Beach Guard Life Saving

Page 1

ร า ย ง า น ก า ร ด ง ู า น เ ร อ ่ ื ง

B e a c hG u a r d L i f e S a v i n g S y d n e y –G o l d C o a s t ช า ญว ง ศ ส  ต ั ย า น น ท 


1

คานา สาหรับรายงานการดูงาน "ผมได้มีโอกาสได้เป็ นผูป้ ระสานงานให้จดั โปรแกรมทัศนศึกษาดูงาน Beach Guard Life Saving เพื่อนามาพัฒนาจัดทาโครงการ Life Guard ที่จงั หวัด ภูเก็ต ซึ่ งเดิมทีได้รับมอบหมายให้เป็ นเพียงผูด้ ูแล การเดินทาง ที่พกั จัดทาโปรแกรมการเดินทาง ตลอดจนหาหน่วยงานและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ของเมืองต่างๆในประเทศออสเตรเลียที่มีความ ชานาญการในเรื่ อง Beach Guard ซึ่งต้องขอขอบคุณสถานฑูตออสเตรเลียที่ให้คาแนะนา และประสานงานให้มา ณ ที่น้ ีดว้ ย แต่ในระหว่างที่ดูงานผมได้มีขอ้ ซักถามเพิ่มเติมและได้รับข้อมูล จากหน่วยงานต่างๆด้วยก่อนเดินทางผมได้คิดประเด็นและคาถามส่ งไปล่วงหน้าแล้ว ทาให้แต่ละ เมืองเตรี ยมข้อมูลมานาเสนอได้ละเอียดดีมาก ดังนั้นในแต่ละคืนภายหลังจากการดูงานแต่ละวัน ผมเห็นว่ามีรายละเอียดข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ มากจึงทาการบันทึกไว้ ต่อมาเมื่อสอบถามกับคณะดูงานว่า การดูงานจาเป็ นต้องมีรายงานหรื อไม่ อย่างไร? ถ้าต้องการข้อมูล ผมบันทึกไว้พอสมควร ท่ีประชุมจึงสรุ ปว่า ผมช่วยทารายงานให้ดว้ ย เลย ดังนั้นเมื่อคณะเรากลับภูเก็ตวันอาทิตย์ ผมขอเวลาวันจันทร์ ใส่ รูปภาพและปรับแต่งรู ปเล่ม วัน อังคารจะส่ งให้เลย คาตอบที่ได้รับ คณะเราจะเป็ นคณะแรกที่ทารายงานเร็ วที่สุดในประเทศไทย จึง ทราบว่าการทาสรุ ปรายงานดูงานของหน่วยราชการไม่มีกาหนดเวลาตายตัว เพียงแต่ตอ้ งก่อนที่ สตง.จะเข้าตรวจ ดังนั้นเวลาผ่านไปการเขียนข้อมูลย้อนหลัง ข้อมูลจะมีการตกหล่น และไม่สามารถนาไปใช้งาน ได้ ดังนั้น การเผยแพร่ รายงานฉบับนี้เพื่อมีวตั ถุประสงค์ให้การดูงานของภาครัฐมีประสิ ทธิ ภาพมาก ขึ้น


2

กาหนดการ โครงการศึกษาดูงาน Beach Guard Life Saving Sydney – Gold Coast

ซิดนีย์ 6 วัน 4 คืน วันที่ 13 - 19 กรกฎาคม 2546 วันแรก วันอาทิตย์ที่ ๑๓ กรกฎาคม ภูเก็ต - ซิดนีย์ 14.40 น. พร้อมกันที่จุดนัดหมาย สนามบินภูเก็ต โดยเที่ยวบิน TG 609 16.05 น. นาท่านเหิ รฟ้ าสู่ กรุ งเทพฯ เพื่อเปลี่ยนเครื่ องบินเดินทางไปซิ ดนีย ์ 18.15 น. เหิ รฟ้ าสู่ นครซิ ดนีย ์ โดยเที่ยวบิน TG 991 วันที่สอง วันจันทร์ที่ ๑๔ กรกฎาคม ซิดนีย์ 06.15 น. เดินทางถึงสนามบินคิงส์ฟอร์ ดสมิธ ( Kingsford Smith ) นคร ซิ ดนีย ์ หลังจากผ่านพิธีการตรวจคนเข้าเมือง รับประทานอาหารเช้า เดินทางไปยังหาดคูจี่ (Coogee) ซึ่งเป็ นหาดทรายสาหรับครอบครัวของ ชาวซิ ดนียม์ าพักผ่อน สารวจการทางานของ Beach Life Saving จากนั้น ดูการจัด Zoning และ คมนาคมขนส่ งมวลชนของหาดแห่งนี้ เมื่อได้สารวจการจัดการชายหาดกุชชี่เสร็ จสิ้ นแล้ว ก็จะเดินทางเข้าที่พกั โดยก่อนเข้าที่พกั จะสารวจพื้นที่ตวั เมืองซิ ดนีย ์ ดูโครงการที่มนุษย์ได้สรร สร้างเพื่อเป็ นที่ดึงดูดใจแก่นกั ท่องเที่ยวคือ Opera House, Sydney Tower, Harbour Bridge เป็ นต้น


3

13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน ณ ภัตตาคารเก้ามังกร (Nine Dragons Restaurant ) 15.00 น. เข้าที่พกั โรงแรม Holiday Inn Potts Point พักผ่อนตามอัธยาศัย 16.00 น. เดินทางไปยัง Down Town เพื่อศึกษาวิถีชีวติ ของชาวออสเตรเลี่ยน และการปลูกสร้างอาคาร สถาปัตยกรรม การจัดผังเมือง และรู ปแบบการ คมนาคมขนส่ ง 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น ที่ Thai Foon Restaurant. 20.30 น. เดินทางกลับที่พกั Holiday Inn Potts Point วันที่สาม วันอังคารที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๖ หาดมันลี (Manly) – หาดบอนได (Bondi) 07.00 น. รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม 09.00 น. เดินทางสู่ หาดมันลี (Manly Beach ) พบ Manly City Council, โดย Mr. Mark McDougall, South Steyne Surf Club บรรยาย เกี่ยวกับ Beach Life Saving และชมการสาธิ ตการช่วยชีวติ ผูป้ ระสพภัยทางน้ า 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน แบบบาร์บีคิว 13.00 น. เดินทางไปพบหาด Bondi พบ Mr. Laurie Williams ณ ห้อง Hide Tide Room เพื่อฟังการบรรยายและชมการสาธิต Surf Life Saving 16.00 น. เดินทางกลับซิดนีย ์ 18.00 น. รับประทานอาหาร สรุ ปผลทัศนะศึกษา วันที่สี่ วันพุธที่ ๑๖ กรกฎาคม โกลด์ โคสต์ ( Gold Coast ) 07.00 น. รับประทานอาหารเช้า 07.30 น. เดินทางไปยังสนามบินภายในประเทศเมืองซิดนีย ์ 09.00 น. เดินทางด้วยเที่ยวบิน Virgin Blue เที่ยวบินที่ DJ507 10.30 น. ถึงสนามบิน Coolangatta ( Gold Coast ) 12.00 น. ประทานอาหารกลางวันที่ Ool King of Kings Restaurant


4

14.00 น.

