เข้ ามาใช้ เป็ นส�ำนักงาน และร้ านค้ า หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เคยใช้ เป็ นบ้ านพักของกระทรวงกลาโหม โดยมีผ้ อู าศัย พร้ อมกันมากที่สดุ ถึง 6 ครอบครัวในอาคารสองชันพื ้ ้นที่ 147 ตารางเมตร เมื่อถึงปี 2550 เกิด เหตุเพลิงไหม้ ขึ ้นหนึง่ ครัง้ แต่พอถึงปี 2557 ก็มีการเปิ ดใช้ ใหม่เป็ น “ศูนย์ภาพถ่ายไทเป” ภายใต้ การจัดการของ IHRM

เครื อข่ ายภาคีมรดกเอเชีย หลายปี ที่ผ่านมาเราได้ ร่วมงานกับองค์กรมากมายทัง้ ในไต้ หวันและทัว่ ทวีปเอเชีย สมาคมว่าด้ วยการตังถิ ้ ่นฐานแห่งชาติ (The National Association on Settlements - Machinami Hozon Renmei) ของญี่ปนุ่ เป็ นแรงบันดาลใจให้ เรามานานกว่า 25 ปี รวมทังมิ ้ ตรสหาย อื่นๆ จากมาเก๊ า มาเลเซีย ไทย เวียดนาม เราร่ ว มมื อ กับ คณะท� ำ งานและนัก ศึก ษาต่า งชาติ ท� ำ งานวิ จัย หลายต่อ หลายชิ น้ ส่งอาสาสมัครและผู้เชี่ยวชาญไปยังพืน้ ที่หลายแห่งในมาเลเซียเพื่อส�ำรวจมรดกวัฒนธรรม จัดสัมมนา บรรยาย และประชุมปฏิบตั กิ าร

Taiwan

โครงการปกป้ องบ้ านเกิด แนวคิดการปกป้องบ้ านเกิดมาจากความรักความเข้ าใจที่มีตอ่ ย่านเล็กๆ แต่ละแห่ง โดยใช้ การศึกษาภาคสนามประกอบกับประสบการณ์ที่สมั ผัสได้ ด้วยตนเอง เป็ นการฝึ กผู้เข้ า ร่วมกิจกรรมให้ ร้ ูจกั สังเกต รับฟั ง และอภิปราย เพื่อใช้ การสื่อสารกับชุมชน การสื่อสารระหว่าง กันและกัน และการสื่อสารกับตนเอง ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด เมื่อทุกคนรู้จกั รัก “บ้ าน” ของ ตนเอง สถานที่ทกุ แห่งก็จะเป็ นที่รักได้ เมื่อทุกคนปกป้อง “บ้ าน” ของตนเอง สถานที่ทกุ แห่งก็ จะเป็ นที่ที่ปลอดภัย ผู้ร่วมกิจกรรมได้ เรี ยนรู้สถานการณ์ปัจจุบนั และทรัพยากรของพื ้นที่ ผ่านวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ขนบธรรมเนียม และการพัฒนาตามธรรมชาติ จากนันใช้ ้ การวาดแผนที่เพื่อ จ�ำแนกความตระหนักของผู้เข้ าร่วมต่อสิง่ แวดล้ อมที่ตนเองอยู่ หลังจากการบรรยายและท�ำ แบบฝึ กหัดกลุม่ เป็ นเวลาสองวันก็จะรู้จกั มองสิง่ ต่างๆ จากมุมมองของคนอื่น ให้ ค�ำแนะน�ำ และ ทบทวนสิง่ ที่เกิดในบ้ านเกิดของตน โดยเปรี ยบเทียบข้ อที่เหมือนและแตกต่าง มองไปยังอดีต ปั จจุบนั และอนาคต เมื่อ “ความรัก” ต่อ “บ้ าน” เกิดขึ ้นกับผู้เข้ าร่วมกิจกรรมแล้ ว ทุกคนก็จะ กลับไปด้ วยความรักที่หวนคืนมา ทุกคนรักบ้ านได้ ทุกคนช่วยปกป้องบ้ านเกิดของตัวเองได้


88

Alice Chiu ประธาน IHRM ได้ รับทุนจาก สมาคมแลกเปลี่ยนญี่ปนุ่ (Interchange Association Japan - IAJ) ในปี 2554 ให้ ท�ำงานวิจยั ความสัมพันธ์ระหว่างเทศกาลศิลปะกับการเติม พลังให้ ภมู ิภาค จากการสังเกต วิจยั สัมภาษณ์ รวมทังโฆษณาเผยแพร่ ้ เทศกาลศิลปะ Echigo-Tsumari triennale และการอยูร่ ่วมกับสิง่ แวดล้ อมโดยยังประโยชน์ซงึ่ กันและกัน ทังใน ้ ไต้ หวันและหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วย ตลอดหลายปี นี ้เราได้ ร้ ู จกั เพื่อนจ�ำนวนมากและร่ วมเป็ นภาคีด้านการอนุรักษ์ เมือง และการอนุรักษ์ มรดกวัฒนธรรมกัน เราก่อตังเครื ้ อข่ายอย่างไม่เป็ นทางการเพื่อแลกเปลี่ยนสิง่ ที่มีตรงกันและเรี ยนรู้จากความแตกต่าง หลังจากเริ่ มโครงการโรงเรี ยนภาคสนามนานาชาติ เพื่อมรดกเอเชีย (IFSAH) ในปี 2545 IHRM เป็ นภาคีรายเดียวจากไต้ หวันที่ไปร่วมงานแสดง Aichi Expo ในปี 2548 การประชุมปฏิบตั กิ ารที่ Pinglin เป็ นโอกาสให้ ไต้ หวันและญี่ปนุ่ ได้ แลก เปลี่ยนความรู้เรื่ องชากัน จนต่อมาขยายผลเป็ นโครงการความร่วมมือด้ านการท่องเที่ยว ระหว่างนครไทเปใหม่กับจังหวัดชิซูโอกะซึ่งผู้โดยสารที่ถือตัว๋ เดินทางหนึ่งวันของเมืองหนึ่ง สามารถใช้ แลกตัว๋ หนึง่ วันของอีกเมืองได้ โดยไม่เสียค่าใช้ จา่ ย ความร่วมมือนี ้จะมีตอ่ เนื่องไป จนถึงพ.ศ.2559 นอกจากนันเรายั ้ งได้ รับเกียรติร่วมเทศกาลศิลปะ Setouchi Art Triennale “เวทีศลิ ปะเอเชีย” และ “โครงการพัฒนาบ้ านฟุกตุ าเกะ” ซึง่ เราได้ จดั นิทรรศกาลศิลปะ ประชุม ปฏิบตั กิ ารทางวัฒนธรรม ฟื น้ สภาพและใช้ งานส�ำนักงานไปรษณีย์เก่า โดยรับสมัครนักเรี ยน นักศึกษาร่วมโครงการ มีการสร้ างแรงบันดาลใจใหม่ให้ ชมุ ชนฟูกดู ะ ซึง่ เป็ นที่จดั กิจกรรม โดย จัดประชุมปฏิบตั กิ ารผ้ าย้ อมครามให้ สตรี ในชุมชน จนมีการน�ำพืชผลพื ้นบ้ านคือ “มะกอก” มา ใช้ เป็ นวัสดุย้อมด้ วย สรุ ป การบริ หารจัดการทรัพยากรประวัติศาสตร์ ไม่ได้ ยตุ ิอยู่ที่กระบวนการอนุรักษ์ เท่านัน้ แต่ต้องมีความหมายของความมัง่ คงในอนาคตบรรจุอยูด่ ้ วย ด้ วยความเข้ าใจและชื่นชมในองค์ ความรู้ท้องถิ่น ประวัตศิ าสตร์ จากอดีตจึงจะเปลี่ยนเป็ นอาหารหล่อเลี ้ยงอนาคตให้ เราได้ งานของเรานันไม่ ้ มีวนั สิ ้นสุด เรายินดีที่จะแบ่งปั นประสบการณ์กบั ใครก็ตามที่สนใจ เรามีความ คิดเดียวเท่านันในใจคื ้ อ ตราบใดที่เราใส่ใจ และนับตัวเองเป็ นสมาชิกคนหนึง่ ของหมูบ่ ้ านโลก ทรัพยากรวัฒนธรรมและมรดกล้ วนแต่ส�ำคัญเสมอกันทังสิ ้ ้น ไม่วา่ จะพบอยูท่ ี่ไหน ตรงนันก็ ้ จะ เป็ นที่ซงึ่ ทุกคนสามารถม้ วนแขนเสื ้อขึ ้นแล้ วตังหน้ ้ าตังตาท� ้ ำงานได้ ทนั ที Taiwan


89

‘Towards recovering a heritage of self-reliance through craft: from India’ Dr. Aarti Kawlra

Dr. Aarti Kawlra is Affiliate Fellow at the International Institute of Asian Studies (IIAS) Leiden, The Netherlands and formerly Fellow at the Nehru Memorial Museum and Library (NMML) New Delhi, India. Her research interests are in the area of material culture, economic anthropology, artisans and globalisation and cultural politics of craft development. As the IIAS Mellon convener of the project (2014-16) she has sought to interrogate craft and its deployments in different Asian contexts through the forum ‘Uses of Culture and Cultural Heritage in Asian contexts’ http://www.rethinking.asia/. Her recent publications include ‘Sari and the narrative of nation’ in the anthology Global Textile Encounters, Oxbow Books, 2014; ‘Duplicating the Local: GI and the politics of place in south India’ NMML Occasional Paper NS: 29, 2014 and ‘ICT-mediated development for whom?’ in Annuaire Roumaind’Anthropologie 50, 2013. A book manuscript, probing the re-articulation of caste through work among a community of silk handloom weavers in south India, is currently under revision for publication.

Republic of India

Affiliate Fellow, IIAS Leiden, The Netherlands Former Fellow, Nehru Memorial Museum & Library, New Delhi India


90

Abstract: Is design our craft future? Can we sustain continuing traditions of craft practice on the basis of market responsive design inputs and interventions alone? Global art, fashion and tourism worldwide have recast artisanal products into globally desirable goods. This has mobilised craftproud nations like India to respond to the growing fascination for the ‘handmade’ and to the forces of global capital through design entrepreneurship. Artisans, on the other hand, constitute the labour backbone of the craft sector. They continue to struggle to access basic citizenship rights to work, respect, livelihood and ecological security. This talk reopens the triangulations between craft, industry and design as they were framed, interpreted and argued since the British colonial period to illuminate some key ideas and experiments of Gandhi and Tagore on self-reliance through craft. Extended Abstract

Republic of India

Is design our craft future? Can we sustain continuing traditions of craft practice on the basis of market responsive design inputs and interventions alone? Global art, fashion and tourism have recast artisanal products into globally desirable goods worldwide. This has mobilised craft-proud nations like India to respond to the growing fascination for the ‘handmade’ and to the forces of global capital through design entrepreneurship. Artisans, on the other hand, constitute the labour backbone of the craft sector. They continue to struggle to access basic citizenship rights to work, respect, livelihood and ecological security. This talk reopens the triangulations between craft, industry and design as they were framed, interpreted and argued since the British period to illuminate some key ideas and experiments of Gandhi and Tagore on self-reliance through craft. During the colonial period in late nineteenth century India, perceptions of craft were based on the orientalisation of handmade products, skills, technologies and artisanal life-worlds within opposing frames of the ‘traditional’ and the ‘modern’. The ‘traditional’ was constructed in contradistinction to the ‘modern’ as a means of representing different civilizational foundations. Crafts in India and the rest of the non-western world embodied Europe’s pre-industrial past and evoked nostalgia for a bygone era. The official process of mapping and documenting Indian crafts as the commercial products of Empire, classified craft products as exotic, but


‘non-modern’, in administrative records. In the imperial vision crafts, not only validated the labelling of India as ‘traditional’ and unchanging but also, proclaimed the progressive modernization of the West in contrast to India’s ‘backwardness’. Resisting such a vision of handwork, anti-colonial intellectuals like Rabindranath Tagore (1861-1941) and M.K. Gandhi (1869-1948) rearticulated craft as an alternative to European capitalist industrialization. For them craft was an epitome of self-reliance and conveyed an image of economic and cultural growth distinct from that of the West. How did they use craftwork to address questions of the human condition in general? In this talk I shall discuss the social experiments of Tagore and Gandhi in re-imagining craft as a marker of human truths drawn from a common pool constituted as the antithesis of Europe in the “soul” of Asia. I shall show how both Tagore and Gandhi used craft as a metaphor of culture to elaborate notions of education, work and self-reliance. For Tagore, the university at Shantiniketan (‘abode of peace’) in eastern India was to be a site for the resurrection of a civilizational ethos of Asia trampled by western education. Tagore wrote in university bulletin in 1928 that the twin campus at Sriniketan aimed, “To bring back life in its completeness into the villages making them self-reliant and self-respectful….” By the 1930’s Sriniketan, had evolved into a laboratory of life where resident and guest experts, community workers and villagers jointly engaged in rural welfare and economic revitalization through craft. For Gandhi, the charkha (spinning wheel) was “indispensable article for every home”. The daily practice of spinning for him encapsulated a techno-cultural past that bore “not a message of ill-will towards the nations of the earth, but of good-will and self help”. At Sevagaon in western India, the centre for his experiments, Gandhi proposed the practice of a “useful productive handicraft” as means of rural resurgence. For him craft work, disassociated from the hierarchies and occupational interdependencies dictated by caste, was the true “medium of instruction” and occasion for building the foundations for equitable cooperation and self-reliance in basic human needs. In viewing craft as an axis for work and education, both Tagore and Gandhi envisioned the possibility of emancipatory transformation and self -reliance in the social, political and economic realms.

