ถอดบทเรียนแก้จน เชียงราย

Page 1

ารพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนยากจน

จังหวัดเชียงราย ป ๒๕๕๗

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิตและดูแลชีวิต จังหวัดเชียงราย

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย เลขานุการคณะกรรมการอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดเชียงราย ( ศจพ.จ.ชร )

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 19


ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิตและดูแลชีวิต จังหวัดเชียงราย ป 2557

จากกรอบแนวคิดในการบู ร ณาการการบริ หารจั ดการครั วเรื อนยากจนรายครั วเรือ นที่มุ ง หวัง ให ครั วเรือ นยากจนมี ความสามารถในการบริ หารจั ดการชีวิตตนเองไดอ ยางเหมาะสมตามสภาพสาเหตุและ เงื่อ นไข ซึ่ง โครงการบริหารจัดการครัวเรื อนยากจนแบบบูร ณาการ : ชี้เป าชีวิต จั ดทํ าเข็มทิศชีวิต บริ หาร จัดการชีวิตและดูแลชีวิต เปนโครงการที่ไดดําเนินงานมาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2555 โดยมีเปาหมายใน การแกไขปญหาความยากจนในครัวเรือนยากจนที่มีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. จังหวัดเชียงรายมีครัวเรือนยากจนที่มีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. 30,000 บาท/คน/ป (จากขอมูล จปฐ.ป 2556 ) จํานวน 673 ครัวเรือน ซึ่งครัวเรือนสวนใหญเปนครัวเรือนที่เปนผูสูงอายุ อาศัยอยูเพียง ลําพังและมีความตองการการสงเคราะหมากกวาจํานวนครัวเรือนที่มีศักยภาพพรอมที่จะพัฒนาตนเอง ซึ่งมี รายละเอียดจํานวนครัวเรือนแยกตามประเภท คือ 1. ครัวเรือนที่พัฒนาได จํานวน 331 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 49.18 2. ครัวเรือนที่ควรไดรับการสงเคราะห จํานวน 342 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 50.82 ในป 2557 จังหวัดเชียงรายกําหนดเปาหมายในการยกระดับรายไดใหผา นเกณฑ จํานวนรอยละ 70 คือ จํานวน 478 ครัวเรือน โดยเนนย้ําการคัดเลือกครัวเรือนยากจนเปาหมายที่พัฒนาไดเปนเปาหมายหลัก ในลํ า ดั บ แรก ซึ่ ง เป น การกํ า หนดเป า หมายที่ มี จํ า นวนมากกว า เป า หมายการดํ า เนิ น งานตามตั ว ชี้ วั ด “จํานวนครัวเรือนยากจน (ทั้งประเทศ)” ซึ่งไดกําหนดเปาหมายดําเนินการ ป 2557 โดยกําหนดใหยกระดับ ครัวเรือนยากจนที่ตองพัฒนาใหคงเหลือในพื้นที่ ไมเกินรอยละ 50 ของครัวเรือนยากจนครัวเรือนที่ตองพัฒนา 1. กระบวนการดําเนินงานและผลการดําเนินงาน จังหวัดเชียงรายไดดําเนินการขับเคลื่อนโครงการโดยใชกระบวนการบริหารจัดการครัวเรือน ยากจนแบบบูรณาการ ตามกระบวนงาน 4 กระบวนงานเป น หลักและไดเนนหนักใหความสําคัญกับการจัดสรรงบประมาณ เพื่อ สนับสนุนกระบวนการขับ เคลื่อ นในระดับ พื้นที่ม ากที่ สุ ด โดยจังหวัดเชียงรายไดรับการจัดสรรงบประมาณตามโครงการฯ จากกรมการพัฒ นาชุม ชน จํ านวน 1,819,130 บาท และ ไดจั ดสรรงบประมาณให ทุ กอํ าเภอเพื่อดําเนินการขับ เคลื่ อ น กระบวนงานในพื้นที่อยางเต็มที่ โดยมีขั้นตอนตามกระบวนงาน และผลการดําเนินงานในแตละกระบวนงาน ดังนี้