บรรยายสรุ ป Surf Life Saving โดย Gold Coast City Council และชมการสาธิต การเข้าช่วยเหลือผูป้ ระสพภัยบน ชายหาดหน้า Surfers Paradise ณ หอคอยสังเกตการณ์ที่ 34 18.00 น. เดินทางเข้า Check in โรงแรม Watermark วันที่หา้ วันพฤหัสที่ ๑๗ กรกฎาคม โกลด์ โคสต์ ( Gold Coast ) 08.00 น. รับประทานอาหารที่โรงแรม 10.00 น. เดินทางสารวจสภาพเมืองของชายหาดโกลด์โคสต์ ซึ่งเป็ นชายหาดที่มี การพัฒนาการท่องเที่ยวที่รวดเร็ ว และมีการจัดการชายหาดที่ดีที่สุด เมืองหนึ่งของซิดนีย ์ 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวันที่ Legends Restaurant 14.00 น. เดินทางไปยัง Nerang Administration Cent ฟังการบรรยายเรื่ อง การวางแผนคมนาคม โดย Mr. Rod Grose – Manager Transport Planning 18.00 น. รับประทานอาหารเย็นที่ Ool Treasure of China Restaurant 19.00 น. เดินกลับโรงแรม สรุ ปผลการศึกษาดูงาน วันที่หก วันศุกร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม โกลด์ โคสต์ – บริสเบน ( Gold Coast – Bisbane ) 08.00 น. รับประทานอาหารในโรงแรม 09.00 น. เดินทางไปยังเมื่อง Bisbane 10.30 น. ถึงเมือง Bisbane สารวจตัวเมือง ในการจัดวางผังเมือง สถาปัตยกรรม และ วิถีชีวติ สังคมของชาวบริ สเบน 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. ประชุ มสรุ ปผลของทัศนะศึกษา สรุ ปผลของทัศนะศึกษา ว่าได้พบเห็นสิ่ งใด วิเคราะห์ (SWOT ) จุด แข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรค จากสิ่ งได้พบเห็น สรุ ปผลเพื่อ ทารายงานการดูงาน และ ข้อเสนอแนะ 18.00 น. รับประทานอาหารเย็นที่ Thai Ayuthaya Restaurant 19.30 น. พร้อมเดินทางไปยังสนามบิน สนามบินนานาชาติ Bisbane 20.00 น. ถึงสนามบิน Bisbane 22.20 น. นาท่านเหิ รฟ้ าสู่ กรุ งเทพฯ ด้วยเที่ยวบิน TG 984


5

วันที่เจ็ด วันเสาร์ที่ ๑๙ กรกฎาคม กรุ งเทพ ฯ – ภูเก็ต 04.15 น. เดินทางถึงกรุ งเทพฯเพื่อแวะเปลี่ยนเครื่ องบิน 07.00 น ออกเดินทางด้ วยเทีย่ วบิน TG 201 08.20 น เดินทางถึงภูเก็ตโดยสวัสดิภาพ


6

รายงานการดูงานเรื่ อง Beach Guard Life Saving ณ เมือง ซิดนีย์ และโกลด์ โคสต์ ประเทศออสเตรเลีย ระหว่ าง วันที่ 13 – 19 กรกฎาคม 2546

หาดคูจี่ ( Coogee Beach ) ผูใ้ ห้ขอ้ มูล : Ms. Fiona Thompson Life Guard / Beach Inspector Randwick City Council E-mail : Fiona.Thompson@randwick.nsw.gov.au

ภาพ:Coogee Beach ข้อมูลของหาดคูจี่: ความยาวประมาณ 600 เมตร มีกองหิ นโสโครกอยูห่ น้าหาดห่างจากชายหาดออกไป ประมาณ 700 เมตร เป็ นชายหาดสาหรับคนในท้องถิ่น ส่วนใหญ่เป็ นครอบครัวของประชาชนที่อาศัยอยูใ่ น บริ เวณนั้น Coogee’s Life Guard เป็ นหน่วยงานหนึ่งที่ข้ นึ กับ Randwick City Council ซึ่งมี ผูบ้ งั คับบัญชาคือ General Manager ที่มีสญ ั ญาว่าจ้างเป็ นระยะเวลา กับ Randwick City Councilors ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง


7

เจ้าหน้าที่ Life Guard จะเป็ นพนักงานประจาของ Council โดยมีจานวน 2 คนในฤดูหนาว และจะเพิ่ม จานวนเป็ น 6 คนในหน้าฤดูร้อน และมีอาสาสมัครอีกประมาณ 20 คน การเพิ่มจานวน Life Guard ในฤดู หนาวจะเป็ นการเพิ่มชัว่ คราวในช่วงฤดูร้อนเท่านั้น หน้าที่หลักของ Life Guard นั้นมีหน้าที่โดยตรงที่จะทาการช่วยเหลือและป้ องกันผูป้ ระสพภัยทางน้ า และ ให้บริ การแก่ผมู ้ าใช้บริ การชายหาด (ดังรายละเอียดตามเอกสารประกอบหมายเลข 1) การป้ องกันอุบตั ิเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น ในเบื้องต้น จะทาการปั กธงที่สีเหลือง-แดง เพื่อแสดงเขตปลอดภัยในการว่าย น้ า ซึ่งการปั กธงดังกล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งอยูต่ ลอดเวลา ซึ่งในแต่ละวันตาแหน่งจะเปลี่ยนไป ทั้งนี้สืบ เนื่องจากกระแสน้ าไหลย้อนกลับ (Rip Current) ที่เกิดขึ้นภายหลังจากคลื่นกระทบฝั่งแล้ว น้ าที่มากับคืนจะ ไหลย้อนกลับสู่ทะเล และมักจะมีการเปลี่ยนแปลงการไหลย้อนกลับอยูเ่ สมอ ด้วยRip Current นั้นจะเกิดขึ้น เป็ นบริ เวณที่มีร่องน้ าที่ลึกขึ้นอันเกิดขึ้นจากกระแสคลื่นที่พดั เข้าสู่ชายหาดในแต่ละวันที่แตกต่างกัน ร่ องน้ าลึก ที่วา่ นี้เป็ นทางน้ าไหลกลับของกระแสน้ าที่พดั เข้าสู่ชายหาด โดยให้สงั เกตดูเกลียวคลื่นที่พดั เข้าสู่ชายหาดแล้วแตก ฟองขาวให้เห็น ส่วนร่ องน้ าลึกจะไม่มีเกลียวคลื่นดังกล่าว ดังนั้นแนวเขตว่ายน้ าจึงยึดถือเอาเฉพาะส่วนที่มีเกลียว คลื่นแตกฟองเป็ นหลักว่ามีความปลอดภัย แล้วปั กธงแสดงให้ผมู ้ าว่ายน้ าได้ทราบว่าควรจะว่ายน้ าในบริ เวณ ดังกล่าวเท่านั้น หากว่ายน้ านอกเขตก็จะไม่มีความปลอดภัยอาจถึงแก่ชีวติ ได้