Republic of India

91


92

หัตถกรรมเพื่อฟื ้ นฟูมรดกการพึ่งพาตนเอง

ตัวอย่ างจาก สาธารณรั ฐอินเดีย

Dr. Aarti Kawlra

Affiliate Fellow, IIAS Leiden, The Netherlands Former Fellow, Nehru Memorial Museum & Library, New Delhi India

Dr. Aarti Kawlra นักวิจยั สมทบประจ�ำสถาบันนานาชาติเพื่อเอเชียศึกษา (International Institute of Asian Studies - IIAS) ประเทศเนเธอร์ แลนด์ อดีตนักวิจยั ประจ�ำพิพิธภัณฑ์และห้ องสมุดเนห์รูอนุสรณ์ (Nehru Memorial Museum and Library - NMML) นิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย หัวข้ อการวิจยั ที่ผา่ นมาประกอบด้ วย วัฒนธรรมวัตถุ มานุษยวิทยาเศรษฐศาสตร์ ช่างฝี มือ และโลกานุวตั รกับการเมือง วัฒนธรรมของการพัฒนาหัตถกรรม ได้ รับทุนมูลนิธิ Andrew W. Mellon ประจ�ำ โครงการ IIAS (2014-16) เธอศึกษาหัตถกรรมและการแปรเปลี่ยนรูปแบบหัตถกรรมใน บริ บทต่างๆ ในเอเชียผ่านเวทีสมั มนา ‘การใช้ วฒ ั นธรรมและมรดกวัฒนธรรมในบริ บท ต่างๆ ในเอเชีย’ http://www.rethinking.asia/ ผลงานตีพิมพ์ลา่ สุดของเธอประกอบ ด้ วย ‘ส่าหรี และเรื่ องเล่าของประเทศอินเดีย’ ใน ชุมนุมบทนิพนธ์ Global Textile Encounters, Oxbow Books, 2014; ‘คัดลอกส�ำเนาท้ องถิ่น: สิง่ บ่งชี ้ทางภูมิศาสตร์ ของ สินค้ า (GI) กับการเมืองว่าด้ วยถิ่นฐานในอินเดียใต้ ’ รายงานการวิจยั NMML NS: 29, 2014 และ ‘เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - สื่อกลางการพัฒนาเพื่อใคร?’ ใน Annuaire Roumaind’Anthropologie 50, 2013 รวมทังหนั ้ งสือว่าด้ วยการน�ำระบบ วรรณะกลับมาใช้ ผา่ นการท�ำงานในชุมชนทอผ้ าไหมในอินเดียใต้ ซึง่ ขณะนี ้อยูใ่ นขัน้ ตอนการแก้ ไขตรวจทานก่อนตีพิมพ์ Republic of India


93

อินเดียปลายคริ สต์ศตวรรษที่สบิ เก้ าในสมัยอาณานิคม มุมมองต่อหัตถกรรมนันจ� ้ ำกัดอยูเ่ พียง ผลิตภัณฑ์ท�ำมือ ใช้ ทกั ษะ เทคโนโลยี และวิถีชีวิตช่างฝี มือตามแบบชาวเอเชียเท่านัน้ โดยตีกรอบกันระหว่ ้ าง ฝ่ าย ‘ประเพณีนิยม’ กับ ‘สมัยใหม่’ งานที่เป็ น ‘ประเพณีนิยม’ นันประกอบสร้ ้ างขึ ้นให้ แตกต่างโดยสิ ้นเชิงกับ ‘สมัยใหม่’ เพื่อเป็ นตัวแทนแสดงรากฐานอารยะธรรมที่ไม่เหมือนกัน แม้ หตั ถกรรมอินเดีย รวมถึงของชาติอื่นที่ไม่ได้ เป็ นส่วนหนึง่ ของโลกตะวันตก จะมีเนื ้อแท้ ไม่ตา่ งจากอดีตของ ยุโรปก่อนยุคอุตสาหกรรม จึงกระตุ้นความหวนหาถึงวันเวลาที่ลว่ งไปแล้ วได้ แต่ตลอดเวลาที่ทางการรวมรวม จัดท�ำแผนที่แหล่งผลิตและบันทึกหลักฐานหัตถกรรมอินเดียขึ ้นในฐานะผลิตภัณฑ์เพื่อการค้ าของจักรวรรดินนั ้ หลักฐานเอกสารจะระบุวา่ ผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมเป็ นสินค้ าน�ำเข้ าจากต่างประเทศ ซึง่ ‘ไม่เป็ นสมัยใหม่’ เสมอ ในมุมมองของจักรวรรดิ หัตถกรรมไม่เพียงเป็ นเครื่ องตีตราอินเดียว่าเป็ นชาติ ‘ประเพณีนิยม’ ซึง่ ไม่ร้ ูจกั เปลี่ยนแปลงเท่านัน้ แต่ยงั ตอกย� ้ำว่าโลกตะวันตกก�ำลังก้ าวหน้ าเข้ าสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่ ตรงข้ ามกับอินเดียซึง่ ยัง ‘ล้ าหลัง’ อีกด้ วย เพื่อปฏิเสธทัศนะดังกล่าวที่มีตอ่ งานท�ำมือ ปราชญ์ฝ่ายต่อต้ านอาณานิคมบางท่านเช่น รพินท รนาถ ฐากุร (1861-1941) และมหาตมา คานธี (1869-1948) จึงหยิบยกเอาหัตถกรรมขึ ้นมาเป็ นทางเลือกที่ใช้ แทนการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ ระบอบทุนนิยมของยุโรป นักคิดทังสองมองว่ ้ าหัตถกรรมคือข้ อสรุปของ การพึง่ พาตนเอง เป็ นสื่อถ่ายทอดภาพความเติบโตทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมซึง่ ไม่ได้ ถอดแบบมาจากโลก ตะวันตก บัณฑิตทังสองใช้ ้ งานหัตถกรรมตอบค�ำถามเกี่ยวกับสภาวะซึง่ มนุษย์ทกุ คนประสพอย่างไรบ้ าง ผู้ บรรยายจะเล่าถึงการทดลองทางสังคมโดยฐากุรและคานธี ที่จินตนาการถึงหัตถกรรมในฐานะเครื่ องบ่งบอก สัจธรรมที่เกี่ยวข้ องกับมนุษย์ อันถ่ายทอดมาจาก ‘จิตวิญญาน’ ที่มีร่วมกันของชาวเอเชีย ซึง่ ตรงข้ ามกับยุโรป อย่างสิ ้นเชิง

Republic of India

บทคัดย่อฉบับสมบูรณ์: อนาคตของหัตถกรรมขึ ้นอยูก่ บั การออกแบบจริ งหรื อ? เราสามารถหยิบยกการออกแบบเพื่อสนอง ความต้ องการของตลาดมาแทรกแซงเพื่อสืบสานขนบการสร้ างหัตถกรรมให้ ยงั่ ยืนได้ หรื อไม่ ศิลปะ แฟชัน่ และการท่องเที่ยวที่หลัง่ ไหลเข้ ามาตามกระแสโลก ส่งผลให้ ผลิตภัณฑ์งานฝี มือกลาย เป็ นสินค้ าซึง่ เป็ นที่ต้องการของคนทังโลก ้ ความเคลื่อนไหวนี ้ผลักดันให้ ประเทศซึง่ เป็ นเอตทัคคะทางหัตถกรรม อย่างอินเดียต้ องหันมาตอบสนองความชื่นชมต่องาน ‘ท�ำมือ’ รวมทังพลั ้ งของทุนข้ ามชาติผา่ นทางผู้ประกอบ การรายย่อยด้ านการออกแบบ ขณะที่แรงงานซึง่ เป็ นกระดูกสันหลังของภาคหัตถกรรมคือ ช่างฝี มือ ยังประสบ อุปสรรคไม่สามารถเข้ าถึงสิทธิพื ้นฐานของพลเมืองทังด้ ้ านการท�ำงาน การให้ เกียรติ คุณภาพชีวิต และความ มัน่ คงทางนิเวศวิทยาได้ การบรรยายครัง้ นี ้เป็ นการย้ อนกลับมามองความสัมพันธ์สามเส้ าระหว่างหัตถกรรม อุตสาหกรรม และการออกแบบ เช่นที่เคยมีผ้ หู ยิบยกมาตีความและอภิปรายกันตังแต่ ้ ยคุ อาณานิคมอังกฤษ เพื่ อให้ ความกระจ่างแก่ แนวคิดหลักหลายประการของคานธี และฐากุรว่าด้ วยการพึ่งพาตนเองผ่านทาง หัตถกรรม


94

ผู้บรรยายจะแสดงให้ เห็นถึงวิธีการที่ทงฐากุ ั ้ รและคานธีใช้ หตั ถกรรมเป็ นอุปมาทางวัฒนธรรมเพื่อ เสริ มสร้ างความเข้ าใจในการศึกษา การท�ำงาน และการพึง่ ตนเอง โดยฐากุรใช้ มหาวิทยาลัยศานตินิเกตัน (ที่ พ�ำนักของสันติภาพ) ในภาคตะวันออกของอินเดียเป็ นสถานที่ฟืน้ ฟูรากฐานอารยะธรรมของเอเชียซึง่ ถูกการ ศึกษาแบบตะวันตกย�่ำยี ในปี ค.ศ. 1928 (พ.ศ. 2471) ฐากุรเขียนไว้ ในจดหมายข่าวของมหาวิทยาลัยว่า วิทยาเขตทังสองแห่ ้ งที่ศรี นิเกตันนันมี ้ วตั ถุประสงค์เพื่อ “น�ำชีวิตที่ครบถ้ วนสมบูรณ์กลับคืนมาสูห่ มูบ่ ้ านต่างๆ ท�ำให้ ชาวบ้ านรู้จกั พึง่ พาตนเอง เคารพตนเอง” เมื่อล่วงเข้ าทศวรรษที่ 30 ศรี นิเกตันก็ได้ วิวฒ ั นาการไปเป็ นห้ อง ทดลองการใช้ ชีวิต ซึง่ ทังผู ้ ้ เชี่ยวชาญประจ�ำวิทยาเขต นักวิชาการรับเชิญ นักชุมชนสงเคราะห์ และชาวบ้ าน ต่างมาร่วมกันพัฒนาสวัสดิการภาคชนบทและกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านทางหัตถกรรม ส่วนคานธีนนเห็ ั ้ นว่า กงปั่ นด้ าย (จักรา) เป็ น “เครื่ องใช้ ซงึ่ ทุกครัวเรื อนจะขาดเสียมิได้ ” ส�ำหรับท่าน การปั่ นด้ ายเป็ นวัตรปฏิบตั ทิ กุ วันคือการหยิบฉวยความรู้ทางเทคนิคและวัฒนธรรมของอดีตกาลซึง่ “ปราศจาก เจตนาร้ ายใดๆ ต่อนานาประชาชาติในโลก มีเพียงเจตนาดีและความต้ องการช่วยเหลือตนเองเท่านัน” ้ มาใช้ ศูนย์กลางการทดลองของท่านอยูท่ ี่ Sevagaon ภาคตะวันตกของอินเดีย คานธีเสนอให้ ทกุ คนใช้ “หัตถกรรมที่ ท�ำง่าย ใช้ งานได้ ประโยชน์” เพื่อเป็ นหนทางในการฟื น้ ฟูชนบท งานหัตถกรรมในสายตาของท่านเป็ นสิง่ ที่หลุด พ้ นจากล�ำดับชันทางสั ้ งคม เป็ นอาชีพอิสระไม่ยดึ โยงกับระบบวรรณะ จึงเป็ น “สื่อการสอน” ที่แท้ จริ ง ทังยั ้ งเปิ ด โอกาสให้ สามารถปลูกฝังรากฐานความร่วมมือบนความเท่าเทียม และตอบสนองความต้ องการพื ้นฐานของ มนุษย์ด้วยการพึง่ พาตนเองด้ วย เมื่อมองเห็นหัตถกรรมเป็ นแกนส�ำหรับการท�ำงานและการศึกษา ทังฐากุ ้ รและคานธีจงึ มองทะลุไป ถึงความเป็ นไปได้ ที่จะพลิกโฉม ปลดปล่อย และบรรลุการพึง่ พาตนเอง ทังทางสั ้ งคม การเมือง และ เศรษฐศาสตร์ ได้ ในที่สดุ

Republic of India


95

Bandung as a Creative

Entrepreneur Lab

Mr. Deden Hendan Durahman

Visual Art Study Program Faculty of Art & Design – Bandung Institute of Technology

Bandung is located 768 meters above sea level with a total area of 2,216.6 km2in the West Java province, Indonesia. It is a rather cooler place to live than any other big cities in Indonesia, surrounded by vast hills, mountains, forests and rich natural habitats. 8.6 million people, according to the 2011 census, inhabit this city. The history of Bandung started as, when it was founded in 1488, gained recognition in 1810, and became a municipality under the Dutch colonial government in 1906. During the colonial era, Bandung area was intended for plantations and farming (especially for the supply of tea, tobacco, coffee,milk,rice, and fruit) as the air and fertile soil fosters the development of successful agricultural business. These add significantly to the overall capital income of the Dutch government (1786). Bandung was developed to maintain the life of plantation owners who needed a decent place to stay or to retreat.

Republic of Indonesia

Bandung as Paris van Java


96

Wealthy plantation owners competed to build beautiful houses and the best infrastructure for Bandung. In its golden age (1930s), especially after the railroad from Batavia (now Jakarta) to Bandung was built, more people started to come to enjoy the city. There were numerous social clubs, luxurious hotels, residences, restaurants, cafes, art galleries, recital houses, theatres, horse tracks, and most of all fashion boutiques to be found in Bandung. Architects take part in many experiments to build Art Deco styled buildings, which eventually developed and initiated 5 new sub variants of Art Deco styles in Bandung’s architectural landscape. Bandung was the only Dutch colonial city that was plannedusing the European Garden City system. Because of how beautiful the city was planned and designed, it earned the nickname ‘Parijs van Java’ (The Paris of Java). Surely not long after, along with the thriving atmosphere and capital development, Bandung became the center of trends in art, fashion, music, design, and architecture; it even affected the trends in the Netherlands. Dutch people who came always went back with items from Bandung, mainly fabrics and other fashion products such as clothes, shoes, and hats. As well as being the backbone of agricultural supplies, Bandung was also the biggest textile producer for the Dutch colonial government. Aside from the glory it held during its golden age, Bandung was badly destroyed during the World War II. Most of the infrastructure was damaged, especially when its people burned the city down in an epic historical event namely “Bandung Sea of Flame” in 1946 as an effort to intervene the colonial government from taking over the city. Bandung as a Centre of Creative Industry Republic of Indonesia

Bandung nowadays has gone through many changes; it progressed from being a destroyed city to once again standing proudly like in its golden era, a city that was once named Paris van Java. Bandung has got back up on its feet and contributes largely in the national creative industry. Bandung does not only supply creative products from its own younger generation, but also was able to provide basic creative concepts that have been adopted in other Indonesian cities or even other cities internationally.


97

The populationsin Bandungconsistingof 68% people under 40s (National Census, 2013). Additionally, lot of higher education institutions located in Bandung. So far, there are 50 registered universities, from Diploma to Doctorate level. Most of them are considered to be some of the best school in art, design, and architecture in Indonesia. This composition together with unique profile of Bandung people that are also known as merry, open minded, easygoing and so on, has created clusters of “new industry”, mainly due to the younger generation from different backgrounds being concentrated in the same area where they are able to interact and share different experiences, ideas, interests and knowledge.

Bandung as the center of creative industry also gains advantages from being surrounded by satellite cities and towns, such as Garut, Sumedang, Tasik, and Bekasi. They provide not only Natural Resources but also Human Resources. Some of those areas are also known for their high quality materials, such aswoven fabrics, bamboos, leather, etc.and their people’s skills in working with those. In additional to Train, Bandung now have an easily and fast access from the capital city with the relatively new toll road that allows people to reach the city in just a couple of hours, this could also add to Bandung’s beneficial to expands the market wider to other cities in national level and also around the world.