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 1


กระบวนงานที่ 1 การชี้เปาชีวิต 1) บันทึกเสนอผูวาราชการจังหวัดเชียงรายเพื่อทราบและพิจารณาใชคณะกรรมการศูนย อํานวยการขจัดปญหาความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงชุดเดิม ตามคําสั่งจังหวัด เชียงราย ที่ 771/2557 และ 788/2556 ลงวันที่ 21 มี.ค.56 ขับเคลื่อนการแกไขปญหาความยากจนให เกิดความตอเนื่องโดยไมแตงตั้งคณะกรรมการฯ ชุดใหม 2) จั ดประชุม คณะกรรมการอํ านวยการขจัดความยากจนและพัฒ นาชนบทตามปรั ชญา เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดเชียงราย ( ศจพ.จ.ชร ) เพื่อเตรียมความพรอม ระดับจังหวัด ในวันที่ 19 ธ.ค. 56 ณ ห อ งธรรมลั ง กา ศาลากลางจั ง หวัด เชีย งราย ทั้ ง นี้ ไดส ง ทะเบี ย นครั วเรื อ นยากจนให ทุ ก หนว ยงานใช เ ป น ขอมูลพื้นฐานในการกําหนดเปาหมายในการแกไขปญหา ความยากจนร วมกั น มีก ารมอบหมายใหทุ ก หนวยงาน จั ดทํ าข อ มู ล แผนงานโครงการของแตล ะหนวยงานที่ มี กิจกรรมสนับสนุนการแกไขปญหาความยากจนและการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนสงใหจังหวัด รวบรวม เป น ข อ มู ล ในการบู ร ณาการ มี ก ารจั ด ทํ า เล ม family folder สนั บ สนุ น ให ค รั ว เรื อ นยากจนเป า หมายทุ ก ครัวเรือน ใหเปนรูปแบบเดียวกันทั้งจังหวัดและสามารถใช ประโยชนไดอยางเต็มที่ 3) ในสวนของการประชาสัม พันธก ารดําเนิน โครงการฯ มีการดําเนินการดังนี้ 3.1 จัดทําปายไวนิลประชาสัมพันธ พรอม ขาตั้ง สนับ สนุน ให อํ าเภอเพื่อ ใชป ระชาสั ม พั นธกิ จ กรรม ทุ ก อําเภอ รวม 20 อัน 3.2 จั ด ทํ า สปอตประชาสั ม พั น ธ แ ละ ประชาสัมพันธผานสถานีวิทยุ fm 92.25 music box ทุกวัน ๆ ละ 8 ครั้ง เปนเวลา 3 เดือน 3.3 จัดทําแผนพับประชาสัมพันธโครงการฯ จํานวน 200 แผน 4 ) ใ น ร ะ ดั บ อํ า เ ภ อ มี ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น กระบวนงานที่ 1 ดังนี้ 4.1 ทบทวนปรั บ ปรุ ง คําสั่ ง คณะกรรมการ ศูนยอํ านวยการขจั ดป ญ หาความยากจนและพัฒ นาชนบทตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ( ศจพ.อ.) มีการจัดประชุมเตรียมความ พรอมการดําเนินงาน ระดับอําเภอ และจัดประชุมชี้แจงทําความ เขาใจ ศจพ.จ.และผูเกี่ยวของ 4.2 ทบทวน ปรั บ ปรุ ง คําสั่ ง แตง ตั้ง ที ม ปฏิ บั ติก ารตํ าบล ฝ ก อบรมสร า งความเขาใจ ทีมปฏิบัติการตําบล สรางความเขาใจเพื่อใหทีมปฏิบัติการตําบลเขาใจแนวทางการดําเนินงาน ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 2


4.3 ตรวจสอบและจําแนกสถานะครัวเรือนยากจนเปาหมาย โดยจําแนกครัวเรือนยากจน เป น 3 ประเภท 1) ครั วเรื อ นที่ พัฒนาได 2) ครั วเรื อ นที่ตอ งสงเคราะห 3) ครั วเรื อ นที่ไม ตอ งการรั บ ความชวยเหลือ และตรวจสอบครัวเรือนที่ตาย/ยายออก

4.4 ทีมปฏิบัติการตําบลและครัวเรือนยากจนเปาหมายรวมกันจัดทํา Family Folder ครัวเรือนยากจน 5) ในขณะเดี ยวกั นที่ ชุ ดปฏิบั ติก ารตํา บลลงพื้น ที่ เ พื่ อ จัดเวทีชุมชนตรวจสอบขอมูลและดําเนินการจําแนกสถานะครัวเรือนนั้น ในระดับจังหวัดโดย ศจพ.จ.เชียงรายไดดําเนินการรวบรวมขอมูลแผนงาน โครงการ กิจกรรมของหนวยงานราชการตางๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใชเปนขอมูล การบูรณาการกิจกรรมแกไขปญหาความยากจนระดับจังหวัด 6) ศจพ.จ.เชี ย งราย ส ง ฐานข อ มู ล ครั ว เรื อ นยากจน ทั้งหมดและทะเบียนพื้นที่ที่มีครัวเรือนยากจนใหหนวยงานภาคีที่เกี่ยวของ นําไปบู ร ณาการการทํ างานกํ าหนดเป นเป าหมายการทํ างานเพื่อ แก ไ ข ปญหาใหตรงจุด กระบวนงานที่ 2 การจัดทําเข็มทิศชีวิต 1) ในระดับจั งหวัดเชียงรายไดจั ดมหกรรมแกไขปญหา ความยากจน ในชื่อกิจกรรม “มหกรรมแกจน สรางคน สรางอาชีพ สรางรายไดอยางยั่งยืน” ณ บานหนองหมอ ม.9 ต.ป า อ อ ดอนชั ย อ.เมื อ งเชี ย งราย วั น ที่ 23 มกราคม 2557 โดยมี น ายประจญ ปรั ช ญ ส กุ ล รองผูวาราชการจังหวัดเชียงรายเปนประธาน มีการจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนโครงการ อาทิ

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 3


1.1 การจัดจุดเรียนรู และสาธิตกิจกรรม จํ านวน 4 จุดเรี ยนรู ไดแก ฐานกิจ กรรมลด รายจาย ฐานกิจกรรมเพิ่มรายได ฐานกิจกรรมขยายโอกาส และฐานกิจกรรมดานการสรางเสริมสุขภาพ