ภาพ:การปั กธงสี เหลือง-แดง แสดงเขตว่ายน้ า สถิติที่มกั จะพบผูป้ ระสพภัยในน้ า สามารถแบ่งเป็ นสาเหตุต่างๆได้ 3 ประเภทคือ 1. กลุ่มที่ดื่มสุรา 2. กลุ่มประมง 3. กลุ่มว่ายน้ าไม่เป็ น ที่หาดนี้จะไม่อนุญาตให้นาสุนขั เข้ามาในบริ เวณชายหาด เพราะว่าจะนากลิ่นให้ปลาฉลามเข้ามาที่ชายหาดได้ และไม่อนุญาตให้นาสุราเข้ามาดื่มบนชายหาดเช่นกัน


8

ภาพ:ป้ ายห้ามนาสุราเข้ามาในชายหาด ภาพ:ป้ ายห้ามนาสัตว์และห้ามเล่นกีฬาบางชนิ ด

Life Guard มีหน้าที่ทารายงานประจาวัน แสดงรายละเอียดต่าง และจานวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ General Manager ทราบ (โดยมีรายละเอียดตามเอกสารแนบหมายเลข 2) คุณสมบัติที่สาคัญในการพิจารณาว่ามีความเหมาะสมในการเป็ น Life Guard คือ - Fitness Test - Jet Ski License - First Aids Certificate - Drive License - Oxy – Viva Certificate Ms. Fiona Thompson ได้สาธิตถึงการใช้ Rescue Tube ในการช่วยเหลือผูป้ ระสพภัยทางน้ า โดยจะโยน Rescue Tube ไปยังผูป้ ระสพภัยก่อนให้สามารถพยุงร่ างกายในน้ าได้แล้ว จากนั้นก็นาไปรัด รอบตัว แล้วจึงว่ายน้ า จูง หรื อ ลากเข้าชายฝั่ง

ภาพ: Rescue Tube Demonstration ในกรณี ที่เกิดเหตุการณ์ และจาเป็ นต้องเข้าถึงผูป้ ระสพภัยโดยด่วน ต้องอาศัยการขับขี่ AGV หรื อ Quad Bike เพราะว่ารถชนิดนี้สามารถวิง่ บนทรายได้สะดวกและรวดเร็ ว เมื่อไปถึงก็นา กระดานโต้คลื่นพายออกไป หาผูป้ ระสพภัย


9

ภาพ:Quad Bike or AGV with Surf Board

หาดมารูบรา ( Maroubra Beach ) ผูใ้ ห้ขอ้ มูล : Mr. Paul Moffat Life Guard / Beach Inspector E-mail: paul.maffat@randwick.nsw.gov.au

ภาพ:Maroubra Beach ข้อมูลของหาด : หาดนี้มีความยาวประมาณ 1.8 กิโลเมตร มีลกั ษณะรู ปแบบชายหาดเป็ นแนว โค้ง มีชายหาดกว้างสามารถรองรับผูม้ าใช้บริ การได้กว่า 20,000 คน ดังนั้นหาดนี้ มีอาคารถาวร


10

ชั้นเดียว พร้อมมีหอคอยสู งประมาณ 10 เมตรตั้งอยูก่ ลางชายหาด เพื่อสาหรับเฝ้ าระวัง ดูปลา ฉลามที่เข้ามาในบริ เวณชายหาด และเฝ้ าดูผปู ้ ระสพภัย แต่มกั จะใช้ฐานสังเกตการณ์ ที่ยกพื้นขึ้นมา จากชายหาดประมาณ 1 เมตรเพื่อเฝ้ าดูผปู ้ ระสพภัยมากกว่าหอคอย เพราะสะดวกและเข้าถึงได้เร็ ว กว่า นอกจากนั้นมี Shark Alarm ซึ่ งเป็ นเครื่ องกระจายเสี ยง กับ นกหวีด อัตรากาลังของ Life Guard ที่เป็ นเจ้าหน้าที่ของ Council ในฤดูหนาวมี 6 คน ส่ วนฤดู ร้อนมี 20 คน Life Guard ของหาด Maroubra เป็ นหนึ่งใน 3 หาดที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของ Randwick City Council คือ Coogee, Maroubra และ Malabar, หาด Maroubra จะเป็ นหาดที่ใหญ่และยาวที่สุด ( เอกสารหมายเลข 3 ) จึงมีอาคารถาวร และ อุปกรณ์ในการช่วยเหลือมากกว่าอีก 2 หาด อาทิเช่น Jet Ski ที่พว่ งท้ายด้วย Board สาหรับ นาผูป้ ระสพภัยขึ้นนอนแล้วลากเข้าฝั่ง

ภาพ:อาคารสานักงาน Life Guard พร้อมหอคอยเฝ้ าระวัง หาดนี้มีการแบ่งโซนสาหรับกิจกรรมทางน้ าชัดเจน คือ เขตว่ายน้ า, เขตเล่นกระดานโต้คลื่น เป็ น ต้น ซึ่ งจะอยูห่ ่างกัน เพื่อป้ องกันมิให้มีการล่วงล้ าระหว่างกัน สาหรับคุณสมบัติของผูจ้ ะทาหน้าที่ Life Guard จะมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Coogee คือ จะต้องมี - First Aids Certificate


11

-

Jet Ski License Drive Lincense Resuscitation Certificate Fitness Test

สาหรับ Fitness Test จะมีการทดสอบว่ามีสุขภาพแข็งแรงดี โดยกาหนดให้มีการทดสอบไว้ ดังนี้ 1. ว่ายน้ าตรงออกจากฝั่งไประยะ 100 เมตร และว่ายน้ าเฉี ยงกลับมาหาฝั่ง และว่ายเฉียงกลับ ออกไป และว่ายน้ าตรงกลับมาให้เป็ นรู ปตัว M 2. จากนั้นก็จะใช้กระดานโต้คลื่นพายออกไประยะ 100 เมตร และพายกลับมา เป็ นรู ปตัว M เช่นเดียวกับการว่ายน้ า 3. แล้วขึ้นฝั่งมาวิง่ บนพื้นทรายอีก 200 เมตร ทั้งหมดนี้ตอ้ งทาเวลาไม่เกิน 30 นาที จึงจะผ่าน การทดสอบ ทุกๆวัน Life Guard จะมีหน้าที่นากระดานโต้คลื่นไปวางบนชายหาด หน้าบริ เวณที่เป็ น Rip Current เพื่อสามารถนามาใช้ได้ทนั ที เมื่อมีเหตุการณ์ผปู ้ ระสพภัยจมน้ าในบริ เวณดังกล่าว เกิดขึ้น สาหรับสถิติของการเข้าช่วยเหลือ Mr. Paul ให้ขอ้ มูลว่า ประมาณการของผูใ้ ช้บริ การการ ช่วยเหลือที่ชายหาดแห่งนี้จะมีประมาณ 50 ครั้งต่อเดือน