Republic of Indonesia

Along with the new policies introduced by the former president Bambang Susilo Yudhoyono (SBY) on creative industry in 2007 and the encouragement from private sectors, Bandung’s younger creative generation thrives and is continuously challenged to expand their fresh business intention not only in the discourses of concepts and ideas, but also given a chance to faced with real business models in the professional field. This sort of campaign was actually done in the New Order regime under the former president Soeharto, Wiraswasta orWirausahathis campaign focused more on creating self-sustaining society that was able to generate new employment fields. The point was to see if new products or services could be initiated within a new system management and market model. However, it is only recently that we recognize the term ‘Entrepreneurship’.



98

Thailand’s Creative City Initiatives Chiang Mai, Sukhothai and Phuket Savitri Suwansathit

Advisor to the Ministry of Culture In consultation with the Creative City Teams of Chiang Mai, Sukhothai and Phuket

Republic of Thailand


99

Republic of Thailand


Republic of Thailand

100


101

Republic of Thailand


Republic of Thailand

102


103

Republic of Thailand


Republic of Thailand

104


105

Republic of Thailand


Republic of Thailand

106


107

Republic of Thailand


Republic of Thailand

108



109

The Transformation and New Value of Taiwan Indigo Dr .Wan-Lee Chen

Professor, Department of Theatrical Design and Technology Taipei National University of the Arts, Taipei

Dr. Wan-Lee Chen, professor at the Department of Theatrical Design and Technology at Taipei National University of the Arts. Her research and design interests include theater arts, traditional textiles and crafts. Recent teaching and research projects involve bridging traditional and contemporary arts with innovative and artistic approaches.

Abstract:

Taiwanese traditional indigo dyeing can be traced back to the 18th century. According to official records, in the mid-19th century the dye was the third most important of exported goods -- after rice and sugar. The development of cheap chemical dyes over a century ago, however, almost wiped out the traditional hand-dyeing industry with its high land and labor costs. Recently though, the situation has improved following the world-wide rise in concern for environmental health and sustainability. Since the 1990s, the National Taiwan Craft Research and Development Institute has been encouraging the growing of indigo, the reuse of tradi-

Taiwan

The use of natural indigo dye in textiles is one of the oldest crafts in history, the dye having been the world’s most valued and widely used for almost five millennia. Indigo was often referred to as ‘Blue Gold’ as it was an ideal trading commodity.


110

tional indigo dyeing techniques and the creation of a new attitude towards traditional indigo culture in Taiwan. This new approach is intended to transform indigo from an economic crop linked to the past to a cultural crop that meets present day tastes in commodities. The humanistic and natural features associated with traditional crafts have the potential to strengthen a community’s ties to its local produce and forge a new relationship between its historical and present- day identity. Already, after twenty years of effort, “Taiwan Indigo” has become an internationally recognized brand, a renewed creative industry and new cultural symbol of Taiwanese traditions. The making and use of indigo dye is no longer merely a process of endlessly repeated reproduction but a realization and reflection of the makers’ contemporary life and desires. Presentation: Introduction to the history of indigo The use of natural indigo dye in textiles and printing is one of the oldest crafts in history, the dye having been the world’s most valued and widely used for almost five millennia. Indigo was often referred to as ‘Blue Gold’ as it was an ideal trading commodity. The dye can be extracted from four different species of plants: Strobilanthes, Indigofera, Polygonum and Isatis indigtica. Many Asian countries, such as China, India, Japan, Thailand and other Southeast Asian nations have used indigo dye, which was also known to the ancient civilizations of Mesopotamia, Iran, Egypt and other parts of Africa, Britain, Mesoamerica and Peru. In China, the history of indigo dyeing can be traced back about 3700 years to the Shang dynasty. Indigo dye is, strongly embedded in Chinese history and culture. It was a popular color generally used for the clothes of the common people over thousands years. Its popularity enabled the dyeing industry to thrive -- because indigo dye was cheap and easy to dye, and stains showed less on dark blue clothes.

Taiwan

Taiwanese traditional indigo dyeing can be traced back to the late 18th century. The fertile land and warm, humid foggy monsoon weather in northern and central Taiwan provide ideal conditions for the cultivation of Strobilanthes and Indigofera plants, yielding two harvests a year. In the early 19th century, the rise of the textile industry in Europe and the ex-


111

panding Chinese market, created an ever growing demand for the raw materials of the ardent blue dye. The result was a great increase in the cultivation of indigo, which became a very important economic crop in Taiwan. According to official records, in the mid-19th century the raw material for the dye was the third most important of exported goods -after rice and sugar. From the 1880s, because of the successive wars in China, many Fujian dyers and workshops transferred to Taiwan. That incited a rise in the dyeing industry in Taiwan and the chief exported indigo product changed from raw dye to indigo dyed cloth. However, the Taiwanese traditional indigo industry declined rapidly during the Japanese colonization period (1895-1945) and stopped completely in the late 1940s. As yet another example of the global effects of the industrial revolution and mass production, it was principally the cheap chemical dyes that rendered the hand-dyeing industry non-existent for almost seven decades. Recently, with the worldwide rise in concerns over health and sustainability the situation has started to reverse. The development strategy for Taiwanese indigo

However, the reviving of the indigo industry is not easy. The early indigo industry required much land and manpower. Now production costs are high and return is low. To increase the market and match up with contemporary styles, new ideas are needed. Their are strategies being developed for an increase of the indigo market: 1. Identifying the traditional indigo industry as a heritage craft. Instead of the cheap mass production industry of the past, transforming the traditional way of production into a small cottage industry and emphasizing the humanistic side of indigo production, and its cultural, his-

Taiwan

Since the 1990s, the National Taiwan Craft Research and Development Institute (NTCRI) has been encouraging the growing of indigo, the return to traditional indigo dyeing techniques and the development of a new perspective on traditional indigo culture in Taiwan.


112

torical and craftsmanship aspects. 2. Emphasizing that the natural blue dye is a ‘green’ industry and helps ecological sustainability. In contrast to the high-polluting chemical dyes, the processing of the indigo dyeing is non-polluting. It takes from nature and returns to nature. The waste can be composted and used as organic fertilizer while the waste water is non-polluting. 3. Insisting that the dye, design, and products made in Taiwan maintain their quality and reputation and localizing production to facilitate the economic development of agriculture and increase tourism; and, by so doing, in places of historical value build up an inhabitant’s sense of identification with local culture. 4. Encouraging the diversification of business strategies that would help to promote the uniqueness of different dyers or dye communities and increase their market appeal to new consumers. Features of Taiwanese Indigo Those new approaches are intended to transform indigo from an economic crop in the past into a crop of cultural goods that satisfy contemporary tastes, and strengthen its competitive position internationally. These are the features of Taiwanese indigo dyeing: 1. Most of Taiwanese indigo dye is currently made from Strobilanthes, which has the largest leaf. Under the ideal weather conditions and the improved planting technology Strobilanthes grows with a high concentration of pigment which yields an excellent quality dye; the color is a specially dark but bright blue. 2. Taiwan has inherited its indigo dye culture and skills from southeast China. The raw dye, also called ‘blue mud’ in Taiwan, is created using a traditional sedimentation method of soaking, adding lime, and then using a fermentation-reduction process. This traditional process was improved by modern technology and, different to the past, taking only the leaves, not the whole plants, for the extraction of the blue pigment to reduced impurities and increase greater purity. Taiwan

3. In the dyeing process, the blue mud undergoes air, not water,


113

oxidation. Only one wash is needed after dyeing. As this reduces water-rinsing, it is more environmentally friendly than that of other countries. Initiatives of the NTCRI and the Taiwan Indigo Association The NTCRI has played an important part in initiating the renewal. Researcher Fen-Mei Ma in NTCRI was the key person working on it. She set up different projects to revive the interrupted indigo tradition: the growing of Strobilanthes and Indigofera plants and the recovery of the traditional techniques to extract blue mud and in the dyeing process itself. In 2001, she started professional training programs to promote and cultivate a new generation of talents and in 2005, with the support of NTCRI, she founded the Taiwan Indigo Association as a platform for the support of graduate students that want to be professional dyers.

There are about 60 members in the Association now. Most of the members are running independent dye workshops and have close connections with developments in their local communities. The humanistic and natural features of traditional crafts have the potential to strengthen a community’s ties with its local produce and to forge a new relationship between its past and present day identities. The principal historic indigo communities are the Sanshia district in Taipei County of northern Taiwan, the Hakka villages in the mountain areas and the Chungliao district in Nantou County in central Taiwan. They are all sites of traditional indigo culture and of community post-disaster rebuilding, each with its unique story to tell.

Taiwan

Now, the Taiwan Indigo Association is the most important organization devoted to facilitating the development of the Taiwanese indigo industry. To enhance professional skills and designs, regular seminars and exhibitions are set up each year for the exchanging and sharing of ideas and experiences between the members, and at the same time for giving them opportunities to organize projects and to develop further uses for indigo dyeing with other countries, such as China, Japan, Malaysia, Korea and Indonesia which have a record of centuries of collaboration with Taiwan.


114

การพลิกโฉมหน้ าและคุณค่ าใหม่ ของ ผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน Dr .Wan-Lee Chen

อาจารย์ประจ�ำภาควิชาออกแบบและเทคโนโลยีการละคร Taipei National University of the Arts, ไทเป

Dr. Wan-Lee Chen เป็ นอาจารย์ประจ�ำภาควิชา ออกแบบและเทคโนโลยีการละคร Taipei National University of the Arts งานวิจยั และออกแบบของเธอครอบคลุมทังศิ ้ ลปะการ ละคร สิง่ ทอโบราณ และหัตถกรรม ปั จจุบนั โครงการสอนและ วิจยั ที่ก�ำลังท�ำคือเชื่อมโยงศิลปะแนวประเพณีกบั ศิลปะร่ วมสมัย ด้ วยนวัตกรรมและคุณค่าทางศิลปะ

Taiwan

บทคัดย่อ: การย้ อมสีสิ่งทอด้ วยครามจากธรรมชาติเป็ นหนึ่งในหัตถกรรมที่ เก่ าแก่ ที่สุดของ มนุษย์ ผ้ าย้ อมครามจัดอยูใ่ นกลุม่ สินค้ าที่มีมลู ค่าสูงที่สดุ ของโลก เป็ นที่นิยมแพร่หลายมา เกือบห้ าพันปี คราม จึงได้ รับสมญาว่า ‘ทองค�ำสีน� ้ำเงิน’ และเป็ นสินค้ าที่เหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับ ซื ้อขายแลกเปลี่ยนกัน ผ้ าย้ อมครามแบบโบราณของไต้ หวันมีประวัติศาสตร์ ยาวนานย้ อนไปไกลถึงคริ สต์ ศตวรรษที่ 18 มีบนั ทึกเป็ นทางการราวกลางศตวรรษที่ 19 ยืนยันว่าผ้ าย้ อมครามเป็ นสินค้ าส่ง ออกที่ส�ำคัญเป็ นอันดับสามรองจากข้ าวกับน� ้ำตาล อย่างไรก็ตามหลังจากพัฒนาสีเคมีราคา ถูกขึ ้นเมื่อกว่าร้ อยปี ก่อน อุตสาหกรรมผ้ าย้ อมครามโบราณซึง่ มีต้นทุนที่ดนิ และแรงงานสูงกว่า ก็แทบจะสาบสูญไป จนไม่นานมานี ้สถานการณ์จงึ เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ ้น เนื่องจากกระแส โลกหันมาให้ ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมและความยัง่ ยืน ตังแต่ ้ ทศวรรษที่ 1990 เป็ นต้ นมา สถาบันวิจยั และพัฒนาหัตถกรรมแห่งชาติของ ไต้ หวันสนับสนุนการปลูกคราม น�ำเทคนิคผ้ าย้ อมครามโบราณกลับมาใช้ และสร้ างส�ำนึกใหม่ ต่อวัฒนธรรมผ้ าย้ อมครามในไต้ หวัน แนวปฏิบตั ใิ หม่นี ้มีเจตนาที่จะพลิกโฉมหน้ าของคราม จากพืชเศรษฐกิจที่ผกู พันกับอดีต มาเป็ นพืชวัฒนธรรมซึง่ สามารถตอบสนองรสนิยมในสินค้ า ของคนปั จจุบนั ได้


ทุกวันนี ้ หลังจากทุม่ เทความพยายามมาตลอดยี่สบิ ปี “ผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน” คือ แบรนด์ซงึ่ เป็ นที่ร้ ูจกั ของนานาประเทศ เป็ นอุตสาหกรรมที่กลับมาใหม่ และเป็ นสัญลักษณ์ทาง วัฒนธรรมของไต้ หวันโบราณ การท�ำและใช้ ผ้าย้ อมครามไม่ได้ มีฐานะเพียงกระบวนการผลิต ซ� ้ำแล้ วซ� ้ำเล่าไม่ร้ ูสิ ้นสุดอีกต่อไป หากเป็ นการตระหนักรู้และเครื่ องสะท้ อนให้ เห็นชีวิต ตลอด จนความมุง่ มาดปรารถนาของผู้สร้ างงานต่างหาก การน�ำเสนอ: ความเป็ นมาของการย้ อมคราม การย้ อมสีและพิมพ์ลายสิ่งทอด้ วยครามจากธรรมชาติเป็ นหนึง่ ในหัตถกรรมที่เก่าแก่ ที่สดุ ของมนุษย์ ผ้ าย้ อมครามจัดอยูใ่ นกลุม่ สินค้ าที่มีมลู ค่าสูงที่สดุ ของโลก เป็ นที่นิยมแพร่ หลายมาเกือบห้ าพันปี คราม จึงได้ รับสมญาว่า ‘ทองค�ำสีน� ้ำเงิน’ และเป็ นสินค้ าที่เหมาะอย่าง ยิ่งส�ำหรับซื ้อขายแลกเปลี่ยนกัน ครามที่ใช้ ย้อมผ้ าสกัดจากพืชสี่ชนิดคือ Strobilanthes, Indigofera, Polygonum และ Isatis indigtica หลายประเทศในเอเชียเช่น จีน อินเดีย ญี่ปนุ่ ไทย และชาติอื่นในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ล้วนแต่ร้ ูจกั ใช้ ครามย้ อมผ้ า เช่นเดียวกับอารยธรรมโบราณของโลกอย่างเม โสโปเตเมีย อิหร่าน อียิปต์ และอีกหลายภูมิภาคในแอฟริ กา อังกฤษ อเมริ กากลาง และเปรู ในจีน ประวัตศิ าสตร์ การใช้ ครามย้ อมผ้ ามีหลักฐานย้ อนไปไกลถึง 3700 ปี ในยุค ราชวงศ์ซาง ผ้ าย้ อมครามมีความส�ำคัญต่อประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมจีน เป็ นสีเสื ้อผ้ าที่คน ธรรมดานิยมใช้ มานานกว่าพันปี ความนิยมนี ้ท�ำให้ อตุ สาหกรรมย้ อมผ้ าเติบโตมัง่ คัง่ ครามเป็ น วัตถุดบิ ราคาถูก ย้ อมง่าย และผ้ าที่ย้อมครามเป็ นสีน� ้ำเงินเข้ มก็ไม่เปื อ้ นง่ายด้ วย ผ้ าย้ อมครามไต้ หวันโบราณสืบสาวย้ อนหลังไปถึงปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 18 แผ่นดิน ที่อดุ มสมบูรณ์บวกกับภูมิอากาศร้ อนชื ้นแบบมรสุมท�ำให้ ภาคเหนือและภาคกลางของไต้ หวัน เป็ นสถานที่เหมาะสมที่สดุ ส�ำหรับปลูก Strobilanthes และ Indigofera จนเก็บเกี่ยวได้ ปีละ สองครัง้ ต้ นศตวรรษที่ 19 อุตสาหกรรมสิง่ ทอในยุโรปขยายตัวขึ ้นพร้ อมๆ กับตลาดในจีน ยิ่งส่ง ผลให้ การปลูกครามเพิ่มขึ ้นจนเป็ นพืชเศรษฐกิจส�ำคัญของไต้ หวัน มีบนั ทึกทางการยืนยันว่า กลางศตวรรษที่ 19 วัตถุดบิ ส�ำหรับท�ำสีย้อมเป็ นสินค้ าส่งออกส�ำคัญอันดับสาม ต่อจากข้ าว และน� ้ำตาล ตังแต่ ้ ทศวรรษที่ 1880 มีการสู้รบครัง้ แล้ วครัง้ เล่าในจีน ช่างและโรงย้ อมผ้ าจากฝูเจี ้ย นพากันอพยพโยกย้ ายมายังไต้ หวัน อุตสาหกรรมย้ อมผ้ าในไต้ หวันก็ยิ่งตื่นตัว สินค้ าส่งออกที่ ท�ำจากครามเปลี่ยนจากสีย้อมมาเป็ นผ้ าย้ อมส�ำเร็จแทน