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 4


1.2 การลงนาม MOU รวมมือกันแกไขปญหาความยากจนระหวาง ผูแทนระดับจังหวัด อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูนําชุมชนและครัวเรือนยากจน 1.3 กิจกรรมออกหนวยบริก ารของหนวยงานระดับจังหวัด อําเภอและตําบล ซึ่งไดรั บ ความรวมมืออยางดียิ่งจากหนวยงานตาง ๆ ในการจัดนิทรรศการใหความรูแกผูเขารวมงาน ไดแก ที่ทําการ ปกครองจังหวัด สํานักงานเกษตรและสหกรณการเกษตรจังหวัด สํานักงานปศุสัตวจังหวัด สํานักงานพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร หรือ ธ.ก.ส เทศบาล ตําบลปาออดอนชัย สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย พระอาจารยพบโชค วัดหวยปลากั้ง และชมรม อาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย 1.4 การจัดเวทีเสวนาแนวทางการใชทุนชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

2) ในระดับพื้นที่ มีการสรางความเขาใจรวมกันระหวางเจาหนาที่และผูนําชุมชนที่รวมทีมปฏิบัติการ รวมกันวิเคราะหตนทุน ศักยภาพของครัวเรือนเปาหมาย ในพื้นที่หมูบาน เพื่อรวมกันศึกษาอาชีพ ทางเลือกที่มี ความเปนไปได และสอดคลองกับครัวเรือน รวมกับครัวเรือนยากจน จัดทําเข็มทิศชีวิต และสรางความเคารพ ในข อ ผู ก พัน ต อ เข็ ม ทิ ศ ชีวิ ต ที่ จ ะเกิ ด ขึ้น โดยจั ด ทํ า MOU ระหวา งครั ว เรื อ นยากจนกั บ ที ม ปฏิ บั ติ ก าร ทุกครัวเรือน สําหรับการขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ ทีมปฏิบัติการแกจนตําบล ประกอบดวย ประกอบดวย พัฒนากร ปลัด อบต. หนวยงานราชการในระดับตําบลที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชนและผูนํา อช./อช. เปนหนวย ขับเคลื่อนภายใตแนวคิด “ปฏิบัติการ 4 ท” คือ ท ที่ 1 : รวมกันพิจารณาทัศนะตอชีวิต ตอการงาน ท ที่ 2 : รวมกันศึกษาทักษะฝมือแรงงาน ท ที่ 3 : รวมกันประเมินทรัพยากร ที่ดิน ปจจัยการผลิต และ ท ที่ 4 : รวมกันวิเคราะหตัดสินใจ สรุปทางออกแนวทางแกจน

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 5


กระบวนงานที่ 3 การบริหารจัดการชีวิต 1) ศจพ.จ.และ ศจพ.อ. ร วมกั นจั ดคลิ นิก แก จ น เพื่อ ให คําปรึ ก ษา อาชี พทางเลื อ กหรื อ ฝ ก ทั ก ษะด านอาชีพ แก ค รั วเรื อ นเป า หมายหรื อ สนั บ สนุ นวัส ดุ อุปกรณประกอบอาชีพใหแก คร.ยากจนเปาหมาย ในพื้นที่ 18 อําเภอ ซึ่งระดับการจัด กิจกรรมของแตละพื้นที่จะแตกตางกันไปตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ มีทั้งการ จัดในระดับอําเภอ ระดับตําบลและระดับหมูบาน ซึ่ ง แต ล ะพื้ น ที่ จ ะจั ด กิ จ กรรมตามความเหมาะสม สอดคล อ งกั บ ศัก ยภาพและความตองการของครั วเรื อนยากจนในแตล ะพื้นที่ อี ก ทั้ง ยัง มี กิจ กรรม สนับ สนุนในระดับ อํ าเภออี ก เชน สนับ สนุนการประกอบอาชีพตามความถนัดของ ครัวเรือนตามที่ไดกําหนดไวในแผนชีวิตของแตละครัวเรือน สนับสนุนการดํารงชีวิตตาม วิถีเศรษฐกิจพอเพียง การนําครัวเรือนเปาหมายศึกษาดูงานดานอาชีพ ดานเศรษฐกิจ พอเพียงจากศูนยเรียนรูในพื้นที่เดียวกันและพื้นที่ใกลเคียง 2) ในระดับอําเภอ มีการจัดเวทีบูรณาการโครงการ/กิจกรรมตาม แผนชีวิต ทีมปฏิบัติการตําบลและภาคีการพัฒนารวมกันผลักดันขับเคลื่อนแผนงาน/ โครงการตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจน ใหบรรจุในแผนใหความชวยเหลือของ หนวยงาน กลาวโดยสรุปกระบวนการบริหารจัดการชีวิตสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมตามโครงการได ดวยความรวมมือจากผูเกี่ยวของใน สามสวนคือ ในสวนแรก ครัวเรือนยากจนบริหารจัดการชีวิตตามเข็มทิศชีวิต ของตนเอง มีความยึดมั่นในเข็มทิศชีวิต โดยการลด ละ เลิก อบายมุข มี การประหยัด รูจักใชเงินอยางมีเหตุผล มีการลดการบริโภคที่เกินความ จําเปน การจัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อเตือนใจตนเองในการใชจายเงิน การ สรางอาชีพเสริมใหตนเองและครอบครัว สวนที่ส อง มี การสนับ สนุนจากชุม ชน มี การชวยเหลือ เกื้ อกู ล ครัวเรือ นยากจนในดานเศรษฐกิจ การชวยเหลื อในเรื่อ งการแก ไขป ญหาหนี้นอกระบบดวยกลุม ออมทรัพย เพื่อการผลิต กองทุนแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) การระดมความชวยเหลือการระดมทุนและการให การสงเคราะหดานสวัสดิการชุมชน สวนที่ส าม คือ การบู ร ณาการส วนราชการและองคกรปกครองส วนท อ งถิ่นร วมกั นกํ าหนดแผน เพื่อ ร วมมื อ กั นแก ไขป ญ หาโดยยึดครั วเรื อ นยากจนเป าหมายยึดเข็ม ทิ ศชีวิตหรื อ แผนที่ ชีวิตเป นแนวทาง การดําเนินงาน 3) สํ านัก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ดเชีย งราย ในฐานะกรรมการและเลขานุก าร ศจพ.จ. เชียงราย จัดประชุมคณะกรรมการศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จังหวัดเชียงราย (ศจพ.จ.) เพื่อรายงานความกาวหนาผลการดําเนินงานฯ เมื่อวันศุกรที่ 20 มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ณ หองธรรมลังกา ศาลากลางจังหวัดเชียงราย