Mr. Paul Moffat ถ่ายภาพร่ วมกับคุณโชคชัย และคุณสรธรรม


12

หาด Manly ผูใ้ ห้ขอ้ มูล : 1. Mr. Mark McDougall Co-ordinator, Beach Services 2. Mr. Anthony Hewton Group Manager, Human Services 3. Mrs. Treena Allen Community Service Manager Manly Council, NSW, Australia ข้อมูลของหาด : ทาง Manly Council ได้แบ่งชายหาด Manly เป็ น 3 ส่ วน คือ South Steyne, North Steyne และ Queenscliff บริ เวณที่มีคนมาใช้บริ การมากที่สุดคือ บริ เวณ South Steyne ซึ่ งอยูบ่ ริ เวณด้านทิศใต้ของหาด ดังนั้นอาคารสานักงานของ Life Guard จึงตั้งอยูป่ ลายหาดด้านทิศใต้ อาคารสานักงานมี 2 ชั้น ซึ่ งเป็ นอาคารอเนกประสงค์ กล่าวคือ นอกจากเป็ นอาคารสานักงานสาหรับ Life Guard และ First Aids แล้ว ยังหา ประโยชน์ให้คนในท้องถิ่นมาทากิจกรรมเช่าห้องประชุม การให้บริ การข้อมูลข่าวสารเพื่อการ ท่องเที่ยว อีกด้วย

Mr. Mark McDougall และ Mr. Anthony Hewton ถ่ายภาพกับคณะดูงานหน้าอาคาร Life Guard

อัตรากาลังของ Life Guard ในฤดูหนาวมี 2 คน ส่ วนในฤดูร้อนมี 8 คน คุณสมบัติของ Life Guard ที่หาด Manly นี้มีนอกเหนือจากที่อื่น ซึ่ งมี First Aids Cert., Oxy Viva Cert., Jet Ski License, Drive License / Quad


13

Bike or AGV License และ Fitness Test แล้ว ยังมีเรื่ อง Defibrillator Operation Certificate และ Neck Safe / Spinal Care Cert. อีกด้วย หน่วยงานของ Life Guard ที่นี่ข้ ึนอยูก่ บั หน่วย Leisure & Recreation ของแผนก Culture & Community Services หรื อ Human Services ซึ่ งแผนกนี้จะ ขึ้นกับฝ่ าย Service Delivery Business Division อีกทอดหนึ่งที่ข้ ึนตรงกับ General Manager ที่มีสัญญาว่าจ้างครั้งละ 5 ปี กับ Mayor & Councilors ถ้า หากประเมินผลงานแล้วมีความสามารถดีก็จะต่อสัญญาเป็ นคราวๆไป ในการรับสมัคร General Manager จะมีการประกาศรับสมัครทางหน้าหนังสื อพิมพ์ และมีคณะกรรมการพิจารณา คุณสมบัติ ประสบการณ์ และนโยบายในการบริ หารงาน งบประมาณของ Life Guard จะจัดทาขึ้นเองแล้วนาเสนอ Finance & Governance Division เพื่อรวบรวมแล้วสรุ ปนาเสนอต่อ General Manager พิจารณาอนุมตั ิ แม้ General Manager อนุมตั ิแล้ว แต่ก็ยงั คงต้องนาเสนอต่อ Mayor & Councilors เพื่อขออนุมตั ิอย่างเป็ นทางการก่อนจึงจะสามารถใช้งบประมาณได้ ( เอกสารประกอบหมายเลข 4 Manly Council : Community Annual Report หน้า 11 ) อย่างไรก็ตามการ จัดทางบประมาณในบางครั้งก็มาจากนโยบายของ Mayor & Councilors ด้วย ในกรณี ที่มี นโยบายพิเศษเกิดขึ้น ( เอกสารประกอบหมายเลข 5 ) สาหรับงบประมาณของหน่วยงาน Life Guard ปี ละประมาณ 500,000 เหรี ยญออสเตรเลีย โดยเป็ นงบประมาณในด้านเงินเดือนและค่าจ้าง 90% อีก 10% สาหรับอุปกรณ์ในการ ซ่อมแซม บารุ งรักษา และจัดซื้ อใหม่

Mr. Mark McDougall กาลังให้ขอ้ มูลให้แก่คณะดูงาน


14

กรณี ตวั อย่างที่ทาง Manly Council ไม่สามารถช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย และถึงแก่ความตาย ได้เกิดครั้งหนึ่งเมื่อราวเดือนกุมภาพันธ์ 2538 เมื่อมีนกั ท่องเที่ยวสาวชาวญี่ปุ่นว่ายน้ าไม่เป็ น กับ เพื่อนอีก 2 คนได้ลงเล่นน้ าในบริ เวณที่ได้ปักธงเหลืองแดง ซึ่ งเป็ นเขตที่ปลอดภัยในการเล่นน้ า และต่อมานักท่องเที่ยวสาวชาวญี่ปุ่นนั้นได้เดินพ้นเขต ออกไปในแนว Rib Current แล้วจม หายไปอย่างรวดเร็ ว ซึ่ งทาง Manly Council ถือเป็ นความบกพร่ องในการปฏิบตั ิงานเป็ น อย่างมาก จากกรณี ดงั กล่าวพบว่า ความสาคัญอยูเ่ จ้าหน้าที่ Life Guard ที่ไม่เข้มงวดในกรณี ที่ มีผใู ้ ช้บริ การไม่ปฏิบตั ิตาม และไม่ได้พยายามเตือน และขับไล่ให้นกั ท่องเที่ยวสาวชาวญี่ปุ่น เพราะ เพียงแต่คิดเฝ้ าระวังแต่ไม่เข้มงวด เมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นก็ไม่สามารถช่วยได้ทนั ท่วงที ดังนั้นต่อมา Mayor & Councilors ก็ได้มอบอานาจให้ Life Guard สามารถออกใบสั่งปรับ ให้ผู ้ ไม่ปฏิบตั ิตามต้องเสี ยค่าปรับ ครั้งละ AUD110.00

แลกเปลี่ยนของที่ระลึกระหว่างกัน จากสถิติปี 2545 – 46 ได้แสดงให้เห็นรายละเอียดของการปฏิบตั ิงานของ Life Guard ว่า มีปริ มาณงานในแต่ละเรื่ องเป็ นจานวนมากที่ตอ้ งใช้ความสามารถในด้านต่างๆ

สถิติ ปี 2545 – 46 กรกฎาคม 45 – มิถุนายน 46 South Steyne North Steyne Queenscliff Total การเข้าช่วยเหลือ คนท้องถิ่น 344 59 82 575 คนต่างชาติ 405 42 44 401 การป้ องกัน 13,595 6,213 3,470 23,278


15

การปิ ดหาด 34 24 20 การปฐมพยาบาล 443 119 87 บาดเจ็บในทะเล 980 262 357 ให้ออกซิเจน 13 2 5 ส่ งโรงพยาบาล 25 7 5 เด็กหาย 51 9 11 การขับไล่กระดานโต้คลื่น2,425 2,693 1,619 ออกใบสั่งปรับ 1 3 2 แนะนาเจ้าของสุ นขั 107 74 144 นาสุ นขั ออกจากหาด 16 12 15 การเล่นว่าว 60 54 109 การดื่มสุ รา 14 2 11 การตกปลา 14 6 2 การทิง้ ขยะ 79 33 อื่นๆ 65 5 3 (ข้อมูลจาก เอกสารประกอบหมายเลข 5)