Taiwan

115


116

อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมผ้ าย้ อมครามโบราณของไต้ หวันกลับตกต�่ำอย่างรุ นแรง ระหว่างที่อยูใ่ ต้ อาณัตขิ องญี่ปนุ่ (พ.ศ.2438 -2488) จนปิ ดตัวลงโดยสิ ้นเชิงในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 40 เป็ นอีกหนึง่ ตัวอย่างของผลกระทบจากการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมและการผลิตมวล รวมที่เกิดขึ ้นทัว่ โลก สีย้อมเคมีราคาถูกเข้ ามาแทนที่จนอุตสาหกรรมย้ อมมือสาบสูญไปเป็ น เวลาเกือบเจ็ดสิบปี ไม่นานมานี ้เองสถานการณ์จงึ เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ ้น เนื่องจากกระแสโลก หันมาให้ ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมและความยัง่ ยืน กลยุทธ์การพัฒนาผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน ตังแต่ ้ ทศวรรษที่ 90 เป็ นต้ นมา สถาบันวิจยั และพัฒนาหัตถกรรมแห่งชาติไต้ หวัน (National Taiwan Craft Research and Development Institute - NTCRI) สนับสนุนการปลูก คราม น�ำเทคนิคผ้ าย้ อมครามโบราณกลับมาใช้ และสร้ างส�ำนึกใหม่ตอ่ วัฒนธรรมผ้ าย้ อม ครามในไต้ หวัน แต่การฟื น้ ฟูอตุ สาหกรรมผ้ าย้ อมครามไม่ใช่เรื่ องง่าย ในระยะแรกจ�ำเป็ นต้ องใช้ ที่ดิน และแรงงานจ�ำนวนมาก ท�ำให้ ราคาสินค้ าสูง ขณะที่ผลก�ำไรมีไม่มาก เพื่อขยายตลาดรองรับ และตอบสนองสไตล์ร่วมสมัย จึงจ�ำเป็ นต้ องน�ำแนวคิดใหม่ๆ มาใช้ กลยุทธ์ที่พฒ ั นาขึ ้นเพื่อขยายตลาดผ้ าย้ อมคราม ประกอบด้ วย: ชี ้ให้ เห็นว่าอุตสาหกรรมผ้ าย้ อมครามโบราณเป็ นมรดกตกทอดในรูปหัตถกรรม ไม่ใช่ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์มวลรวมราคาถูกที่หลงเหลือมาจากอดีต ปรับโฉมหน้ าการผลิตแบบ โบราณมาเป็ นอุตสาหกรรมที่ใช้ สถานที่ผลิตขนาดเล็ก มุง่ เน้ นแง่มมุ ความเป็ นมนุษย์ของ ผลิตภัณฑ์ผ้าย้ อมคราม รวมทังคุ ้ ณสมบัตทิ างวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และฝี มือช่าง ที่แฝง อยู่ เน้ น ความส� ำ คัญ ว่ า การย้ อ มครามธรรมชาติ เ ป็ น อุต สาหกรรมที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อม ช่วยสร้ างความยัง่ ยืนทางนิเวศวิทยา ตรงข้ ามกับสีย้อมเคมีซงึ่ มีมลพิษสูง กระบวนการที่ใช้ ในการย้ อมครามปราศจากมลพิษใดๆ เพียงน�ำธรรมชาติมาใช้ แล้ วส่งคืนกลับ สูธ่ รรมชาติ ของเสียจากกระบวนการสามารถน�ำมาหมักเป็ นปุ๋ ยชีวภาพ ส่วนน� ้ำทิ ้งก็ไม่มีมลพิษ เจือปน รับรองว่าสีย้อม ลวดลาย และผลิตภัณฑ์ที่ท�ำในไต้ หวันระมัดระวังรักษาคุณภาพและ ชื่อเสียงเป็ นอย่างดี กระจายการผลิตไปยังท้ องถิ่นเพื่อส่งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร และส่งเสริ มการท่องเที่ยว การท�ำเช่นนี ้จะช่วยกระตุ้นจิตส�ำนึกให้ ผ้ คู นรู้สกึ ว่าตนเป็ นหนึง่ เดียว กับวัฒนธรรมท้ องถิ่น แทนที่จะมองเห็นเฉพาะคุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ เพียงถ่ายเดียว Taiwan


117

สนับสนุนให้ ใช้ กลยุทธ์ทางธุรกิจที่หลากหลาย ซึง่ ช่วยเผยแพร่เอกลักษณ์ที่แตกต่าง ของช่างย้ อมหรื อชุมชนย้ อมผ้ าแต่ละแห่ง เพื่อเพิ่มแรงดึงดูดทางการตลาดในหมูล่ กู ค้ าใหม่ องค์ประกอบของผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน แนวปฏิบตั ิใหม่นี ้มีเจตนาที่จะพลิกโฉมหน้ าของครามจากพืชเศรษฐกิจที่ผกู พันกับ อดีต มาเป็ นพืชวัฒนธรรมซึง่ สามารถตอบสนองรสนิยมในสินค้ าของคนปั จจุบนั ได้ รวมทัง้ เพิ่มพูนความสามารถในการแข่งขันระดับโลกด้ วย

การด�ำเนินการของ NTCRI และสมาคมผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน NTCRI มีบทบาทส�ำคัญในการริ เริ่ มน�ำผ้ าย้ อมครามกลับมา เฟิ นเม่มา นักวิจยั ของ สถาบันคือบุคลากรส�ำคัญด้ านนี ้ เธอก่อตังโครงการจ� ้ ำนวนมากเพื่อรื อ้ ฟื น้ ผ้ าย้ อมครามโบราณ ที่ขาดตอนไป ทังการปลู ้ ก Strobilanthes และ Indigofera การน�ำเทคนิคโบราณที่ใช้ สกัดโคลนสีน� ้ำเงินกลับ มาใหม่ รวมทังการย้ ้ อมเองด้ วย ปี 2544 เธอเริ่ มโครงการอบรมมืออาชีพเพื่อส่งเสริ มและ รวบรวมบุคลากรรุ่นใหม่ผ้ มู ีความสามารถ จากนันในปี ้ 2548 ก็ก่อตังสมาคมผ้ ้ าย้ อมคราม ไต้ หวันขึ ้นโดยความสนับสนุนจาก NTCRI เพื่อเป็ นเวทีให้ การสนับสนุนผู้จบการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาที่ต้องการประกอบอาชีพช่างย้ อม

Taiwan

องค์ประกอบของผ้ าย้ อมครามไต้ หวันได้ แก่: ผ้ าย้ อมครามไต้ หวันปั จจุบนั นิยมท�ำจาก Strobilanthes ซึง่ มีใบขนาดใหญ่ที่สดุ เป็ น หลัก ภายใต้ ภมู ิอากาศที่เหมาะสม และใช้ เทคโนโลยีการปลูกที่ก้าวหน้ า Strobilanthes จะให้ ผลผลิตที่มีปริ มาณเนื ้อสีสงู เป็ นสีย้อมชันเลิ ้ ศ ให้ สีที่เข้ มเป็ นพิเศษแต่ไม่ทบึ ไต้ หวันรับมรดกวัฒนธรรมและทักษะการท�ำผ้ าย้ อมครามมาจากจีนตะวันออกเฉียง ใต้ สีย้อมดิบซึง่ ในไต้ หวันเรี ยกกันว่า “โคลนสีน� ้ำเงิน” นี ้มาจากตะกอนที่เกิดเมื่อน�ำครามมา ผ่านกรรมวิธีโบราณคือแช่น� ้ำ ใส่มะนาว แล้ วหมักจนข้ น กระบวนการโบราณนี ้น�ำมาใช้ โดย ปรับปรุงเทคโนโลยีให้ ทนั สมัย สิง่ ที่ตา่ งจากเดิมคือการสกัดเนื ้อสีจะใช้ เฉพาะใบแทนที่จะเป็ น ทังต้ ้ น เพื่อลดสิง่ ปนเปื อ้ น ได้ สีที่บริ สทุ ธิ์ขึ ้น ในขันตอนการย้ ้ อม โคลนสีน� ้ำเงินจะเกิดอ๊ อกซิไดซ์ด้วยอ๊ อกซิเจนจากอากาศ ไม่ใช่ จากน� ้ำ และใช้ น� ้ำล้ างเพียงน� ้ำเดียวหลังย้ อม เมื่อไม่ต้องผ่านน� ้ำหลายรอบการย้ อมแบบไต้ หวัน จึงเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมมากกว่าที่ท�ำในประเทศอื่น


118

ปั จ จุ บัน สมาคมดัง กล่ า วจัด เป็ น องค์ ก รส� ำ คัญ ที่ สุด ในงานส่ ง เสริ ม การพัฒ นา อุตสาหกรรมผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน แต่ละปี จะจัดสัมมนาและนิทรรศการประจ�ำปี แสดงการใช้ ทักษะขันสู ้ งและการออกแบบ เพื่อกระตุ้นการแลกเปลี่ยน เผยแพร่แนวคิดและประสบการณ์ ระหว่างสมาชิก ขณะเดียวกันก็เปิ ดโอกาสให้ สมาชิกเป็ นผู้บริ หารโครงการต่างๆ และ พัฒนาการใช้ งานผ้ าย้ อมครามร่วมกับประเทศอื่น เช่น จีน ญี่ปนุ่ มาเลเซีย เกาหลี และ อินโดนีเซีย ซึง่ มีประวัตศิ าสตร์ ความร่วมมือกับไต้ หวันที่ยาวนานหลายศตวรรษ ปั จจุบนั สมาคมมีสมาชิกราว 60 ประเทศ ส่วนใหญ่จดั ประชุมปฏิบตั กิ ารเกี่ยวกับการ ย้ อมได้ ด้วยตนเอง และมีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดกับการพัฒนาชุมชนท้ องถิ่นของตน คุณสมบัติ ความเป็ นมนุษย์และความเป็ นธรรมชาติของผ้ าย้ อมครามโบราณ สามารถกระตุ้นให้ ชมุ ชน รู้สกึ ผูกพันกับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นของตน ทังยั ้ งช่วยปลูกฝังความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างอัตลักษณ์ ที่เคยมีในอดีตกับปั จจุบนั ด้ วย ชุมชนหลักในประวัตศิ าสตร์ ของผ้ าย้ อมครามประกอบด้ วยเขต ซานเสีย จังหวัดไทเป ทางเหนือของไต้ หวัน หมูบ่ ้ านจีนแคะบนเขาสูงในเขตจงเหลียว จังหวัด หนานโถ ทางภาคกลาง พื ้นที่เหล่านี ้ล้ วนมีวฒ ั นธรรมผ้ าย้ อมคราม เคยผ่านการฟื น้ ฟูชมุ ชน หลังหายนะภัยมาแล้ วทังสิ ้ ้น แต่ละแห่งจึงมีเรื่ องราวของตนไม่ซ� ้ำกัน ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม – ซานเสีย ช่วงคริ สต์ศตวรรษที่ 18 ซานเสีย คือแหล่งอุตสาหกรรมผ้ าย้ อมครามที่ส�ำคัญและ มัง่ คัง่ ที่สดุ ทางเหนือของไต้ หวัน ภูเขาซานเจี่ยวย่ง มี Strobilanthes ขึ ้นอยูเ่ องตามธรรมชาติ มี แม่น� ้ำสองสายคือซานเจี่ยวย่งและซานเสีย ไหลผ่านท�ำให้ มีจดุ ซักและตากผ้ าที่ย้อมแล้ ว มากมาย การที่พื ้นที่ ซานเสียมีแม่น� ้ำเป็ นเส้ นทางคมนาคมท�ำให้ การขนส่งวัตถุดบิ ที่ใช้ ย้อมเข้ า มา และขนส่งสินค้ าผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูปจ�ำนวนมหาศาลออกไปยังจีน ท�ำได้ โดยสะดวก ข้ อได้ เปรี ยบตามธรรมชาตินี ้ช่วยหล่อเลี ้ยงอุตสาหกรรมผ้ าย้ อมครามในท้ องถิ่นให้ เติบโต จนบางยุค ร้ านค้ าบนถนนซานเสีย เป็ นกิจการเกี่ยวกับผ้ าย้ อมครามถึง 2 ใน 3 อย่างไรก็ตามเมื่อ อุตสาหกรรมนี ้ซบเซาลง ชื่อเสียงและเศรษฐกิจของพื ้นที่นี ้ก็คอ่ ยๆ เสื่อมลงด้ วย เมื่ออุตสาหกรรมกลับฟื น้ คืนมา มีการน�ำนโยบายใหม่ๆ เพื่อพัฒนามาใช้ เมืองเก่า แห่งนี ้ก็กลับคึกคักขึ ้นอีกครัง้ สมาคมย้ อมผ้ าซานเสีย ซึง่ ก่อตังในปี ้ 2544 คือองค์กรท้ องถิ่นที่ ส�ำคัญที่สดุ ในการฟื น้ ฟูวฒ ั นธรรมผ้ าย้ อมคราม มีการจัดเทศกาลผ้ าย้ อมครามด้ วยความ สนับสนุนจากฝ่ ายปกครองท้ องถิ่นเป็ นประจ�ำทุกปี ตงแต่ ั ้ พ.ศ.2545 เป็ นต้ นมา โดยหวังว่า เทศกาลนีจ้ ะช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยวในภูมิภาคและเป็ นโอกาสให้ ผ้ ูคนที่สนใจการย้ อมได้ สัมผัส คุ้นเคยกับผลิตภัณฑ์ยิ่งขึ ้น ขณะเดียวกันยังเป็ นเครื่ องหล่อเลี ้ยงช่างย้ อมฝี มือดีใน Taiwan