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 6


กระบวนงานที่ 4 การดูแลชีวิต 1) ชุดปฏิบัติการตําบลทุกทีมลงพื้นที่เพื่อติดตาม ดูแลความก าวหนาการพัฒ นาคุณภาพชีวิตของครั วเรื อ นยากจน และรวมกันปรับปรุงแผนที่ชีวิตหรือแผนพัฒนาครัวเรือนใหมีความ เหมาะสมกับ สภาพความเป นจริ ง รวมถึง ใหกํ าลั ง ใจแก ครัวเรื อ น ยากจน ในพื้นที่หมูบาน 2) จังหวัดเชียงรายไดมอบหมายเจาหนาที่พัฒนา ชุม ชนของอํ าเภอกํ าหนดครั วเรื อ นเป าหมายหลั ก ในการติดตาม สนับสนุนการแกไขปญหาความยากจนแบบเขมขน จํานวน 1 คน / 1 ครัวเรือน และทุกอําเภอดําเนินการคัดเลือกครัวเรือนยากจน ต น แบบระดั บ อํ า เภอเพื่ อ เป น ตั ว อย า งของความสํ า เร็ จ ในการ ขับเคลื่อนกระบวนการแกจนตาม 4 กระบวนงาน ใหแกครัวเรือน ยากจนอื่นๆ ซึ่งผลจากการคัดเลือกครัวเรือนยากจนตนแบบทําให จังหวัดเชียงรายมีตัวอยางที่ประสบความสําเร็จสามารถเปนแบบอยางและใชเปนตัวแทนในการนําเสนอผล ความสําเร็จในการขับเคลื่อนโครงการทั้งหมดได

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 7


3) การจัดกิจกรรมนําเสนอผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน ระดับจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงรายจัดกิจกรรมนําเสนอผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน ระดับจังหวัด เชี ย งราย ภายใต ชื่ อ งาน “คุ ณ ภาพของข อ มู ล สู คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องคนเชี ย งราย ป 2557” ในวันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม 2557 ณ โรงแรมลักษวรรณ รีสอรท อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย โดยมีนายประจญ ปรัชญสกุล รองผูวาราชการจังหวัดเชียงรายเปนประธานในพิธีเปด ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ สรุปผลการขับเคลื่อนโครงการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการโดยสรุปใหเห็นถึงกระบวนการทั้งหมด ตั้งแตการบริการการจัดเก็บขอมูลที่มคี ุณภาพจนถึงขั้นตอนการนําขอมูลไปใชประโยชนในการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะการใชขอมูลเพื่อการแกไขปญหาความยากจนแบบบูรณาการ โดยในกิจกรรมฯ ดังกลาว ประกอบดวยกิจกรรมยอย คือ - การจัดนิทรรศการความสําเร็จของการขับเคลื่อนโครงการฯ ทั้งในระดับจังหวัดและอําเภอ - การนําเสนอผลการพัฒนาครัวเรือนยากจนตนแบบของอําเภอทุกอําเภอ - การจัดเวทีเสวนาความสําเร็จของการบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ และการแกไขปญหาความยากจน แบบบูรณาการจังหวัดเชียงราย