78 649 1,599 20 37 71 6,737 6 325 43 223 27 22 112 73

ภาพ: ภาพถ่ายทางอากาศหาด Manlyเพื่อดูลกั ษณะของ Rip Current

หาด Bondi ผูใ้ ห้ขอ้ มูล : Ms. Bobbi Mcllwralth Bondi & Beaches Manager


16

Mr. Bruce / Life Guard (เอกสารประกอบหมายเลข 7, 8, 9 & 10)

หาดบอนได (Bondi Beach) ข้อมูลหาด Bondi : เป็ นชายหาดที่มีชื่อเสี ยงที่สุดของซิดนีย ์ มีโครงการ Life Guard ซึ่ง จัดตั้งเป็ นชมรมมากว่า 90 ปี เป็ นชายหาดที่มีความยาว และพื้นที่หาดทรายกว้าง มีความสามารถ รองรับผูม้ าใช้บริ การชายหาดได้ถึง 40,000 คน ซึ่ งมีการปิ ดหาดบ่อยครั้ง ในหลายๆสาเหตุ อาทิเช่น มีคนมาใช้บริ การมากเกินกาลังที่จะดูแลรักษาความปลอดภัย มีคลื่นลมแรง และ ฉลามเข้า มาใกล้บริ เวณชายหาด เป็ นต้น อัตรากาลังของเจ้าหน้าที่ Life Guard ในฤดูหนาวมี 4 คน ส่ วนในฤดูร้อน( ตุลาคม – เมษายน) 25 – 30 คน เป็ นหาดเดียวในออสเตรเลียที่มีบริ การ Life Guard 365 วันต่อปี และดูแลถึง 3 หาด ได้แก่ Bondi, Mackenzies และ Nelsons มีผมู้ าใช้บริ การในปี ที่ แล้ว 1,657,391 คนบนชายหาด ไม่รวมผูส้ ัญจร มาเยีย่ มร้านค้า และจอดรถบริ เวณชายหาดแต่ ไม่ได้ลงไปใช้บริ การชายหาด ซึ่ งถ้านับรวมแล้ว จะมีจานวนกว่า 3 ล้านคน งบประมาณสาหรับเรื่ อง Life Guard ปี ที่แล้วมีงบประมาณ AUD900,000.00 โดยที่ 70% เป็ นค่าใช้จ่ายเงินเดือนเจ้าหน้าที่ประจาและค่าจ้างในฤดูกาล ส่ วนอีก 30% จะเป็ นค่า บารุ งรักษา ค่าวัสดุ ค่าสิ่ งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ สถิติในการช่วยเหลือ จะมีคนเข้ามาขอความช่วยเหลือในการปฐมพยาบาล ปี ที่แล้ว 1,487 ราย ในขณะเดียวกันมีตจานวนที่ Life Guard ออกไปช่วยเหลือ 1,355 ราย


17

การป้ องกันที่ใช้อยูค่ ือการประชาสัมพันธ์ ด้วยป้ าย แผ่นพับซึ่ งจะวางตามที่พกั ร้านค้า ร้านอาหาร และรฐบาลกลางก็ช่วยประชาสัมพันธ์ผา่ นสายการบินด้วยวีดีโอ หรื อ ซี ดีรอม การตั้งงบประมาณจะมาจาก 2 ทางคือ 1. Management Plan 5 ปี 2. Operation Plan ประจาปี ทั้งสองแผนงานจะบูรณาการร่ วมกัน แล้วจึงกาหนดเกณฑ์การตั้งงบประมาณ โดยจะมี Monthly Budget Report, Quarterly Report, 6 Months Report เพื่อ ประเมินผลงาน และปรับดูงบประมาณ การรับสมัคร Life Guard จะมีคณะกรรมการประกอบด้วย Beach Manager, Life Guard และ Human Resource ร่ วมกันพิจารณาดูวา่ ผ่านคุณสมบัติที่วางไว้ ซึ่ ง คุณสมบัติจะเป็ นเช่นเดียวกับหาด Manly หรื อมาตราฐานทัว่ ไปของประเทศออสเตรเลีย ใน สมัยก่อนการจะรับสมัครเป็ น Life Guard อาชีพจะต้องผ่านการเป็ นอาสาสมัครก่อน แต่ ปัจจุบนั ได้เปลี่ยนไป โดยดูเรื่ องคุณสมบัติเป็ นสาคัญ หาด Bondi มีลกั ษณะพิเศษกว่าหาดอื่นตรงที่มี Beach Manager ที่จะทาหน้าที่ดูแล พื้นที่ 3 ส่ วน ได้แก่ 1. พื้นที่ในน้ า 2. พื้นที่บริ เวณชายหาดทราย และลานจอดรถ 3. ร้านค้าที่ติดชายหาด มีเหตุการณ์ที่ทาง Waverly Council ถูกเรี ยกร้องค่าเสี ยหายเกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2529 เมื่อ เด็กสาวคนหนึ่งได้วา่ ยน้ าอยูใ่ นเขตที่ปักธง เหลืองแดง หรื อเขตว่ายน้ า ปรากฏว่าโดนกระดานโต้ คลื่นที่ศีรษะบาดเจ็บ เนื่ องจากมีการเล่นกระดานโต้คลื่นเข้ามาในเขตว่ายน้ า ทั้งนี้เนื่ องจาก Life Guard บกพร่ องในการขับไล่ให้กระดานโต้คลื่นพ้นออกจากบริ เวณเขตว่ายน้ า


18

ภาพถ่ายหาดบอนได

Ms Bobbi กาลังให้ขอ้ มูลแก่คณะดูงาน

Lifeguardกาลังปฏิบตั ิหน้าที่บนหอคอย สถานที่เก็บเครื่ องมืออุปกรณ์ใต้สานักงาน

รถวิง่ บนหาดทราย AGV – Quad Bike สาธิตการใช้ Jet Ski ในการเข้าช่วยเหลือ

เครื่ องช่วยหายใจ ( Oxy Viva )


19

ป้ ายสัญญาณต่างๆที่ใช้ปักบนชายหาด

หาดโกลด์ โคสต์ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล : Mr. Sean Swain - Lifeguard Education Officer – Lifeguard Services Community Services Mr. George, Mr. John, Mr. Rob - Lifeguard Miss Jessica Berg - Business Development Officer Economic Development & Major Projects

ภาพ:ชายหาด Gold Coast

ภาพ:Marina Mirage

ข้อมูลชายหาด Gold Coast : เป็ นชายหาดที่อยูใ่ นรัฐควีนส์แลนด์ (Queensland ) ทางด้านทิศ ใต้ของเมือง Bisbane มีความยาวประมาณ 42 กิโลเมตร เป็ นหาดหันหน้าไปยังมหาสมุทรปาซิฟิก มีคลื่น ลมค่อนข้างแรง มีนกั ท่องเที่ยวปี ละ 3ล้านคน แต่มีผใู ้ ช้บริ การชายหาดประมาณ 1.2 ล้านคน มีความเจริ ญเติบ