119

อุตสาหกรรมเก่าแก่ และช่วยด้ านการพัฒนาเศรษฐกิจไปในตัว ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม – หมูบ่ ้ านจีนแคะ นอกจากอุตสาหกรรมย้ อมครามใน ท้ องถิ่นแล้ ว การย้ อมครามยังเป็ นส่วนส�ำคัญของประเพณีของชาวจีนแคะในไต้ หวันด้ วย เพราะเป็ นหนึง่ ในสัญลักษณ์ความเป็ นจีนแคะที่สืบทอดกันมา คือเป็ นชุมชนของผู้ด้อยฐานะ มี นิสยั ขยันขันแข็ง อาศัยอยูท่ า่ มกลางชาวฮัน่ มีชื่อเสียงในความกระเหม็ดกระแหม่ ชุมชนจีนแคะ มักตังอยู ้ ใ่ นเทือกเขาห่างไกล ยากที่จะหาวัตถุดบิ น�ำเข้ ามาใช้ จึงยังมีการเพาะปลูกครามต่อ เนื่องอยู่ ชาวแคะไม่ยอมทอดทิ ้งการใช้ ผ้าย้ อมครามในชีวิตประจ�ำวัน และเป็ นคนกลุม่ สุดท้ าย ที่ยงั รักษาการแต่งกายนี ้ไว้ ขณะที่ไต้ หวันเองทวีความเป็ นสมัยใหม่ขึ ้นทุกขณะ

ในบรรดาสมาชิกสมาคมผ้ าย้ อมครามไต้ หวันทังหมด ้ นี่คือผู้ผลิตผ้ าย้ อมคราม ธรรมชาติรายใหญ่ที่สดุ ของไต้ หวัน ตังอยู ้ ใ่ นเมืองซานยีทางภาคกลางของไต้ หวัน ในหมูบ่ ้ าน จีนแคะซึง่ มีชื่อเสียงด้ านไม้ แกะสลัก แม้ ครอบครัวผู้ก่อตังจะไม่ ้ มีเชื ้อสายแคะแต่ก็เป็ นที่ร้ ูจกั ของนักท่องเที่ยวและมีบทบาทช่วยเผยแพร่วฒ ั นธรรมแคะในท้ องถิ่นมาโดยตลอด กระท่อม Zhuo Ye เป็ นธุรกิจเกษตรอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมที่เพาะปลูกครามคูก่ บั การท�ำบ้ านพักนักท่อง เที่ยว โรงฝึ กย้ อมคราม และร้ านขายเสื ้อผ้ า ตัวบ้ านพักสร้ างในปี 2546 โดยจ�ำลองมาจากบ้ าน และวิถีชีวิตของเกษตรกรไต้ หวันโบราณ โรงฝึ กย้ อมครามเป็ นส่วนที่เติมเข้ ามาในปี 2548 เพื่อ เน้ นคุณสมบัติด้านวัฒนธรรมของกิจการ พร้ อมกับผลิตสินค้ าย้ อมครามธรรมชาติคณ ุ ภาพสูง ไปในตัว กระท่อม Zhuo Ye เชื่อว่าการผลิตจ�ำนวนมากและ การจัดการเพื่ อ การค้ าคือหัวใจของการด�ำรงอยูแ่ ละพัฒนาการของอุตสาหกรรมนี ้ จึงวิจยั และพัฒนาเครื่ องมือ ย้ อมผ้ าที่ใช้ งานได้ ดีขึ ้น เพื่อเพิ่มจ�ำนวนผลิตและลดความต้ องการใช้ แรงงาน สินค้ าทุกชิ ้นย้ อม ด้ วยครามคุณภาพดีที่ผลิตเองเพื่อรักษามาตรฐาน และเพิ่มยอดขายด้ วยการร่วมมือกับนัก ออกแบบสร้ างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่นเสื ้อผ้ าแฟชัน่ ล�ำลอง ของใช้ ในบ้ าน และของใช้ อื่นๆ เราภูมิใจในสินค้ าย้ อมครามของเรา ซึง่ ผูกพันกับวัฒนธรรมอย่างลึกซึ ้ง เป็ นการน�ำ ผ้ าย้ อมครามโบราณมาผนวกกับชีวิตประจ�ำวัน โดยพัฒนาสินค้ าที่ใช้ งานได้ ทกุ วันไม่ใช่เพื่อนัก สะสมอย่างเดียว ด้ วยคุณภาพอันเป็ นเลิศและบุคลิกภาพเป็ นเอก ท�ำให้ ผ้าย้ อมครามเป็ นที่ ปรารถนาของทุกคน นี่คือวิธีขยายการผลิตและค้ นพบโอกาสใหม่ๆ ในการค้ า (กระท่อม Zhuo Ye, ค�ำสัมภาษณ์ 10.2558)

Taiwan

ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม – กระท่อม Zhuo Ye


120

ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม – โรงย้ อมธรรมชาติ Hsiu Lien ขณะที่กระท่อม Zhuo Ye ประสพความส�ำเร็ จในธุรกิจย้ อมครามด้ วยการใช้ งานฝี มือ โบราณผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ โรงย้ อมธรรมชาติ Hsiu Lien กลับเลือกเดินอีกเส้ น ทางที่สอดคล้ องกับบุคลิกของตน สตูดโิ อแห่งนี ้ตังอยู ้ ท่ ี่จงเหลียว พื ้นที่ซงึ่ แต่ก่อนไม่คอ่ ยเป็ นที่ รู้จกั จนเกิดเหตุแผ่นดินไหวครัง้ ใหญ่ปี 2542 มีผ้ เู สียชีวิตถึง 921 ราย จงเหลียวคือหนึง่ ในจุดที่มี ความเสียหายมากที่สดุ หมูบ่ ้ านต่างๆ ต้ องใช้ เวลานานมากกว่าจะฟื น้ ตัว เพื่อปลอบโยนและสร้ างความหวังใหม่ให้ ชาวบ้ านผู้เดือดร้ อน NTCRI เสนอโครงการ อบรมการย้ อมผ้ าด้ วยผักเพื่อสอนให้ แม่บ้านในพื ้นที่ร้ ู จกั ใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติรอบ ตัว แม้ จงเหลียวจะไม่ใช่พื ้นที่ที่เคยท�ำงานย้ อมสีธรรมชาติมาก่อน ในที่สดุ ที่นี่ก็กลายเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวยอดนิยม เอื ้อประโยชน์ให้ เศรษฐกิจท้ องถิ่น ทังยั ้ งมอบอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมใหม่ ให้ กบั ผู้อาศัยในพื ้นที่ด้วย ครอบครัวของ Hsiu-Lien เป็ นหนึง่ ในชาวบ้ านผู้ประสพภัย เธอจึงลาออกจากงานใน เมืองกลับไปช่วยดูแลพ่อแม่ หลังจากเข้ าโครงการเธอพบว่าตัวเองเป็ นช่างย้ อมผู้มีพรสวรรค์ ทางศิลปะ สามารถสร้ างความงามเรี ยบง่ายแฝงธรรมชาติถ่ายทอดผ่านการย้ อมเป็ นงานที่ไม่ ซ� ้ำแบบใคร ยิ่งสร้ างงานย้ อมครามและย้ อมสีจากผัก ยิ่งดึงดูดให้ ศลิ ปิ นและนักออกแบบมาก หน้ าที่ชื่นชมในผลงานของเธอเดินทางมาขอร่วมงานด้ วย “ผ้ าย้ อมครามแต่ละชิน้ มีน�ำ้ หนักสีและอารมณ์ ที่แตกต่างกันแม้ จะแช่ผ้าลงด้ วยวิธี การเดิม ผลลัพธ์ก็ไม่เคยซ� ้ำกัน แต่ละชิ ้นเป็ นตัวของตัวเอง ฉันใส่เครื่ องกรองเฉพาะตัวลงไปใน เทคนิคนี ้เพื่อน�ำเสนอผ้ าย้ อมครามไต้ หวันที่แตกต่างจากงานย้ อมทัว่ ไป” (Hsiu-Lien, สัมภาษณ์, 10.2558) ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม – โรงย้ อมธรรมชาติ Wei-Lin Yang และ Hsiu Lien ผลงานล่าสุด “Ocean of Cloth Wheels” เป็ นผลงานร่วมกับศิลปิ นผ้ า Wei-Lin Yang เพื่ออุทิศให้ เหยื่อเหตุแผ่นดินไหวและแสดงพลังของสตรี กบั การฟื น้ คืนของพื ้นที่หลังประสพภัย ตัวงานเป็ นการใช้ ลกู ล้ อผ้ าส�ำหรับเครื่ องจักรอุตสาหกรรมจ�ำนวน 4,000 ชิ ้นมาจัดวางโดยทุก ชันของล้ ้ อผ่านการย้ อมครามโดย Hsiu-Lien ความเป็ นธรรมชาติในสีย้อมแทนค่าความช่วย เหลือที่เหล่าสตรี ร่วมกันอุทิศให้ แก่การฟื น้ ฟูท้องถิ่น และแฝงนัยถึงทางเลือกอื่นนอกเหนือจาก การมุง่ สูอ่ ตุ สาหกรรมและการผลิตมวลรวม โครงการ “Ocean of Cloth Wheels” มีสถาบันบริ หารจัดการทรัพยากรประวัตศิ าสตร์ ไต้ หวัน ท�ำหน้ าที่ภณ ั ฑารักษ์ จัดแสดงครัง้ แรกที่เกาะ Shodoshima ประเทศญี่ปนุ่ เป็ นส่วน Taiwan


121

หนึง่ ของงานแสดงศิลปะ Setouchi Triennale 2013 ซึง่ สนับสนุนโดย Fukutake House Asia Art Platform หลังจากนันยั ้ งน�ำงานศิลปะชิ ้นนี ้ยังจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์อีกหลายแห่งในไต้ หวัน ด้ วย

ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม - Wen-Chun Tang Wen-Chun Tang เป็ นช่างย้ อมมือดีอีกคนที่ผา่ นการอบรมในโครงการของ NTCRI ปั จจุบนั เธอเป็ นช่างย้ อมผู้ช�ำนาญการและอาจารย์ประจ�ำที่ NTCRI ผลงานที่ถนัดคือการ ออกแบบลวดลายการใช้ เทคนิคการย้ อมโบราณหลายๆ อย่างในการวาดภาพ พิมพ์ภาพผ่าน ตะแกรง และผ้ าบาติก นอกจากนันยั ้ งเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านชนิดพันธุ์ของครามที่เพาะปลูกใน หลายประเทศ รวมทังเป็ ้ นผู้จดั โครงการและสอนการย้ อมครามด้ วย ความท้ าทาย แม้ การพัฒนาผ้ าย้ อมครามไต้ หวันจะก้ าวหน้ าไปด้ วยดี แต่ยงั มีสงิ่ ที่ต้องปรับปรุง แก้ ไขอีกมาก ประกอบด้ วย: ส่งเสริ มให้ เกษตรกรหันมาปลูกครามมากขึ ้น ปั จจุบนั ไต้ หวันมีไร่ครามอยูเ่ พียง 8 แห่ง เท่านัน้ ให้ ผลผลิตเป็ นโคลนสีน� ้ำเงินคุณภาพสูงเพียง 3500 กก.ต่อปี ซึง่ ไม่เพียงพอที่จะรองรับ อุตสาหกรรมนี ้ จ�ำเป็ นอย่างยิ่งต้ องเพิ่มพื ้นที่เพาะปลูกให้ มากขึ ้น แรงงานฝี มือก็ยงั จัดว่าขาดแคลน ต้ องใช้ โครงการฝึ กอบรมระยะยาวเพื่อยกระดับ ช่างย้ อมมืออาชีพ พร้ อมกับประเมินความเหมาะสมที่จะศึกษาด้ านหัตถกรรมในหมูเ่ ยาวชน ด้ วย

Taiwan

ชุมชนและศิลปิ นผ้ าย้ อมคราม –Wei-Lin Yang Wei-Lin Yang เป็ นอาจารย์ประจ�ำ Tainan National University of the Arts และเป็ น ศิลปิ นสิง่ ทอที่มีชื่อเสียงของไต้ หวัน ปั จจุบนั เธอยังเป็ นผู้อ�ำนวยการสมาคมย้ อมครามไต้ หวัน ด้ วย Yang เห็นว่าการย้ อมครามเป็ นความรู้สกึ และน�ำมาเล่าเรื่ องราวผ่านงานศิลปะ งานของ เธอประกอบด้ วยน� ้ำหนักสีที่หลากหลายมากกว่าจะใช้ เพียงสีเรี ยบ เพื่อเผยให้ เห็นความงามอัน แตกต่างของเนื ้อสีนนั ้ “ฉันชอบดูการปรากฏของสีย้อมครามบนวัตถุดบิ ที่แตกต่าง แม้ แต่สงิ่ ของที่ท�ำส�ำเร็ จ แล้ วฉันก็เอามาใช้ เพื่อมอบชีวิตใหม่ให้ สงิ่ นัน้ ฉันชอบขันตอนทั ้ งหมด ้ ไม่ใช่แค่ตวั สีน� ้ำเงิน แต่ ชอบวิธีที่สีเปลี่ยนแปลงไปตามพื ้นผิวของวัตถุตา่ งๆ ถึงจะท�ำงานย้ อมสีน� ้ำเงิน ฉันก็ไม่ทราบ หรอกว่างานที่ท�ำนี ้จะเป็ น “ย้ อมน� ้ำเงิน” อย่างที่เขาเรี ยกกันหรื อเปล่า” (Wei-Lin Yang, สัมภาษณ์, 10. 2558)


122

บทสรุป ทุกวันนี ้ หลังจากทุม่ เทความพยายามมาตลอดยี่สบิ ปี “ผ้ าย้ อมครามไต้ หวัน” คือชื่อ ซึง่ เป็ นที่ร้ ูจกั ของนานาประเทศ พลิกโฉมจากอุตสาหกรรมหัตถกรรมล้ าสมัยมาสูช่ ีวิตใหม่ใน ฐานะอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ และเป็ นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมโบราณของไต้ หวัน อุตสาหกรรมย้ อมครามใหม่นี ้ครอบคลุมความงามของชีวิตที่ไม่เร่ งร้ อนและหัตถกรรมที่ไม่เร่ ง ร้ อน วัตถุที่ผา่ นการย้ อมครามไต้ หวันคุณภาพสูงสุดนันใช้ ้ เวลามากกว่าหนึง่ ปี จงึ ส�ำเร็ จ เริ่ มจาก การปลูกคราม ผ่านการสกัดเป็ นโคลนสีน� ้ำเงิน ไปจนถึงขันตอนการย้ ้ อม เก็บรักษาเป็ นวัตถุดบิ ย้ อมแล้ วในห้ องมืดนานอย่างน้ อยหกเดือนให้ โมเลกุลของสีย้อมฝังลงในเนื ้อผ้ าก่อนจะน�ำมาใช้ การท�ำและใช้ ผ้าย้ อมครามไม่ได้ เป็ นแค่การผลิตซ� ้ำอีกต่อไป หากเป็ นการตระหนักรู้และเครื่ อง สะท้ อนให้ เห็นชีวิตร่วมสมัย ตลอดจนความมุง่ มาดปรารถนาของผู้สร้ างงานต่างหาก

Taiwan


123

Promoting Cultural Diversity through Crafts and Communities Mr. Khamchanh Souvannalith

Collections Manager and Outreach and Education Manager Traditional Arts and Ethnology Centre, Lao PDR

will detail the handicrafts development, exhibition, and research activities that TAEC employs to promote cultural awareness in Laos.