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 8


4) การติดตามความกาวหนาการแกไขปญหา ความยากจนระดับ จ./อ. /ต. โดยในระดับจังหวัด คณะทํางาน ศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดเชียงราย (ศจพ.จ.เชียงราย) ไดแบง ที ม คณะทํ า งานออกเป น 3 คณะ เพื่ อ ติ ด ตามสนั บ สนุ น การขับ เคลื่ อ นการแก ไขปญ หาความยากจนในระดับ อํ าเภอ จนถึงระดับ ครั วเรื อน ซึ่ง มีก ารลงพื้นที่ติดตามสนับ สนุนครบ ทุกพื้นที่ 18 อําเภอ สํ าหรับ ในระดับ อําเภอ คณะกรรมการ ศจพ.อ. และ ศจพ.ต เป นหนวยในการติดตามสนับ สนุนใน ระดับ พื้นที่ ตําบลและหมู บ านจนถึง ระดับครั วเรื อ น ในพื้นที่ เปาหมายทุกหมูบาน ผลจากการบูรณาการการทํางานของทุกภาค สวนในการแก ไขป ญ หาความยากจนอยางจริง จั ง ในป พ.ศ. 2557 (ณ วั น ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2557) จั ง หวั ด เชียงรายสามารถยกระดับรายไดครัวเรือนยากจนใหผานตาม เกณฑ จปฐ. ไดแลว จํานวน 461 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 96.44 ของเปาหมายที่กําหนด และเมื่ อ เที ย บผลการการดํ า เนิ น งานกั บ เปาหมายการดําเนินงานตามตัวชี้วัด“จํานวนครัวเรือนยากจน (ทั้ง ประเทศ)” ซึ่งไดกํ าหนดเปาหมายให จังหวัดเชียงราย ดําเนินการยกระดับครัวเรือนยากจนที่ตองพัฒนาใหคงเหลือใน พื้นที่ ไมเกินรอยละ 50 คือใหคงเหลือจํานวน 149 ครัวเรือน ของครั วเรื อ นยากจนครั วเรื อ นที่ ตอ งพั ฒ นา เมื่ อ ตรวจสอบ เปรียบเทียบผลการยกระดับรายไดครัวเรือนยากจน ในจํานวน 461 ครัวเรือน ปรากฏวาเปนครัวเรือนยากจนที่เปนครัวเรือน ที่พัฒนาได จํานวน 282 ครัวเรือน จึงทําใหคงเหลือครัวเรือน ยากจนที่พัฒนาไดในพื้นที่เพียงจํานวน 49 ครัวเรือน คิดเปน รอยละที่คงเหลือ คือ รอยละ 14.80 ซึ่งสามารถทําไดเกินกวาเปาหมายที่กรมฯ กําหนด ขณะนี้ทีมปฏิบัติการแกจนตําบลยังคงติดตามดูแลความกาวหนาการบริหารจัดการชีวิตของครัวเรือน ยากจนเปาหมาย รวมปรับปรุงแผนที่ชีวิตหรือแผนพัฒนาครัวเรือนใหมีความเหมาะสมกับสภาพความเปนจริง รวมถึ ง ให กํ า ลั ง ใจครั ว เรื อ นยากจนเป า หมายและติ ด ตามเป น รายครั ว เรื อ นตามความเหมาะสม เพื่อใหครัวเรื อนยากจนสามารถยกระดับรายไดให เพิ่มขึ้นไดครบตามเปาหมายรอ ยละ 70 ภายในเดือ น กันยายน 2557 ………………………………………

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 9


ปจจัยที่ทําใหการดําเนินงานประสบความสําเร็จ 1) มีการกําหนด Model 3 สรางแกจน คนเชียงราย สูก ารพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีตามโครงการ บริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ เพื่อใชเปนรูปแบบการดําเนินงานรวมกัน

2) มีการกําหนดจํานวนครัวเรือนเปาหมายในการยกระดับ รายไดตามความเหมาะสมของจัง หวัด คือร อยละ 70 และมี การจัดสรรงบประมาณใหอํ าเภอดําเนินการในระดับพื้นที่ใหเ พียงพอและเหมาะสม สอดคลองตามจํานวนเปาหมายที่กําหนดไว 3) การทํางานบูรณาการแบบใกลชิดของทีมงานพัฒนาชุมชนอําเภอที่รวมกันกับชุดปฏิบัติการตําบล และองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการกําหนดเปาหมายเดียวกันในการทํางาน 4) การกําหนดครัวเรือนเปาหมายหลักในการติดตามสนับ สนุนการแกไขป ญหาความยากจนแบบ เขมขนของพัฒนากร จํานวน 1 คน / 1 ครัวเรือน และทุกอําเภอดําเนินการคัดเลือกครัวเรือนยากจนตนแบบ ระดับอําเภอเพื่อเปนตัวอยางของความสําเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการแกจนตาม 4 กระบวนงาน ทําใหมี ตนแบบความสําเร็จที่เปนตัวอยางแกครัวเรือนอื่นได 5) การออกติดตามสนับสนุนและเยี่ยมเยียนโดย คณะทํางานศูนยอํานวยการ ศจพ.จ. และ ศจพ.อ. ที่ลงพื้นที่ครบทุกอําเภอ ทุกตําบล/หมูบาน สามารถกระตุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและผูนําชุมชนเขา การมีสวนรวมในการขับเคลื่อนงานแกไขปญหาความยากจนมากยิ่งขึ้น