20

รวดเร็ ว ทาให้มีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จาก 20,000 คนในปี 2495 ในปั จจุบนั ปี 2545 มี ประชากรเป็ น 450.000 คน Lifeguard: มีเจ้าหน้าที่ประจา16 คน โดยประจาตามจุดต่างๆที่มีความหนาแน่นของผูม้ าใช้บริ การ ชายหาด โดยมีอุปกรณ์ช่วยเหลืออาทิเช่น Jet Ski, Surf Board, Rescue Tube เป็ นต้น โดย ประจาจุดต่างๆด้วยกัน 8 จุด แต่ละจุดมีเจ้าหน้าที่ Lifeguard 2 คนประจาจุด หอสังเกตการณ์มีจานวน 40 หอคอย โดยเฉลี่ย ทุกๆ 1 กิโลเมตรจะมี 1 หอคอย ยกเว้นพื้นที่ที่มีคนมาใช้ บริ การหนาแน่น อาทิเช่น บริ เวณ Surf Paradiseจะมีถึง 3 หอคอยสาหรับความยาวของบริ เวณดังกล่าว เพียง 1 กิโลเมตร สาหรับหาดนี้มีกิจกรรมมากมาย และอนุญาตให้มีการใช้พ้นื ที่สาหรับกีฬาอื่นๆ เพราะหาดมีความยาวถึง 40 กิโลเมตร แต่สุนขั หรื อ สัตว์ ก็ยงั คงเหมือนที่อื่นๆ คือไม่อนุญาตให้นาเข้ามาในชายหาด ที่หาดแห่งนี้ในปี ที่แล้วมีการเข้าช่วยเหลือประมาณ 300 ราย จากผูม้ าใช้บริ การบนชายหาด 1.2 ล้านคน สิ่ งที่สาคัญของหาดก็คือ เนื่องจากชายหาดมีความยาวมาก ดังนั้นจึงมี Rip Current อยูม่ าก อีกทั้งคลื่นลม แรงที่พดั เข้าฝั่งอยูเ่ สมอ จึงทาให้เกิด Rip Current อยูต่ ลอดเวลา สาหรับการเกิด Rip Current นั้นจะ เกิดขึ้นโดย เมื่อคลื่นพักเข้าสู่ชายฝั่ง แล้วก็มาพบกับเนินทรายที่ขวางกันก็จะทาให้คลื่นม้วนตัวขึ้นแล้วทาให้พดั พาทรายขึ้นมากับคลื่น ทาให้เกิดเป็ นร่ องน้ าลึก จากนั้นน้ าที่พดั พาเข้ามาก็จะไหลไปตาม Gutter ซึ่งเป็ นร่ อง น้ าบริ เวณเนินทรายที่ขวางอยูน่ ้ นั กระจายออกไปทางด้านข้างทั้ง 2 ด้าน แล้วไหลกลับออกไปทางร่ องน้ าลึก ด้านข้างแล้วไหลกลับสู่ทะเล ซึ่งการไหลกลับของน้ าผ่านร่ องน้ าลึกนี้เรี ยกว่า Rib Current การสาธิตการช่วยเหลือผูป้ ระสพภัย ได้มีการสาธิตการช่วยเหลือใน 3 ลักษณะคือ 1. Rescue Tube 2. Surf Board 3. Jet Ski 1. การช่ วยเหลือด้ วย Rescue Tube ซึ่งเป็ นแท่งยางที่สามารถพยุงตัวในน้ าได้มีความยาวประมาณ 1 เมตร และมีเชือกผูกตอนปลาย ซึ่งสามารถพันรอบเอวไว้ เพื่อลากหรื อจูงเข้าฝั่งได้ ในการเข้า ช่วยเหลือ Lifeguard จะตะโกนบอกให้ผปู ้ ระสพภัยควบคุมสติและปฏิบตั ิตามคาชี้แนะ แล้วจะโยน หรื อ ยืน่ Rescue Tube ให้ผปู ้ ระสพภัยเกาะเพื่อพยุงตัวก่อนเป็ นลาดับแรก เมื่อผูป้ ระสพภัย สามารถประคองตัวได้แล้ว จึงเข้าประชิดและผูก Rescue Tube เข้ารอบตัว จากนั้นจึงลาก หรื อ จูง เข้าฝั่ง


21

ภาพ:การสาธิต การเข้าช่วยเหลือด้วย Rescue Tube 2. การเข้ าช่ วยเหลือด้ วย Surf Board ในกรณี น้ ีทาง Life Guard จะนาล้มตัวนอนไปกับ Surf Board แล้วใช้มือว่ายพาตัวเองไปยังผูป้ ระสพภัย และเช่นกันก่อนเข้าถึงตัวจะจะโกนแจ้งให้ผปู ระสพภัย ควบคุมสติ แล้วเมื่อเข้าถึงตัวก็จะจับมือที่ผปู ้ ระสพภัยชูข้ ึน แล้วดึงขึ้นมานอนลง บน Surf Board แล้วก็พาย มือนา Surf Board เข้าฝั่ง

ภาพ:การสาธิต การเข้าช่วยเหลือด้วย Surf Board 2. การเข้ าช่ วยเหลือด้ วย Jet Ski เป็ นการช่วยเหลือที่รวดเร็ ว ในกรณี คลื่นแรง หรื อ ผูป้ ระสพอยูไ่ กล ชายฝั่งออกไปมาก การใช้ Surf Board หรื อ การว่ายน้ าเข้าช่วยเหลืออาจจะไม่ทนั ต่อเหตุการณ์ การ ใช้ Jet Ski จึงมีความเหมาะสมที่สุด การใช้ Jet Ski จะต้องมีการพ่วงท้ายด้วย Board ที่มีห่วง เชือกร้อยเป็ นระยะเพื่อให้สามารถยึดจับได้ ในการเข้าช่วยเหลือเช่นกันทุกครั้ง Lifeguard จะบอก ให้ผปู ้ ระสพภัยทราบถึงวิธีการก่อน เว้นแต่จะหมดสติไปแล้ว จะต้องเข้าถึงตัวอย่างรวดเร็ ว หากยังไม่ หมดสติก็จะให้ผปู ้ ระสพภัย จับห่วงเชือกแล้วนาตัวเองขึ้นมานอนบน Board แต่หากหมดสติแล้ว Lifeguard อีกคนจะลงไปอุม้ ขึ้น Board แล้วเป็ นจับห่วงเชือกแทน ส่วนอีกมือก็โอบรัดตัวผู ้ ประสพภัยไว้ เมื่อจับห่วงเชือกมัน่ คงแล้ว จึงนา Jet Ski เข้าฝั่ง