Lao PDR

Brief Introduction: Recognising its responsibi- lity to the living ethnic minority cultures it represents, the Traditional Arts and Ethnology Centre (TAEC) has forged practical approaches to partnering with communities to sensitively and accurately interpret their cultural heritage. This presentation


124

Abstract: TAEC is a small, independent ethnology museum in the World Heritage town of Luang Prabang, Laos, seeking to promote appreciation and understanding of the ethnic diversity of the country. Since its foundation in 2007, TAEC has actively sought to partner with the communities it represents. Exhibition content is based heavily on primary research conducted in ethnic minority villages, most artefacts are acquired from communities (and thus are often contemporary and of mixed media), the collection is oriented towards intangible cultural heritage, and the Museum Shop’s merchandise is all made by village artisans. Handicraft development in particular is an important way to promote supplemental income for rural communities, and encourage the continued use of craft skills. TAEC works with over 600 rural artisans, mostly ethnic minority women, supporting sustainable livelihoods based on traditional skills. Also, in 2014, TAEC opened its first “community-curated” exhibit — giving voice to women to tell stories about their own life experiences and cultural values. These approaches and partnerships with communities are crucial to TAEC’s work and promoting cultural development, but are also complex and time-consuming, especially for a small social-enterprise.

Lao PDR


125

การส่ งเสริมความหลากหลาย

ทางวัฒนธรรมผ่ านหัตถกรรมและชุมชน Mr. Khamchanh Souvannalith ผู้จดั การศิลปะวัตถุ และผู้จดั การเผยแพร่และการศึกษา ศูนย์ศลิ ปะประเพณีและชาติพนั ธุ์วิทยา (Traditional Arts and Ethnology Centre –TAEC), สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ความเป็ นมา:

TAEC คือพิพิธภัณฑ์ชาติพนั ธุ์วิทยาขนาดเล็ก เป็ นหน่วยงานอิสระ ตังอยู ้ ท่ ี่เมือง มรดกโลกหลวงพระบาง สปป.ลาว พันธกิจของเราคือส่งเสริ มความรู้ความเข้ าใจ เห็นคุณค่าใน ชาติพนั ธุ์อนั หลากหลายของประเทศลาว นับแต่ก่อตังเมื ้ ่อพ.ศ. 2550 TAEC มุง่ มัน่ แสวงหา ความร่วมมือจากชุมชนที่ตนเป็ นตัวแทน เนื ้อหาของนิทรรศการที่จดั แสดง ล้ วนมาจากงานวิจยั ปฐมภูมิซงึ่ ใช้ หมูบ่ ้ านของชนกลุม่ น้ อยชาติพนั ธุ์ตา่ งๆ เป็ นพื ้นที่ปฏิบตั งิ าน ศิลปวัตถุสว่ นใหญ่ ได้ รับมอบจากชุมชนเอง (จึงเป็ นงานร่วมสมัยและสื่อผสมเสียมาก) ผลงานที่จดั แสดง มุง่ เน้ น มรดกวัฒนธรรมซึง่ สัมผัสจับต้ องไม่ได้ นอกจากนัน้ ร้ านขายของที่ระลึกของพิพิธภัณฑ์ก็มีแต่ งานฝี มือของชาวบ้ านวางขายเท่านัน้

Lao PDR

ศูนย์ศลิ ปะประเพณีและชาติพนั ธุ์วิทยา ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่มีในฐานะ ตัวแทนวัฒนธรรมชาติพนั ธุ์กลุม่ น้ อยต่างๆ จึงจัดท�ำแนวปฏิบตั เิ พื่อระดมความร่วมมือจาก ชุมชนในการศึกษามรดกวัฒนธรรมด้ วยความละเอียดอ่อนจนเข้ าใจถ่องแท้ การน�ำเสนอครัง้ นี ้ จะกล่าวถึงรายละเอียดการพัฒนา จัดนิทรรศการศิลปหัตถกรรม ตลอดจนงานวิจยั ต่างๆ ที่ TAEC น�ำมาใช้ เป็ นเครื่ องมือส่งเสริ มจิตส�ำนึกทางวัฒนธรรมในลาว บทคัดย่ อ:


126

การพัฒนาศิลปหัตถกรรมนับเป็ นหนทางส�ำคัญที่จะสร้ างรายได้ เสริ มให้ แก่ชุมชน ชนบท ทังยั ้ งช่วยรักษาทักษะด้ านหัตถกรรมให้ มีการใช้ งานต่อเนื่องสืบไปด้ วย TAEC ร่วมงาน กับช่างฝี มือพื ้นบ้ านกว่า 600 ราย ประกอบด้ วยสตรี ชาติพนั ธุ์กลุม่ น้ อยเป็ นหลัก เพื่อส่งเสริ ม การเลี ้ยงชีพอย่างยัง่ ยืนด้ วยทักษะแนวประเพณี ในปี พ.ศ. 2557 TAEC ยังจัดแสดงนิทรรศการ โดยให้ ชมุ ชนรับหน้ าที่ภณ ั ฑารักษ์ เอง ขึ ้นเป็ นครัง้ แรก เพื่อมอบโอกาสแก่สตรี ให้ น�ำเรื่ องราว ประสบการณ์ชีวิตและค่านิยมวัฒนธรรมของตนมาบอกเล่า แนวปฏิบตั ดิ งั กล่าวตลอดจน ความร่วมมือที่มีกบั ชุมชนต่างๆ เป็ นสิง่ ส�ำคัญในการท�ำงานของ TAEC เพื่อส่งเสริ มการพัฒนา วัฒนธรรม แต่ก็เป็ นภาระที่ซบั ซ้ อน กินเวลามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผู้ปฏิบตั เิ ป็ นองค์กร เพื่อสังคมขนาดเล็ก

Lao PDR


127

Promoting Lacquerware of Myanmar

Ever Stand Lacquerware Workshop, Bagan

Ms.Malar Win Maung Mr Mr Nanda Win Maung

Everstand Lacquerware Workshop Bagan Republic of the Union of Myanmar

April 25-29, 2012 INACRAFT 2012 at Jakarta. Organized by ASEAN-JAPAN Center November, 2014 GOOD DESIGN AWARD 2014 at Midtown Tower, Tokyo. Achievement…GOOD DESIGN AWARD 2014 in lacquer work technique

Republic of Myanmar

The Brief information of the EVER STAND , - Ever Stand was established in 1991 with five artists. - Exporting started in 2000 to Japan and USA. - Before 2000 it was national market and retail sales to local and tourists market. - Used to have seventy artists in 2003 to 2006 for whole seller in Italy. September 20-23, 2012 SEOUL GIFT SHOW 2012 at Coex ,Seoul. Organized by ASEAN-KOREA Center


128

January, 2015 10th Anniversary Rajamangala University of Technology LANNA Discuss about lacquerware course at Chiang Mai, Thailand April, 2015 Cross Culture Crafts Project, (Myanmar, Thailand, Vietnam) At Bagan, Bangkok, Hanoi August, 2015 Asian Lacquer Craft Exchange Research Project 2015 at Siem Reap, Cambodia Organized by ASEAN-JAPAN Center 2016 at Chiang Mai, Thailand 2017 at Vietnam 2018 at Cambodia 2019 at Myanmar 2020 at Japan

Republic of Myanmar


129

Community Learning Centre:

A Contribution to Crafts and Folk Arts Sustainable Development

Seng Sary

Mr. Seng Sary was graduated his bachelor degree in Sociology at Royal University of Phnom Penh in 2003 and perused his master degree in Southeast Asian Study Program at Chulalongkorn University, Thailand one year later, which was granted by Rockefeller Foundation. After his graduation from Thailand, he works as NGOs staff for 5 years as social researchers particularly in community mobilization, community economic empowerment, alternative education, and education for sustainable development in Cambodia. In 2009, he moved from NGO staff to work as government official in Ministry of Education, Youth and Sport and one year later he moved to Meanchey University where he is working as lecturer in Faculty of Social Sciences and Community Development. In term of academic achievements, he published many articles related to social sciences, community development, and education. Currently, he is not only a lecturer at Faculty of Social Sciences and Community Development, Meanchey University but also a consultant of project called “Farmer to Farmer�, Ministry of Agriculture, Fisheries, and Forestry.

Kingdom of Cambodia

Meanchey University, Banteaymeanchey Province, Cambodia saryacp@gmail.com


130

Community Learning Centre:

A Contribution to Crafts and Folk Arts Sustainable Development (Cambodia Case Study)

Kingdom of Cambodia

Abstract: This small paper is aimed to demonstrate the Community Learning Centre (CLC) as a contribution for crafts and folk arts sustainable development. Based on Cambodia case study regarding to the establishment of the farmer organization for economic empowerment and sustainable development. This small paper indicated that CLC play a very critical role in collecting, maintaining, disseminating, sharing, and scaling up the local knowledge through farmer to farmer technique where it is contributing to sustainable development in the form of bottom-up technique. The CLC is considering by many development agencies and stakeholders in Cambodia as following; (a) The local people could access specific approach in transmitting techniques in the community level; (b) The local champions who are the knowledgeable person becoming trainers in their community, systematizing the knowledge they had and knowledge they acquired and promoting their role as pivotal point to disseminate these techniques in their community; and (c) created a fertile environment and build relationships and extended peer-to-peer networks with supporting each other in the shift to environmental friendly and sustainable development spirit with private and public partnership. 1. Introduction With the framework of Cambodia’s economic empowerment programme, “community learning centre is considered as enabling environment space for local knowledge management and development tools and capacity building for local people�. The initiative idea of building up the community learning centre aimed at scaling up best practices and innovation that contribute to empower the economic and reducing the poverty under the slogan of sustainable development. Cambodia has proposed a model with customizing the methodology and making it simpler and easier to use that would be allow stakeholders from community, public and private sector to work more easily and therefore contribute to improve performance of sustainable development programme. The model is based


131

on the reflect experiences from communities, development agencies, private, and public sectors and it is a rooted in fieldwork and real-life experiences that will encouraged to be flexible and innovation.

•Preparatory stage: building on acquired knowledge The community learning centre is a product of intersection knowledge needs and relevant experiences in the country. In the preparatory phase, the stakeholders are required to identify the target groups that need the knowledge and define the learning objectives with document and systematically organize the existing knowledge according to the learning objectives. Objectives: learning objectives identify what the learners will be able to do if the learning route successfully developed. More specifically, the outline the new understanding, skills, and behaviours that participants are expected to acquire through learning process. Participant’s learning needs contribute to the definition of the learning objectives. Systematization: once the main training needs and the learning objectives are identified, a series of consultation activities need to be carried out. Through this process, a number of best practices are identified, and on the basis of these, a few “local champion” implementing these best practices are chosen to host the learning process (knowledge host). Crite-

Kingdom of Cambodia

2.Community Learning Centre as enabling environment space for knowledge management tool The community learning centre allows for an experimental encounter between “development agencies, private sectors and public sectors” and “communities”, all having mutually useful experiences and knowledge to exchange. In this encounters, the relevant stakeholders learned distinctive lessons, problems, and challenges that bring them face-to-face with their previous knowledge and experiences. The main goal of community learning centre is that the stakeholders are able to identify potentially useful innovations, understand and learn from them, and then successfully adapt and apply them to their own institutions and contexts. 3.Community Learning Centre: Learning Route Cycle A community learning centre is a cumulative process that begins with the identification of the relevant KNOWLEDGE to be documented and disseminated, followed by the acquisition of KNOW-HOW by learning from innovative experiences, and concluding with the INNOVATION begin adapted by stakeholders in the own institutions and contexts.


132

ria for the selection included; value of acquired knowledge, interest in sharing knowledge, and organizational strength. Following the identification of knowledge hosts, a participative process is initiated to capitalize on the information available. The objective is that protagonists in the host organization reflect on their path to success, identifying critical milestones, stakeholders, obstacles, achievements, enabling factors, challenges and lesson learned. The participation of stakeholders, local champions and partners is critical at the point in the systematization process because it makes possible for knowledge to be collected and organized into lessons learned. At the same time, the group process strengthens and empowers all participants by allowing them to acquire new knowledge sharing skills. It usually takes at least 2-3 days to systematize the knowledge of one host, depending on the complexity of the experiences. The systematization process is seen as an opportunity for local actors to reflect on their experiences collectively. It can lead participants to increase self-esteem and a great recognition of the value of their leaders and team members.

Skills Reinforcement: after systematization of the experiences, the next step is to reinforce local champion skills for knowledge sharing and hosting a learning initiative such as the learning route. In this process, which usually take one day, future hosts will acquired knowledge sharing tools and techniques, learning among others, how to make a presentation, using maps, preparing role plays, conduct learning tour, and facilitate discussion. Documents: During the preparatory phase of the learning process relevant documents are produced such as; case studies, technical files, bibliography, agenda, and operation information. These materials should be available before the learning process started in order to help participants prepare for the experiential learning during the implementation stage.