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 10


ปญหา/อุปสรรคในการดําเนินงาน 1) ศั ก ยภาพของครั ว เรื อ นยากจนเป า หมายมี ค วามแตกต า งกั น มาก ในครั ว เรื อ นที่ ต อ งการ การสงเคราะห สวนใหญจะเป นผูสูงอายุและมี ปญหาดานสุขภาพซึ่งไมสามารถแกไขปญหาไดในระยะเวลา อันสั้นและตองใชความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับการใหบริการดานสุขภาพเปนหลัก 2) จํานวนครัวเรือนที่เหลืออยูสวนใหญเปนครัวเรือนที่ตอ งการการสงเคราะห ในการใหการสนับสนุน ชวยเหลือแกไขปญหาความยากจน ครัวเรือนสวนใหญจะไดรับความชวยเหลือดูแลจาก ชุมชน องคกรปกครอง สวนทองถิ่น หนวยงานที่เกี่ยวของอยางเต็มที่และเหมาะสม ซึ่งไมควรวัดผลสําเร็จของครัวเรือนประเภทนี้ดวย การวัดจากรายไดเฉลี่ยเพียงอยางเดียว ขอเสนอแนะในการดําเนินงาน 1) กําหนดแนวทางการบูรณาการความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนา ครัวเรือนที่ตองการการสงเคราะหและมีปญหาดานสุขภาพทีช่ ัดเจน ..........................

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 11


Model 3 สรางแกจน คนเชียงราย

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 12


ครัวเรือนยากจนตนแบบ

อําเภอเมืองเชียงราย

นายสนั่น คุณปก บานเลขที่ 175 หมูที่ 21 ตําบลหวยสัก - สภาพและลักษณะทีอ่ ยูอาศัย มีบานเปนของตนเอง ในพื้นที่ 1 ไร 100 ตารางวา - อาชีพหลักของหัวหนาครัวเรือน ไมมี - รายไดมาจาก เบี้ยผูสงู อายุ ของนายสนั่น คุณปก และ นางใจ คุณปก อายุ 67 ป รายไดเฉลี่ยของครัวเรือน ปละ 7,200 บาท/ป - สภาพปญหาหนี้สิน ไมเปน - ประเภทครัวเรือน มีความพรอมสามารถพัฒนาได - ขอมูล 4 ท เพื่อใชในการพัฒนาครัวเรือน ทักษะ : เลี้ยงไก ทัศนคติ : มีอาชีพเสริมเลี้ยงไกไวประกอบอาหารในครัวเรือน ทรัพยากร : พื้นที่สําหรับเลี้ยงไก ทางออก : ตองการอาชีพเสริมเลี้ยงไก - ผลการบูรณาการเพื่อชวยเหลือและพัฒนาครัวเรือนยากจนตนแบบ - กาชาดจังหวัดเชียงรายมอบเงินซือ้ วัสดุ 30,000 บาท - สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเมือง สนับสนุนการทําอาชีพเสริมเลี้ยงไก 5,700 บาท - ปกครองอําเภอเมือง รวบรวมเงินสนับสนุน 4,500 บาท - คณะกรรมการพัฒนาสตรีตําบลหวยสัก มอบเครื่องอุปโภค บริโภค - เทศบาลตําบลหวยสักมอบเงินชวยเหลือ - ศูนยประสานงานองคการชุมชน ศอช.ต.หวยสัก มอนเงินชวยเหลือ - คณะกรรมการหมูบ านและประชาชนสนับสนุนอุปกรฯและแรงงานในการปรับปรุงบาน - คุณนฤมล นามนิรันดร มอบเสื้อผา เครือ่ งใช อุปกรณการเรียนและมุง

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 13


ครัวเรือนยากจนตนแบบ

อําเภอพาน

นายบุญมา ภูแกว อายุ ๕๗ ป บานเลขที่ ๕๘ หมูที่ ๑๑ ตําบลมวงคํา สํ า นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนได ใ ช “PHAN MODEL พลั ง 3 ประสาน”ในการบู ร ณาการ ความร ว มมื อ ในการแก ไขป ญ หาความยากจนในทุ ก ระดั บ จนส ง ผลให ครั วเรื อ นยากจนได มีกิจกรรมตามแผนชีวิต/การใหความชวยเหลือครัวเรือนยากจนใหมีรายไดพนเกณฑ ดังนี้ ๑ กิจกรรมที่ครัวเรือนดําเนินการเอง - ครัวเรือนปลูกผักสวนครัว ไวกินเอง ๒ กิจกรรมที่ชุมชน หนวยงาน หรือสวนราชการใหการสนับสนุน - องคการบริหารสวนตําบลมวงคํา ไดอุดหนุนเงินงบประมาณในการซอมแซมบาน เปนจํานวนเงิน ๑๕,๐๐๐ บาท - สํ า นั ก งา นพั ฒน าชุ ม ชนอํ าเ ภอ พา น ม อบ พั น ธุ ไ ก พื้ นเ มื อ ง อา หา รไก ยาปฏิชีวนะและเมล็ดพันธุผัก - ปศุสัตวอําเภอพาน ไดสงเสริมการเลี้ยงไกพื้นเมือง - อาสาพัฒนาชุมชนตําบลมวงคํา ไดสนับสนุนเงินทุนการสรางเลี้ยงไก และประกอบ อาชีพ จํานวนเงิน ๒,๐๐๐ บาท - ชุมชนในหมูบานรวมกันออกแรงซอมแซมบานที่ผุพังและเลาไก - โรงพยาบาลพาน ไดเขาไปบําบัดรักษาโรคติดสุราเรื้อรังจนหายขาด - ผลที่เกิดขึ้นกับครัวเรือนโดยตรง - ผลที่เกิดขึ้นกับชุมชน ๑. มีคุณภาพชีวิติที่ดีขึ้น 1. คนในชุมชนเกื้อกูลคนทุกขยาก ๒. มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ดีขึ้น ๓. ใชชีวิตอยางมีความสุขมากขึ้น