22

ภาพ:การสาธิต การเข้าช่วยเหลือด้วย Jet Ski ส่วนมากแล้ว Lifeguard มักจะใช้ Rescue Tube เพราะว่าเมื่ออยูใ่ นน้ า การควบคุมไม่ให้ Surf Board หรื อ Jet Ski ไม่ให้กระทบผูป้ ระสพภัยเป็ นไปได้ลาบาก ทาให้อาจจะกระทบศีรษะ หรื อ ทาอันตราย ได้เนื่องจากมีความแข็ง ต่างจาก Rescue Tube ที่มีความอ่อนนุ่ม ให้ความปลอดภัยสูงกว่า ทั้งนี้อยูใ่ น ดุลพินิจของ Lifeguard ว่าควรใช้วธิ ีใดในสถานการณ์ใด ระหว่างการสาธิตนั้นได้เกิดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริ ง มีนกั ท่องเที่ยวผูห้ นึ่งได้ลงไปเล่นน้ านอกเขตที่ปักธง ทาง หอคอยสังเกตการณ์ได้ใช้วทิ ยุเรี ยก Lifeguard ให้ไปเรี ยกนักท่องเที่ยวเข้ามาในเขตว่ายน้ า Lifeguard ได้นา Surf Board ว่ายออกไปหานักท่องเที่ยวผูน้ ้ นั และแจ้งให้เข้ามาอยูใ่ นเขตว่ายน้ าที่ปลอดภัย ซึ่ง นักท่องเที่ยวผูน้ ้ นั ก็ปฏิบตั ิตามโดยดี สิ่ งที่ Lifeguard ให้ความสาคัญที่สุดคือ ควบคุมให้นกั ท่องเที่ยวใช้ชายหาดอย่างถูกต้องตามเขตที่ได้กาหนด ไว้เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่รุนแรงได้ เพราะอาจจะเข้าช่วยเหลือไม่ทนั ทาให้ถึงแก่ชีวติ ได้ ซึ่งจะเป็ นความ รับผิดชอบของ Lifeguard และ Council ภายหลังสาธิตเสร็ จสิ้นลง ความชานาญของ Lifeguard เป็ นสิ่ งที่สาคัญ ได้มีการหารื อในเรื่ องการแลกเปลี่ยน หรื อ อาจจะเชิญ Lifeguard จาก Gold Coast ไปยังภูเก็ตเพื่อฝึ กอบรมให้กบั เจ้าหน้าที่ของภูเก็ต ทาง Lifeguard มีความยินดีที่จะเดินทางมายังจังหวัดภูเก็ต คณะผูด้ ูงานชุดนี้จึงให้ขอให้ทางเจ้าหน้าที่ Lifeguard เสนอว่าควรจะทางภูเก็ตอานวยความสะดวกให้เรื่ องอะไรบ้าง หากมีความเหมาะสมก็จะให้ทาง องค์การส่วนท้องถิ่นในจังหวัดภูเก็ตทาหนังสื อเชิญไปที่ Council อย่างเป็ นทางการต่อไป Gold Coast Public Transportation ผูใ้ ห้ขอ้ มูล : Mr. Rod Grose


23

Manager Transport Planning Planning Environment & Transport Nerang Administrative Centre Queensland. โกลด์โคสต์มีพ้นื ที่ 1,400 ตารางกิโลเมตร มีพ้นื ทีที่มีการพัฒนา 1 ใน 4 คือบริ เวณพื้นที่ใกล้ชายฝั่งทะเล มี ประชากรในปี 2545 450,000 คน ครึ่ งหนึ่งอยูใ่ นบริ เวณที่มีการพัฒนาสูงคือพื้นที่ใกล้ชายฝั่งทะเล เป็ นเมื่อง ที่การเติบโตโดยเฉลี่ย 3.5% Gold Coast บริ หารและจัดการโดย Nerang Administrative Centre ซึ่งมีเจ้าหน้าที่รวมทั้งสิ้น 2,500 คน นับเป็ น Local Government ที่ใหญ่เป็ นอันดับ 2 ของประเทศรองจาก Bisbane Local Government มี Mayor 1 คน และ Council Member 14 คน ทั้ง Mayor และ Council ทางานในตาแหน่งในลักษณะ Full Time ไม่ทาอาชีพอื่นอีก โดย Mayor ได้รับเงินเดือน AUD100,000 ต่อปี ส่วน Council Member ได้รับเงินเดือน AUD70,000.00 ต่อปี ทุกคน จะมีเลขานุการส่วนตัว และรถประจาตาแหน่ง และรายได้พิเศษจากเบี้ยประชุมจากการเป็ นกรรมการในคณะต่างๆ ในการเติบโตอย่างรวดเร็ วของโกลด์โคสต์ จึงได้มีการวางแผน 30 ปี สาหรับเรื่ อง การคมนาคมขนส่ง และได้มี การศึกษาในเรื่ องนี้พบว่า ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 – 2001 ( พ.ศ. 2538 – 2544 ) พบว่า - มีประชากรเพิ่มขึ้น 51% จานวนรถเพิ่มขึ้น 67% - การเดินทางต่อครั้งของประชากรโดยเฉลี่ยที่ 12 – 15 กิโลเมตร - ใช้เวลาในการเดินทางในแต่ละครั้ง 15 – 25 นาที - ความเร็ วในการเดินทางภายใน 5 ปี ลดลง จาก 46 กม/ชม เป็ น 36 กม/ชม การแก้ไขปั ญหาโดยการเพิ่มถนนเพื่อรองรับปริ มาณรถที่เพิ่มขี้นพบว่า - จานวนรถที่เพิ่มขึ้น ทาให้สิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจ เพราะมีตน้ ทุนสูง เช่น น้ ามัน การซ่อมแซมรถแต่ละคัน - ที่ดินมีราคาแพง หากจะต้องซื้อที่ดิน เพื่อมาสร้างถนนเพิ่ม - การสร้างถนนเพิ่มขึ้น แต่ละเส้นไม่ทนั ต่อความต้องการ และปริ มาณขนส่งที่เพิ่มขึ้น - ทาให้เกิดผลกระทบทางสิ่ แวดล้อมในเรื่ อง อากาศ เสี ยง และการใช้ที่ดิน เป็ นต้น - กระทบต่อการท่องเที่ยว สาหรับนักท่องเที่ยวเพราะไม่มีความสะดวก - 10% ของจานวนประชากรไม่มีรถเป็ นของตนเอง - ครึ่ งหนึ่งของนักท่องเที่ยวไม่ได้ใช้รถ - คนแก่ และ เด็กไม่สามารถขับรถได้ หรื อไม่อยากขับ - ประชากรเริ่ มมีปัญหารายได้ไม่เพียงพอในการซื้อรถมาใช้เป็ นของตนเอง ได้ทาการสารวจความคิดเห็น ในลักษณะการสัมภาษณ์โดยตรงกับผูต้ อบแบบสอบถามจานวน 2,000 ราย - 73% เห็นว่า ควรแก้ไขด้วยการมี Light Rail - เห็นว่าเพื่อมิให้เกิดมลภาวะในด้านต่างๆ ควรใช้ Light Rail