Kingdom of Cambodia

•Implementation stage: implementing the learning process This stage involves preparing and implementing a learning process for 15-25 participants with visits to relevant knowledge hosts. The objective is for participants to learn in person how these community learning centre and their partners have satisfied needs or resolved problems similar to those they themselves face and to acquire the know-how


developed from that experience to support their own innovations. Field visits: during the visits, the knowledge host present their experiences and lessons learned. Each visit is a guided learning experience, with experiential learning contents and dynamics structured according to the learning objectives. An environment conducive to dialogue and exchange is created, and participants are encouraged to seek out the information that is of most value to them. In this environment, hosts and participants come together and are enriched by each other’s experiences, forming a collaborative, mutually beneficial partnership. Learning facilitation: The Learning Route combines field activities with analysis, to facilitate individual and collective reflection on the significance of the case study being examined. Facilitation and technical support are key aspects throughout the Learning Route since they ensure in-depth analysis. The organizing team has to make sure that participants’ learning is directed towards the Learning Route’s objectives. Therefore, it is important that, before each visit, they provide participants with basic information about the knowledge hosts and why they were selected, and then, after the visit, hold analysis workshops to tease out the lessons learned. Innovation plan: From the beginning of the Learning Route and throughout the whole journey, participants– individually or per organization—work on an innovation plan. The objective is to use the acquired lessons to identify and adapt potentially useful innovations to their own contexts. Plans should be time-bound, actionable, achievable and, above all, realistic. The design of an innovation plan is supported by three activities: experience fair, design workshop for innovation plans, and innovation plan fair. Evaluation: On the last day of the Learning Route, participants and the organizing team carry out a group and an individual evaluation of the experience. This serves to improve the next Learning Route, but it also provides an important opportunity to show appreciation for the learning process that participants have undertaken by awarding them a certificate of participation. • Follow up stage: follow up the paths of innovation The Learning Route does not end with the journey, since the main goal is for participants to implement their innovation plans at project level and with their organizations and institutions. This stage is crucial and tests how well participants have acquired the learning sought, and how they

Kingdom of Cambodia

133


134

can best apply that learning to their particular context. Learning Dissemination: Once home, participants will want to share the lessons they have learned with their organization. It is therefore important to support them in preparing and implementing a sharing event to enhance capacities and attract new partners in the innovation process that they are championing. Innovation Plan: To be successful, an innovation plan has to engage and represent the different people and organizations involved in both the problem and the solution. Each participant will have to map these stakeholders and define a path for sharing, improving and validating the innovation plan originated during the Learning Route. Once the innovation plan has been revised, improved and validated, the participants can share the final version with the organizing team for final feedback. Evaluation: It is a good idea for the organizing team to evaluate jointly with Learning Route participants, 3-6 months after they return home, the progress they have made in implementing the innovation plans. The team should organize field visits to the sites where the innovation plans are being implemented in order to understand what participants have achieved and the challenges they are facing, and to determine how best to support their plans in the future. This activity will give a new boost to the innovation plans. Closure: A long time elapses between designing the Learning Route and closing the cycle. During this time, many knowledge products are created, knowledge champions are formed, and information is disseminated about the Learning Route through publications, websites, videos and photos.

Kingdom of Cambodia


135

ศูนย์ เรี ยนรู้ ชุมชน: กลไกเพื่อพัฒนาหัตถกรรมและ ศิลปะพืน้ บ้ านอย่ างยั่งยืน

Seng Sary

Sary Seng จบการศึกษาปริ ญญาบัณฑิตสาขาสังคมวิทยาจากราช มหาวิทยาลัยพนมเปญในปี พ.ศ. 2546 หนึง่ ปี ตอ่ มาได้ รับทุนมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ เข้ า ศึกษาต่อระดับมหาบัณฑิต ในโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศกึ ษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษาจากประเทศไทย เขาท�ำงานให้ องค์กรพัฒนาเอกชน เป็ นเวลา 5 ปี ในต�ำแหน่งนักวิจยั สังคม โดยเน้ นด้ านพลวัตรของชุมชน พลังเศรษฐกิจ ชุมชน การศึกษาทางเลือก และการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในกัมพูชา พ.ศ.2549 เข้ ารับราชการในกระทรวงศึกษาธิการ กิจการเยาวชนและการ กีฬาเป็ นเวลาหนึง่ ปี จากนันจึ ้ งย้ ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยเมียนเจยในต�ำแหน่ง อาจารย์ประจ�ำคณะสังคมศาสตร์ และการพัฒนาชุมชน ผลงานตี พิ ม พ์ ท างวิ ช าการประกอบด้ ว ยบทความจ� ำ นวนมากว่ า ด้ ว ย สังคมศาสตร์ การพัฒนาชุมชน และการศึกษา ปั จจุบนั ไม่เพียงแต่เป็ นอาจารย์ประจ�ำ คณะสังคมศาสตร์ และและการพัฒนาชุมชนที่มหาวิทยาลัยเมียนเจย แต่ยงั รับ ต�ำแหน่งที่ปรึกษาโครงการ “จากเกษตรกรถึงเกษตรกร” ของกระทรวงเกษตร ประมง และป่ าไม้ ด้วย

Kingdom of Cambodia

Meanchey University, Banteaymeanchey Province, Cambodia saryacp@gmail.com


136

ศูนย์ เรี ยนรู้ ชุมชน: กลไกเพื่อพัฒนาหัตถกรรม และศิลปะพืน้ บ้ านยั่งยืน กรณีศกึ ษาจากประเทศกัมพูชา บทคัดย่อ:

Kingdom of Cambodia

รายงานสันๆ ้ ฉบับนี ้จัดท�ำขึ ้นเพื่อสาธิตการใช้ ศนู ย์เรี ยนรู้ชมุ ชน (Community Learning Centre - CLC) เป็ นกลไกในการพัฒนาหัตถกรรมอย่างยัง่ ยืน โดยใช้ กรณีศกึ ษาจากราช อาณาจักรกัมพูชา เกี่ยวกับการก่อตังองค์ ้ กรเกษตรกรเพื่อเสริ มสร้ างอ�ำนาจเศรษฐกิจและ พัฒนาการอย่างยัง่ ยืน รายงานนี ้ชี ้ให้ เห็นว่าศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชน มีบทบาทส�ำคัญยิ่งต่อการรวม รวม เก็บรักษา แยกแยะ แลกเปลี่ยน และขยายขอบเขตองค์ความรู้ท้องถิ่น ด้ วยเทคนิคการ ถ่ายทอดจากเกษตรกรสูเ่ กษตรกร เป็ นกลไกในการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในรูปของเทคนิคจาก ล่างขึ ้นบน หน่วยงานด้ านพัฒนาและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียจ�ำนวนมากในกัมพูชาเห็นว่าศูนย์เรี ยนรู้ ชุมชนมีข้อดีหลายประการคือ; (ก) ชาวบ้ านสามารถเข้ าถึงวิธีการอันเฉพาะเจาะจงได้ ด้วยการ ถ่ายทอดเทคนิคระดับชุมชน; (ข) ผู้ร้ ูในท้ องถิ่นสามารถเป็ นผู้ฝึกสอนประจ�ำชุมชนของตน รวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยูเ่ ดิมและที่ได้ เรี ยนรู้ใหม่ให้ เป็ นระบบระเบียบ และรับบทบาทที่ส�ำคัญ ที่สดุ คือเป็ นผู้เผยแพร่เทคนิคต่างๆ เหล่านี ้สูช่ มุ ชนที่ตนอาศัยอยู่ และ (ค) สร้ างสิง่ แวดล้ อมที่ เอื ้ออ�ำนวย สร้ างความสัมพันธ์และขยายเครื อข่ายเพื่อน-สู-่ เพื่อนเพื่อช่วยกันสนับสนุนการ เปลี่ยนแนวคิดมาสูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืนและเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม โดยมีภาคเอกชนและรัฐ ร่วมเป็ นภาคี ความเป็ นมา: ภายใต้ กรอบโครงการเพิ่มพูนศักยภาพทางเศรษฐกิจของกัมพูชา “ศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชน ถือเป็ นการเปิ ดพื ้นที่สงิ่ แวดล้ อมให้ เกิดการจัดการองค์ความรู้ท้องถิ่นและใช้ เครื่ องมือต่างๆ ใน การพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพชาวบ้ าน” แนวคิดในการสร้ างศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชน มุง่ เป้าที่การ ขยายสัดส่วนการปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศและนวัตกรรมเพื่อเป็ นกลไกเพิ่มอ�ำนาจเศรษฐกิจ ก�ำจัด ความยากไร้ ภายใต้ ค�ำขวัญการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ราชอาณาจักรกัมพูชาเสนอให้ มีต้นแบบซึง่ เกิดจากการน�ำกระบวนวิธีมาปรับให้ ตรงกับปั ญหา ลดทอนความยุง่ ยากให้ งา่ ยต่อการปฏิบตั ิ ท�ำให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียในชุมชน ภาคเอกชน และภาครัฐท�ำงานได้ งา่ ยขึ ้นและเป็ นกลไกน�ำไป


สูก่ ารพัฒนาสมรรถภาพของโครงการต่างๆ เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ต้ นแบบนี ้ใช้ บทเรี ยน จากประสบการณ์ของชุมชนหลายแห่ง กับหน่วยงานเพื่อการพัฒนา ทังภาคเอกชนและภาครั ้ ฐ เป็ นรากฐาน โดยยึดงานภาคสนามและประสบการณ์จากชีวิตจริ งซึง่ ผ่านการปรับแก้ ให้ ยืดหยุน่ ขึ ้นและมีนวัตกรรมในตัว ศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชนช่วยเปิ ดพื ้นที่ส�ำหรับใช้ เครื่ องมือบริ หารจัดการองค์ความรู้ ศูนย์แห่ง นี ้ท�ำให้ ภาคส่วนต่างๆ มาทดลองร่วมงานกัน โดย “หน่วยงานด้ านการพัฒนา ภาคเอกชนและ ภาครัฐ” กับ “ชุมชน” ต่างมีบทเรี ยนและองค์ความรู้ของตนซึง่ ล้ วนแต่มีประโยชน์อย่างยิ่งหาก ได้ แลกเปลี่ยนกัน ในการร่วมงานครัง้ นี ้ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียจะได้ รับรู้บทเรี ยนส�ำคัญๆ ปั ญหา และอุปสรรคต่างๆ ซึง่ น�ำไปสูว่ ิธีการที่จะใช้ ความรู้และประสบการณ์ในอดีตของตนได้ ดีขึ ้น เป้ า หมายหลัก ของศูน ย์ เ รี ย นรู้ ชุ ม ชนคื อ ให้ ผ้ ูมี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย สามารถจ� ำ แนก นวัตกรรมที่มีคณ ุ ค่า เข้ าใจและเรี ยนรู้จากนวัตกรรมเหล่านัน้ จากนันให้ ้ สามารถน�ำนวัตกรรม มาปรับใช้ ให้ สอดคล้ องกับสถานะและบริ บทของตนได้ ด้วย ศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชน: วงจรเส้ นทางการเรี ยนรู้ ศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชนเป็ นกระบวนการสะสมต่อยอดซึง่ เริ่ มต้ นจากการจ�ำแนก องค์ความรู้ที่ เกี่ยวข้ องเพื่อท�ำการบันทึกและแยกแยะ จากนันคื ้ อการเข้ าถึง ความรู้ความช�ำนาญ (KNOWHOW) โดยศึกษาจากประสบการณ์ที่เป็ นนวัตกรรม สุดท้ ายคือสรุปผลออกมาเป็ น นวัตกรรม ซึง่ น�ำมาปรับใช้ โดยผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียให้ สอดคล้ องกับสถานะและบริ บทของตน ขัน้ ตอนการเตรี ยมการ: ต่ อยอดจากองค์ ความรู้ ท่ รี วบรวมมา ศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชนเป็ นผลจากองค์ความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้ องภายในประเทศ ในระยะ เตรี ยมการ จ�ำเป็ นต้ องให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียเป็ นผู้จ�ำแนกกลุม่ เป้าหมายที่ต้องการองค์ความรู้ นัน้ รวมทังก� ้ ำหนดวัตถุประสงค์ในการเรี ยนรู้โดยน�ำองค์ความรู้ที่มีอยูม่ าบันทึกแยกแยะให้ เป็ น ระบบระเบียบสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั้ วัตถุประสงค์: วัตถุประสงค์ในการเรี ยนรู้คือการจ�ำแนกสิง่ ที่ผ้ เู รี ยนจะสามารถท�ำได้ เมื่อท�ำการพัฒนาเส้ นทางการเรี ยนรู้ขึ ้นจนส�ำเร็จ กล่าวโดยเจาะจงคือครอบคลุมถึงความ เข้ าใจ ทักษะ และพฤติกรรมใหม่ที่คาดหวังว่าผู้เข้ าร่วมจะได้ รับจากกระบวนการเรี ยนรู้ โดยใช้ ความต้ องการของผู้เข้ าร่วมเรี ยนรู้เป็ นตัวก�ำหนดค�ำจ�ำกัดความของวัตถุประสงค์ในการเรี ยนรู้ การจัดให้ เป็ นระบบระเบียบ: หลังจากจ�ำแนกความต้ องการในการฝึ กอบรมและ วัตถุประสงค์การเรี ยนรู้ได้ แล้ ว จ�ำเป็ นต้ องมีกิจกรรมการปรึกษาจ�ำนวนหนึง่ จัดขึ ้นอย่างต่อ เนื่อง เพื่อสร้ างกระบวนการส�ำหรับจ�ำแนกว่ามีวิธีปฏิบตั ใิ ดบ้ างที่เป็ นเลิศ แล้ วใช้ ข้อมูลนี ้ระบุ ตัว “ผู้ร้ ูประจ�ำท้ องถิ่น” ซึง่ ใช้ วิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศนี ้อยู่ จากนันจึ ้ งน�ำมาเป็ นผู้เผยแพร่กระบวนการ เรี ยนรู้ (เจ้ าบ้ านองค์ความรู้) ต่อไป ดัชนีที่ใช้ คดั เลือกผู้ร้ ูเหล่านี ้ประกอบด้ วย คุณค่าขององค์

