แก้ไขปัญหาความยากจน

Page 1

สว นที่ สอง มีก ารสนั บสนุ นจากชุม ชน มีก ารชว ยเหลื อ เกื้ อกู ล ครัว เรื อ น ยากจน การแก ไ ขป ญหาหนี้ นอกระบบ ด ว ยกลุ ม ออมทรั พ ยฯ , กข.คจ. การระดมความชวยเหลือ ระดมทุนและการสงเคราะหดานสวัสดิการชุมชน สวนที่สาม คือ การบูรณาการส วนราชการและ อปท. รวมกันกําหนดแผน เพื่อรวมมือกันแกไขปญหาโดยยึดครัวเรือนยากจนเปาหมาย ยึดเข็มทิศชีวิต หรือแผนที่ชีวิตเปนแนวทางการดําเนินงาน

กระบวนงานที่ 4 การดู แ ลชี วิ ต ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารตํ า บลติ ด ตามดู แ ล ความกาวหนาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือน รวมปรับปรุงแผนที่ชีวิต ครัวเรือน ใหมีความเหมาะสม ใหกําลังใจแกครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ 478 หมู บา น มี การมอบหมายให เ จ า หน า ที่แ ละผู นํา ชุม ชนรั บผิ ด ชอบเป นราย ครั ว เรือ น ผลั ก ดั นให ชุ มชนมี ส วนร ว มในการดู แ ลชีวิ ต และสนั บ สนุ น ให ครัวเรือนเปาหมาย สามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ มีการจัดคลินิกแกจน ใหคําปรึกษาอาชีพทางเลือก ฝกทักษะดานอาชีพ สนับสนุนวั สดุ อุปกรณการประกอบอาชีพแกครัวเรือนยากจน ในพื้นที่ 18 อํา เภอ 82 ตํา บล 478 หมูบาน โดยดํา เนินการทั้งในระดับอํา เภอ ตํา บล และ หมูบาน ซึ่งแตล ะพื้นที่จะดําเนินการใหสอดคล องตามความเหมาะสม ตามศักยภาพและความตองการของครัวเรือนยากจนเปาหมายในพื้นที่ .................................

โครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และ ดูแลชีวิต กระทรวงมหาดไทยกํา หนดใหการดําเนินนโยบายแกไขปญหา ความยากจนแบบบู ร ณาการ โครงการลดความเหลื่ อ มล้ํ า ด า นรายได ดวยการขจัดความยากจนในชนบท เปนงานสําคัญของกระทรวงมหาดไทย ในการตอบสนองตออุดมการณ “บําบัดทุกข บํารุงสุข” ในโอกาสครบรอบ การก อ ตั้ ง กระทรวงมหาดไทย 120 ป และเทิ ด พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระบรมวงศเธอ กรมพระยาดํา รงราชานุภ าพ 150 ป วันประสู ติ และ ครบรอบ 50 ป ที่ อ งค ก ารศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร แ ละวั ฒ นธรรมแห ง สหประชาชาติ (UNESCO) ถวายพระเกียรติใหเปนบุคคลสําคัญของโลกคน แรกของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2556 จั ง หวั ด เชี ย งรายมี ค รั ว เรื อ นยากจน เปาหมายในการยกระดับรายไดของครัวเรือนใหผานเกณฑ จปฐ. จํานวน 1,036 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 50 ของจํานวน ครัวเรือนยากจนทั้งหมด 2,063 ครัวเรือน ตามขอมูล จปฐ. ป 2555


ผลการดําเนินงาน ของจังหวัดเชียงราย

กระบวนงานที่ 1 การชี้เปาชีวิต มีการประชุม ศจพ.จ.เชียงราย โดยทาน

จากการขับเคลื่อนโดยใชกลไกศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและ พัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดเชียงราย (ศจพ.จ.) ซึ่งมี ท า นผู ว า ราชการจั ง หวั ด เชี ย งรายเป น ประธาน และพั ฒ นาการจั ง หวั ด เชียงรายเปนกรรมการและเลขานุการ ภายใตกระบวนการบริหารจั ดการ ครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ตาม 4 กระบวนงาน และผลจากการบู รณาการการทํา งานของทุ กภาคส ว นในการแกไ ข ปญหาความยากจนอยา งจริ งจั ง ทํา ให ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2556 จังหวัดเชียงรายสามารถยกระดับรายไดครัวเรือนยากจนใหผานตามเกณฑ จปฐ. ไดแลวจํานวน 1,390 ครัวเรือน คิดเปนรอยละที่ลดลงคือ 67.38 ซึ่งขณะนี้สามารถยกระดับรายได ไดมากกวาเปาหมายถึงรอยละ 17.38

ผูวาราชการจังหวัดเชียงรายเปนประธาน มีการสรา งชุดปฏิบัติการตํา บล ในทุกตํา บลที่มีครัวเรือนยากจน เพื่ อไปเยี่ยมเยียน ศึกษาขอมูล ครัวเรือน เปา หมายโดยตรง มีการจํา แนกกลุ มเปาหมายตามศักยภาพ โดยแยกเปน ครัวเรือนที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาตนเองได และครัวเรือนที่ตองสงเคราะห จากนั้นไดรวมกับครัวเรือนเปาหมายทุกครัวเรือนจัดทําสมุดบันทึกการแกไข ปญหาความยากจนรายครัวเรือน Family Folder เพื่อสรางความตระหนัก และยอมรับสาเหตุของปญหาความยากจนของกลุมเปาหมาย

กระบวนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจน แบบบูรณาการ ตาม 4 กระบวนงาน

กระบวนงานที่ 2 การจัดทําเข็มทิศชีวิต มีการสรางความเขาใจรวมกัน ระหวางเจาหนาที่และผูนําชุมชนที่รวมทีมปฏิบัติการ รวมกันวิเคราะหตนทุน ศักยภาพของครัวเรือนเปาหมาย ศึกษาอาชีพ ทางเลือก ที่มีความเปนไปได และสอดคลองกับครัวเรือน รวมกับครัวเรือนยากจน จัดทําเข็มทิศชีวิต และ สรางความเคารพในขอผูกพันตอเข็มทิศชีวิตที่จะเกิดขึ้น

กระบวนงานที่ 3 การบริหารจัดการชีวิต โดยครัวเรือนยากจนบริหาร จัดการชีวิตตามเข็มทิศชีวิตของตนเอง ในสวนแรก ครัวเรือนบริหารจัดการ ชีวิตของครัวเรือนตนเอง โดยการลด ละ เลิ ก อบายมุข มีการ ประหยัด รู จั กใชเงิน อยา งมีเหตุผ ล มี การลดการ บริโภคที่เกิน ความจําเปน การจัดทํา บัญชีครัวเรือน เพื่อเตือนใจตนเองในการ ใชจายเงิน มีการสรางอาชีพเสริมให ตนเองและครอบครัว


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.