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 14


ครัวเรือนยากจนตนแบบ

อําเภอแมจัน

นางติ๊บ สุเตนันท อายุ 74 ป บานเลขที่ 32 หมูที่ 9 ตําบลจอมสวรรค

กิจกรรมที่ครัวเรือนดําเนินการเอง 1. จากกอนเคยซื้อเกือบทุกอยาง พอเขารวมโครงการครัวเรือนตนแบบ ก็เริ่มปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก ไวกินเอง เพื่อลดคาใชจายในครัวเรือนเหลือกินก็นําไปขายทําใหมีรายไดของครัวเรือนเพิ่มขึ้น 2. สมาชิกในครัวเรือนปฏิญาณตนเองในการ ลด ละ เลิก คาใชจายที่ไมจําเปนในครัวเรือนลง เชน การใชไฟฟาในครัวเรือน หลังจากหนึ่งทุมแลวจะปดไฟฟาที่เคยใชเปนประจํา อยางนอย 2 ดวง 3. ครัวเรือนมีการจัดทําบัญชีรับ–จาย ทําใหรูถึงฐานะของครอบครัวมากขึ้น 4. ครัวเรือนเขารวมกิจกรรมออมทรัพยของหมูบาน เพื่อเปนหลักประกันในอนาคต บทบาทและกิจกรรมของชุมชนที่สนับสนุนการแกไขปญหาความยากจน 1. เนื่องจากครัว เรือนเป นผูสู งอายุ และมีสุข ภาพไมแข็ง แรง แตเต็ มใจอยากเขารวมโครงการ คณะกรรมการหมูบานและสมาชิก อบต. จึงไดรวมกันนําเมล็ดพันธุผักมาให 2. ชวยเหลือครัวเรือนในการสงเสริมอาชีพ และการจัดทําบัญชีรับ – จาย บทบาทและกิจกรรมของ อปท./หนวยงาน 1. องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลจอมสวรรค ได เ ข า ไปสอบถามป ญ หาและความต อ งการ ของครัวเรือนเพื่อรวมกันหาทางออกใหแกครัวเรือน และใหคณะกรรมการหมูบาน ทองถิ่ นสนับสนุน เมล็ดพันธุผักแกครัวเรือนเปาหมาย 2. สํ า นักงานพัฒ นาชุ มชนอํา เภอแมจัน ไดจัด คลิ นิกแกจนเพื่อแนะนํา การประกอบอาชี พ แกครัวเรือนเปาหมาย และไดจัดหาพันธุพืช เปนทุนในการประกอบอาชีพใหครัวเรือน

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 15


ครัวเรือนยากจนตนแบบ

อําเภอแมสาย

นายคําแสน ขันอุระ อายุ ๕๙ ป บานเลขที่ ๗๕/๑ หมู ๙ ตําบลโปงงาม ปจจัยที่ทําใหการแกไขปญหาความยากจนประสบความสําเร็จ - ปจจัยของครัวเรือนยากจน ๑) ครัวเรือนยากจนมีการใชจายลดลง ๒) ครัวเรือนมีความขยัน หมั่นเพียร อดทนและ ตั้งใจจริงในการดําเนินกิจกรรมตามแผนชีวิต - ปจจัยของชุมชน ๑) ชุมชนมีความเปนเครือญาติ เอื้อเฟอเผื่อแผกัน อยูเปนนิจ ๒) ชุมชนมีความรัก สามัคคีและมีสวนรวมของคน ในชุมชนในการพัฒนา ๓) ผูนําชุมชน กลุม องคกรตางๆ ในชุมชนเขมแข็งและดูแลครัวเรือนอยางใกลชิด - ปจจัยของหนวยงาน ๑) มีการสรางความเขาใจและการประสานงานระหวางกัน ในการแกไขปญหาใหแกครัวเรือนยากจน ๒) ภาคีรวมกับครัวเรือนยากจนในการจัดทําแผนชีวิต ๓) หนวยงานมีการติดตาม ตรวจเยี่ยมครัวเรือนยากจนอยาง สม่ําเสมอ ผลการวิเคราะหครัวเรือนตามทักษะ ๔ ท ของครัวเรือน - ทักษะ (ฝมือแรงงาน) มีความสามารถในงานจักสาน,และชางไม - ทัศนคติ (ตอชีวิต) ดูแลครอบครัวใหดีที่สุด (ตอการงาน) ตองทํางานที่เหมาะสมกับสภาพรางกายในปจจุบัน และ ตองการมีรายไดเสริมเพื่อใหเพียงพอตอการใชจายในครัวเรือน - ทรัพยากร มีบานพักอาศัย ๑ หลัง บนเนื้อที่ ๒๔๐ ตารางวา - ทางออก(แนวทางแกไข) ปลูกผักและเมล็ดพันธุผักจําหนายใหกับศูนยจักรพันธุเพ็ญศิริ