Kingdom of Cambodia

137


138

Kingdom of Cambodia

ความรู้ที่สงั่ สมมา ความสนใจที่จะเผยแพร่องค์ความรู้ และความสามารถในการจัดการอย่าง เป็ นระบบ หลังจากระบุตวั ผู้สมควรเป็ นเจ้ าบ้ านองค์ความรู้ ก็จะเข้ าสูก่ ระบวนการการมีสว่ น ร่วมเพื่อเริ่ มใช้ ประโยชน์จากข้ อมูลที่มีอยู่ วัตถุประสงค์คือให้ บคุ คลส�ำคัญจากองค์กรเจ้ าบ้ าน ทบทวนเส้ นทางสูค่ วามส�ำเร็จของตน ชี ้จุดวิกฤตที่เอาชนะมาได้ ระบุตวั ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ระบุ อุปสรรคต่างๆ ผลส�ำเร็ จ ปั จจัยหนุน ความท้ าทายและบทเรี ยนที่ได้ รับ ขณะเดียวกัน กระบวนการกลุ่มนี ้จะช่วยสร้ างความแข็งแกร่ งและสร้ างอ�ำนาจให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมทังหมดผ่ ้ านการ พัฒนาทักษะการเผยแพร่องค์ความรู้ โดยทัว่ ไปการรวบรวมองค์ความรู้ของเจ้ าบ้ านหนึง่ รายให้ เป็ นระบบระเบียบจะใช้ เวลาอย่างน้ อย 2-3 วัน แล้ วแต่ความซับซ้ อนของประสบการณ์นนั ้ กระบวนการเรี ยบเรี ยงนีเ้ ป็ นโอกาสให้ ผ้ ูมีบทบาทในท้ องถิ่นได้ ทบทวนประสบการณ์ ของตน ร่วมกัน ช่วยให้ ผ้ เู ข้ าร่วมตระหนักถึงคุณค่าของตนเอง รวมทังเห็ ้ นความส�ำคัญของผู้น�ำและ เพื่อนร่วมงานของตนด้ วย การส่ งเสริมทักษะ: หลังจากน�ำประสบการณ์มาเรี ยบเรี ยงเป็ นระบบแล้ ว ขันตอน ้ ต่อไปคือเสริ มทักษะผู้ช�ำนาญการท้ องถิ่ นให้ สามารถเผยแพร่ องค์ ความรู้ และเป็ นเจ้ าภาพ กิจกรรมถ่ายทอดเช่นการสร้ างเส้ นทางการเรี ยนรู้ได้ กระบวนการนี ้ปกติใช้ เวลาหนึง่ วัน โดยผู้ที่ จะเป็ นเจ้ าภาพในอนาคตจะได้ เรี ยนรู้เทคนิคและเครื่ องมือต่างๆ ในการแลกเปลี่ยนความรู้เช่น การเรี ยนรู้จากกันและกัน วิธีการน�ำเสนอ การใช้ แผนที่ การเตรี ยมการสวมบทบาทแสดง (role play) การน�ำชมสถานที่เพื่อการเรี ยนรู้ และการด�ำเนินการอภิปราย การบันทึกเป็ นเอกสาร: ระหว่างขันตอนการเตรี ้ ยมการกระบวนการเรี ยนรู้ จะมีการ ผลิตเอกสารที่เกี่ยวข้ องหลายรูปแบบเช่น จัดท�ำกรณีศกึ ษา แฟ้มเทคนิค ชีวประวัติ ระเบียบวาระการประชุม ไปจนถึงข้ อมูลเพื่อการปฏิบตั กิ าร วัสดุเหล่านี ้ควรจัดท�ำให้ เสร็ จก่อน เริ่ มกระบวนการเรี ยนรู้เพื่อให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมได้ เตรี ยมตัวรับการเรี ยนรู้เชิงประจักษ์ ในขันตอนด� ้ ำเนิน การกิจกรรม ด�ำเนินการกิจกรรม: น�ำกระบวนการเรี ยนรู้มาด�ำเนินการ ประกอบด้ วยการเตรี ยม และด�ำเนินการกระบวนการเรี ยนรู้ส�ำหรับผู้เข้ าร่วมระหว่าง 15-25 ท่าน โดยการเยี่ยมชมเจ้ า ภาพองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้ อง วัตถุประสงค์คือต้ องการให้ ผ้ เู ข้ าร่วมได้ เรี ยนรู้ด้วยประสบการณ์ ตรงว่าศูนย์เรี ยนรู้ชมุ ชนต่างๆ และภาคีใช้ วิธีการอย่างใดเอาชนะปั ญหาและตอบสนองความ ต้ องการซึง่ อาจตรงกับสิง่ ที่ตนประสพอยู่ รวมทังศึ ้ กษาการพัฒนาความรู้ความช�ำนาญจาก ประสบการณ์ดงั กล่าวเพื่อน�ำมาใช้ กบั นวัตกรรมของตนเองด้ วย การดูงานภาคสนาม: ระหว่างการดูงาน เจ้ าภาพองค์ความรู้จะน�ำเสนอ ประสบการณ์และบทเรี ยนของตน การดูงานทุกครัง้ คือประสบการณ์การเรี ยนรู้โดยมีมคั คุเทศก์


น�ำทาง เนื ้อหาการเรี ยนเชิงประจักษ์ และโครงสร้ างพลวัตรตามแต่วตั ถุประสงค์การเรี ยนรู้ มี การสร้ างสิง่ แวดล้ อมที่อ�ำนวยต่อการสนทนาแลกเปลี่ยน เพื่อกระตุ้นให้ ผ้ เู ข้ าร่วมกิจกรรมหา ข้ อมูลที่มีความส�ำคัญต่อตนเองที่สดุ ในสิง่ แวดล้ อมเช่นนี ้ ทังเจ้ ้ าภาพและแขกจะรวมเป็ นหนึง่ ต่างได้ ประโยชน์จากประสบการณ์ของอีกฝ่ าย และเป็ นการสร้ างความร่วมมือ ความเป็ นภาคี ซึง่ เอื ้อประโยชน์ให้ กนั และกันด้ วย การอ�ำนวยความสะดวกเพื่อการเรี ยนรู้ : เส้ นทางการเรี ยนรู้เป็ นการควบรวม ระหว่างกิจกรรมภาคสนามกับการวิเคราะห์ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้ บคุ คลและกลุม่ บุคคล ได้ ทบทวนความส�ำคัญของกรณีศกึ ษาที่หยิบยกมาพิจารณา การอ�ำนวยความสะดวกรวมถึง สนับสนุนทางเทคนิคนี ้เป็ นสิง่ ส�ำคัญตลอดเส้ นทางการเรี ยนรู้ เพราะเป็ นเครื่ องรับประกันว่าจะ มีการวิเคราะห์อย่างลึกซึ ้ง คณะผู้จดั ต้ องแน่ใจว่าการเรี ยนรู้ของผู้เข้ าร่วมกิจกรรมนันอยู ้ ใ่ น ทิศทางที่ตรงกับวัตถุประสงค์ ดังนันก่ ้ อนการดูงานแต่ละครัง้ ผู้จดั จ�ำเป็ นต้ องจัดเตรี ยมข้ อมูล เบื ้องต้ นให้ ผ้ เู ข้ าร่วมทราบเกี่ยวกับเจ้ าภาพองค์ความรู้วา่ ท�ำไมจึงเลือกคนเหล่านี ้มา และหลัง จากดูงาน ต้ องมีการประชุมปฏิบตั กิ ารเพื่อวิเคราะห์หาบทเรี ยนที่ได้ รับมาเสมอ แผนนวัตกรรม: ตังแต่ ้ เริ่ มต้ นเส้ นทางการเรี ยนรู้จนจบกระบวนการ ผู้เข้ าร่วมทังที ้ ่ เป็ นบุคคลและองค์กร มีหน้ าที่จดั ท�ำแผนนวัตกรรม ด้ วยวัตถุประสงค์คือน�ำบทเรี ยนที่ได้ รับมา ใช้ จ�ำแนกและประยุกต์ใช้ นวัตกรรมที่มีประโยชน์ตามแต่บริ บทของตน แผนดังกล่าวควรมีระยะ เวลาก�ำกับ เป็ นแผนที่เน้ นกิจกรรม บรรลุผลได้ ที่ส�ำคัญต้ องเป็ นแผนที่ตงอยู ั ้ บ่ นความเป็ นจริ ง การออกแบบแผนนวัตกรรมมีกิจกรรมรองรับสามอย่างคือ เทศกาลประสบการณ์ ประชุม ปฏิบตั กิ ารด้ านการออกแบบแผนนวัตกรรม และเทศกาลนวัตกรรม การประเมินผล: ในวันสุดท้ ายของเส้ นทางการเรี ยนรู้ ผู้เข้ าร่วมและคณะผู้จดั กิจกรรมจะท�ำการประเมินประสบการณ์ที่ได้ รับทังในฐานะบุ ้ คคลและเป็ นกลุม่ เป้าหมายคือ เพื่อปรับปรุงเส้ นทางการเรี ยนรู้ครัง้ ต่อไปให้ ดีขึ ้น ขณะเดียวกันก็เป็ นโอกาสส�ำคัญที่จะแสดง ความพึงพอใจที่มี่ตอ่ กระบวนการเรี ยนรู้ซงึ่ ผู้เข้ าร่วมได้ ปฏิบตั มิ าจนส�ำเร็ จ โดยการมอบ ประกาศนียบัตรแก่ผ้ เู ข้ าร่วม ขัน้ ตอนการติดตามผล: เพื่อติดตามเส้ นทางของนวัตกรรม เส้ นทางการเรี ยนรู้ไม่ได้ จบลงเมื่อสิ ้นสุดกิจกรรม เพราะเป้าหมายหลักคือต้ องการให้ ผ้ เู ข้ าร่วม น�ำแผนนวัตกรรมของตนไปใช้ งานกับหน่วยงานหรื อสถาบันของตนในระดับโครงการด้ วย นับ เป็ นขันตอนส� ้ ำคัญที่จะทดสอบว่าผู้เข้ าร่วมได้ ซมึ ซับองค์ความรู้นนๆ ั ้ ไปเพียงใด และสามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้ ในบริ บทของตนได้ มากหรื อน้ อย การแยกแยะการเรี ยนรู้ : เมื่อกลับถึงบ้ าน ผู้เข้ าร่วมจะต้ องการเผยแพร่บทเรี ยนที่ได้ รับสูอ่ งค์กรของตน จึงจ�ำเป็ นที่จะต้ องให้ การสนับสนุนในการเตรี ยมและด�ำเนินการกิจกรรม

Kingdom of Cambodia

139


140

เผยแพร่ เพื่อพัฒนาศักยภาพและดึงดูดภาคีใหม่ๆ เข้ ามาสูก่ ระบวนการนวัตกรรมในสาขาที่ตน เชี่ยวชาญอยู่ แผนนวัตกรรม: หากต้ องการประสพความส�ำเร็จ แผนนวัตกรรมควรจะครอบคลุม และเป็ นตัวแทนบุคคลากรและองค์กรต่างๆ จ�ำนวนมากซึง่ เกี่ยวข้ องกับทังปั ้ ญหาและทางออก ผู้เข้ าร่วมแต่ละท่านต้ องแยกแยะผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียเหล่านี ้และก�ำหนดเส้ นทางส�ำหรับเผยแพร่ ปรับปรุง และพิสจู น์ความสมเหตุสมผลของแผนนวัตกรรมที่พฒ ั นาขึ ้นระหว่างเส้ นทางการ เรี ยนรู้ โดยผู้เข้ าร่วมควรส่งแผนฉบับสมบูรณ์ให้ กบั คณะผู้จดั กิจกรรมเป็ นการป้อนข้ อมูลกลับ ขันสุ ้ ดท้ ายด้ วย การประเมินผล: คณะผู้จดั ควรร่วมท�ำการประเมินผลกับผู้เข้ าร่วมเส้ นทางการเรี ยน รู้ภายใน 3-6 เดือนหลังจากกิจกรรม เพื่อรับทราบความก้ าวหน้ าในการน�ำแผนนวัตกรรมไป ด�ำเนินการ คณะผู้จดั ควรจัดให้ มีการดูงานภาคสนามในพื ้นที่ตา่ งๆ ที่น�ำแผนนวัตกรรมไปใช้ เพื่อท�ำความเข้ าใจว่าผู้เข้ าร่วมสัมฤทธิ์ผลมากน้ อยเพียงใด เพื่อเรี ยนรู้อปุ สรรคที่พบ และตัดสิน ว่าต้ องท�ำอย่างไรจึงจะสนับสนุนแผนเหล่านันได้ ้ เหมาะสมที่สดุ ในอนาคต กิจกรรมนี ้จะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพของแผนนวัตกรรมได้ เป็ นอย่างดี การสิน้ สุดกระบวนการ: ตังแต่ ้ เริ่ มออกแบบเส้ นทางเรี ยนรู้ไปจนจบวงจรนับเป็ นเวลานานพอ สมควร ระหว่างนันมี ้ การสร้ างผลิตภัณฑ์องค์ความรู้หลายชิ ้น มีผ้ ชู �ำนาญการเกิดขึ ้น ตลอดจน มีการเผยแพร่ข้อมูลว่าด้ วยเส้ นทางการเรี ยนรู้ผา่ นทางเอกสารตีพิมพ์ เว็บไซต์ วีดโิ อ และ ภาพถ่ายเป็ นจ�ำนวนมากด้ วย บทเรี ยนจากศูนย์ เรี ยนรู้ ชุมชนเพื่อการพัฒนาหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้ านอย่ างยั่งยืน

Kingdom of Cambodia


คณะท�ำงานโครงการ Chiang Mai crafts and Folk Art Forum 2015

รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ สุรพล ด�ำริ ห์กลุ อาจารย์วิถี พานิชพันธ์ นางสาวอันเยลา ศรี สมวงศ์วฒ ั นา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กนั ต์ พูนพิพฒ ั น์ รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพวรรณ ทัง่ มัง่ มี รองศาสตราจารย์สกุ รี เกษรเกศรา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์มานพ มานะแซม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เธียรชาย อักษรดิษฐ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ธิตพิ ล กันตีวงศ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วีระพันธ์ จันทร์ หอม อ. ดร. สุมนัสยา โวหาร อ. ดร. คณิเทพ ปิ ตภุ มู ินาค อ. ดร. ธัชธรรม ศิลป์ สุพรรณ อาจารย์ปรัชญา คัมภิรานนท์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วรนันท์ โสวรรณี อาจารย์สราวุธ รูปิน นายรัตนะ ภูส่ วาสดิ์ นายกลศ บุญทวี นางสาวกันต์กมล ค�ำน้ อย นางสาววัชราภรณ์ ช่างเหล็ก นายณัฐพงศ์ สมยานะ นางสาวอรกัญญา อินทะวงศ์

นายสถาพร เก่งพานิช นางฉฬภิญญา ตรี วิทย์ นายไชยณรงค์ วัฒนวรางกูล นายสุวิทย์ คิดการงาน นางฆนาวรี เจียตระกูล นางสาวสุลาลักษณ์ ขาวผ่อง นางสาวเมวิกา หาญกล้ า นายพงษกร ยะภิระ นายไชยันตร์ โคมแก้ ว นางสาวเยาวภา เทพวงศ์ นางสาววิไลวรรณ เมฆวงษ์ นางอภิญญา กาวิล นายภควัส บุตรศรี นายสุรศักดิ์ พรามมา นายประภาส เมธา นายวิชยั กันทา นางสาวนริ ศรา ม่วงศรี ผู้ประกอบการในโครงการ Lanna Collection

นางปิ ยะฉัตร ใคร้ วานิช เบอร์ ทนั อาจารย์บณ ั ฑิต วัฒนกสิวิชช์ อาจารย์อมุ าพร เสริ ฐพรรณึก นางศริ นยา จตุราวิชานันท์ นส. ยุจเรศ สมนา

นักศึกษาสาขาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย นักศึกษาภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


เอกสารประกอบงาน Chiang Mai Crafts and Folk Art Forum 2015 จัดท�ำโดย : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) ประธานโครงการ : รศ.ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ปี ที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2558 พิมพ์ที่ : มิสเตอร์ เจมส์ เชียงใหม่ ออกแบบปก : กันต์กมล ค�ำน้ อย แปลภาษา : กลศ บุญทวี ออกแบบรูปเล่ม : angela srisomwongwathana วางรูปแบบ : วัชราภรณ์ ช่างเหล็ก , ณัฐพงศ์ สมยานะ ติดต่อ : www.facebook.com/ChiangmaiCCFA




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.