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 16


ครัวเรือนยากจนตนแบบ

อําเภอแมสรวย

นายแกว ตาดี บานเลขที่ ๑๒๐ หมูที่ ๕ ตําบลทากอ - สาเหตุของความยากจน - ปญหาเรื่องหนี้สิน - ปญหาเรื่องสมาชิกในครัวเรือนมีจํานวนมาก - กิจกรรมที่ดําเนินการตามแผนชีวิตที่ทําใหครัวเรือนนี้เปนครัวเรือนยากจนตนแบบ - ดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ได แ ก การปลู ก ผั ก สวนครั ว การเลี้ ยงไกพันธ ไข เพื่อลดรายจายในครัว เรือน การมีสว นรว มในการรว มกันพัฒ นา หมูบาน และเปนตัวอยางที่ดีแกครัวเรือนอื่นๆ - บทบาทและกิจกรรมของชุมชนที่สนับสนุนการแกไขปญหา - ติ ด ตาม ส ง เสริ ม ให คํ า แนะนํ า พร อ มให กํ า ลั ง ใจแก ค รั ว เรื อ นในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - มีสวนรวมในการชวยเหลือในเรื่องอื่นๆ - บทบาทและกิจกรรมของ อปท./หนวยงานอื่นๆ ที่สนับสนุนการแกไขปญหา - สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอแมสรวย สนับสนุนการใหความรูเรื่องแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง สนับสนุนไกพันธไข สนับสนุนเมล็ดพันธผัก องคความรูเรื่องการมีสวนรวม และ แนวทางการบริหารจัดการชีวิต - องคการบริหารสวนตําบลทากอ - องคกรสตรีระดับตําบล (กพสต.ทากอ) - ผูนํา อช. ตําบลทากอ - กศน.ตําบลทากอ

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 17


ครัวเรือนยากจนตนแบบ

อําเภอพญาเม็งราย

นายปน ชนะสม อายุ ๔๒ ป ชั้น ป.4 บานเลขที่ 63 หมูที่ 4 ตําบลแมต๋ํา สาเหตุของความยากจน : เปนผูพิการ ไมสามารถทํางานหนักและหลายหลายได กิจกรรมที่ ดําเนินการเองตามแผนชีวิต : ดํา เนินชี วิตตามแบบเศรษฐกิจพอเพีย ง ปลูกผั ก สวนครัว เลี้ยงไกพื้นเมือง รับจางทั่วไปและทําบัญชีครัวเรือน บทบาทและกิจกรรมของชุมชนที่สนับสนุนการแกไขปญหาความยากจน 1. ผูใหญบานไดรับเปนลูกจางรายวัน ชวยรานซอมรถมอเตอรไซต ๒. ผูใหญบานไดทําผาปาอาหารปลาแจกใหกับครัวเรือนยากจน 3. สํ า นั ก ง านพั ฒ นาชุ ม ชนและราษ ฎรในหมู บ า นสนั บ สนุ น เมล็ ด พั น ธ ผั ก และมูลสัตวสําหรับปลูกผัก(บานใครมีอะไรที่เหลือก็นํามาชวยเหลือ) 4. ผอ.รพส.ต.แมต๋ํา รวมกับ อสม. แนะนะเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพรางกาย ๕. ปศุสัตวประจําหมูบานมาหยอดวัคซีนไก และใหความรูเกี่ยวกับการเลี้ยงไก ๖. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอรวมกับ ผูนําชุมชน แจกเครื่องอุปโภคบริโภค ๗. สํานักงานพัฒนาชุมชนใหความรู เยี่ยมเยียนและใหกําลังใจ บทบาทและกิจกรรมของ อปท. /หนวยงาน ๑. องคการบริหารสวนตําบลแมต๋ําชวยเหลือเบี้ยคนพิการ ออกเยี่ยมเยียนใหกําลังใจ แนะนําอาชีพ แจกเครื่องอุปโภคบริโภค/ถุงยังชีพ และอยูระหวางรอรับสนับสนุนปูน เหล็กเสน และอุปกรณในการทําเสาบาน ผลที่เกิดขี้นตอภาพรวมการแกไขปญหาความยากจนและตอครัวเรือนยากจนตนแบบ คนในครัว เรือนมีคุ ณภาพชีวิ ต ที่ ดี ขึ้ น หลัง จากดํ า เนินชี วิ ต ตามแผนที่ ชี วิ ต ที่ ทุ กคน รวมกันทํา มีอาชีพเสริมที่ทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น คนในชุมชนมีความรัก ความสามัคคี เอื้ออาทรตอกัน ชวยเหลือ แบงปนกัน สามารถ นํามาเปนแบบอยางสําหรับชุมชนอื่น

ถอดบทเรียนการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย ป 2557 18


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.