24

- การขึ้น ลง ของ Public Transport ในปั จจุบนั คือ รถโดยสารประจาทาง ไม่สะดวก ในการขึ้น ลง และ ไม่รวดเร็ ว - เพื่อให้ Public Transport ตอบสนอง คนพิการที่ใช้ Wheel Chair ควรใช้ Light Rail เพราะขึ้น ลง ง่ายและปลอดภัย - การขนส่งจานวนมาก Light Rail สามารถรองรับได้ เพราะสามารถ ขนส่งได้ครั้งละมากกว่า 200 คน - มีเครื่ องปรับอากาศ นัง่ สบาย และไม่ตอ้ งได้รับมลพิษในอากาศ - Light Rail ให้ความสวยงามแก่บา้ นเมืองมากกว่ารถโดยสารทัว่ ไป Nerang Council ได้ทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของ Light Rail ได้ขอ้ สรุ ปว่า ในการขนผูโ้ ดยสาร 50,000คนต่อวันในอัตราค่าโดยสารAUD 2.00 มีรายได้ AUD36.0 ล้านต่อปี ใช้รถจานวน16 ขบวนมีค่าใช้จ่าย AUD12.0 ล้านต่อปี กาไรต่อปี AUD24.0 ล้านต่อปี ใช้การลงทุน AUD 350.0 ล้าน ดังนั้น Rate of Return คือ 7% Council จะสรุ ปเรื่ องทั้งหมดภายในสิ้นปี นี้ และ ก่อสร้างเพื่อให้สามารถใช้ได้ภายใน 3 หรื อ 4 ปี ข้างหน้า สาหรับการลงทุน จะเป็ นการลงทุนร่ วมระหว่าง Federal Government, State Government และ Local Government หรื อ อาจจะเพิม่ ภาคเอกชนเข้ามาร่ วมอีกก็ได้

คณะดูงานกาลังฟังการบรรยายLightRail ภาพ:Mr. Rod Grose บรรยายเรื่ องPublic Transport


25

ถ่ายภาพกับ Mr. Dale Dickson C.E.O. (Chief Executive Officer) Nerang Administrative Centre ณ ห้องประชุมสภาเมือง Gold


26

องค์การบริ หารส่วนจังหวัดภูเก็ต รายชื่อคณะดูงาน Beach Guard Life Saving Sydney – Gold Coast 13 – 19 กรกฎาคม 2546 1 MR SORATHAM JINDA

VICE CHIEF EXECUTIVE OF P.A.O.

2 MR CHOCKCHAI ISSAROLARN

MEMBER OF THE PROVINCIAL COUNCIL

3 MISS YAOWANET LIMRAT

MEMBER OF THE PROVINCIAL COUNCIL

4 MR MANOP LEELASUTHANON

CHIEF OF THE DIRECTING DIVISION OF P.A.O.

5 MR PRASONG MANOKAN

CIVIL WORKS TECHNICIAN OF PHUKET ADMINISTRATIVE ORGANISATION


27

ภาพ:จากซ้ายในภาพ นายชาญ วงศ์สตั ยนนท์, นายประสงค์ มโนกานต์, นายโชคชัย อิสระโอฬาร, นางสาว เยาวเนตร ลิ่มรัช,นายสรธรรม จินดา, นายมานพ ลีลาสุ ธานนท์

ข้อเสนอเนะ โดย

คณะดูงาน Beach Guard Life Saving องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดภูเก็ต 13 – 19 กรกฎาคม 2546 ภาครัฐของประเทศออสเตรเลีย ให้ความสนใจในเรื่ องการรักษาความปลอดภัยแก่ ชีวติ ของผูใ้ ช้บริ การชายหาดเป็ นอย่างมาก ได้มีการกาหนดมาตราฐานในการรักษาความ ปลอดภัยให้ยดึ ถือปฏิบตั ิกนั โดยทัว่ ไป อีกทั้งถือเป็ นนโยบายในการให้บริ การสาธารณะ แก่ประชาชนและชุมชน อีกทั้งยังครอบคลุมไปถึงนักท่องเที่ยวที่มาเยือนท้องถิ่นของ ตนเองอีกด้วย จึงเป็ นหน้าที่หนึ่งขององค์การบริ หารส่ วนท้องถิ่นที่ตอ้ งมีการสาธารณะ ในเรื่ องนี้


28

ศักยภาพขององค์กรท้องถิ่นในประเทศออสเตรเลีย ซึ่งบางชายหาดเช่น Bondi ได้ มีโครงการนี้มากว่า 90 ปี แล้ว ได้พฒั นารู ปแบบ และ มีประสบการณ์ในเรื่ อง การ ช่วยเหลือผูป้ ระสพภัยบริ เวณชายหาด ทุกชายหาดในประเทศออสเตรเลียจะต้องถือเป็ น หน้าที่หนึ่งที่จะต้องรับผิดชอบในเรื่ องความปลอดภัยบริ เวณชายหาด ซึ่งนับเป็ นการ บริ หารการจัดการท้องถิ่นอย่างมีประสิ ทธิภาพ อันเป็ นการส่ งเสริ มบรรยากาศที่ดีโดยให้ ชุมชนให้ความสาคัญต่อชีวติ และความปลอดภัยแก่ผมู ้ าเยือนท้องถิ่นของตนเอง นับเป็ น การส่ งเสริ มการท่องเที่ยวอีกทางหนึ่งด้วย ดังนั้น คณะดูงาน มีความเห็นว่า จากการดูงานในครั้งนี้สมควรที่จะมีโครงการ ต่อเนื่อง เพื่อให้บงั เกิดการบริ หารการจัดการท้องถิ่นอย่างมีประสิ ทธิภาพเป็ นรู ปธรรม จึงขอเสนอโครงการต่างๆเพื่อพิจารณาดาเนินการดังต่อไปนี้ 1. เชิญเจ้าหน้าที่ Lifeguard จาก Gold Coast จานวน 2 คนเดินทางมายัง จังหวัดภูเก็ต เป็ นระยะเวลา 2 เดือน เพื่อทาการแนะนาวิธีปฏิบตั ิงาน ให้กบั เจ้าหน้าที่ขององค์กรท้องถิ่นต่างๆในจังหวัดภูเก็ต ทั้งในระดับบริ หารและระดับ ปฏิบตั ิการ 2. เสนอให้มีชายหาดหนึ่งเป็ นชายหาดทดลองเป็ นระยะเวลา 1 ปี ที่จะให้มีการ บริ หารการจัดการชายหาดที่มีหน่วยงานโดยเฉพาะ คือ หน่วยงานบริ การชุมชน และนักท่องเที่ยวโดยมีรายละเอียด ดังนี้ พืน้ ทีใ่ นการดูแลรับผิดชอบ 2.1 ชายหาด โดยยึดถือแนวถนน กับ บริ เวณน้ าทะเลท่วมถึงต่าสุ ด 2.2 ชายทะเล นับจากแนวน้ าท่วมถึงต่าสุ ดออกไป 100 เมตร หน้าที่และความรับผิดชอบ พื้นที่ 2.1 การบริ การสาธารณะ การจัดระเบียบ การรักษาความสะอาด การ ปัก ธงแสดงแนวเขตกิจกรรมทั้งบนบก และในน้ า พื้นที่ 2.2 เฝ้ าระวัง และให้ความช่วยเหลือ แก่ประชาชนทัว่ ไปทั้งที่เข้ามา ร้องขอให้ช่วยเหลือ หรื อ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง และ ออกไปช่วยเหลือเมื่อผูใ้ ช้บริ การชายหาดประสพอุบตั ิเหตุ


29

อัตรากาลังเจ้ าหน้ าที่ ก. ผูจ้ ดั การชายหาด (Beach Manager ) 1 อัตรา ข. เจ้าหน้าที่ Beach Guard Life Saving 2 อัตรา (หมายเหตุ – งบประมาณจากองค์กรท้องถิ่นนั้นๆ) เครื่องมือเครื่องใช้ ก. Jet Ski ข. Surf Board ค. รถประจาชายหาด ง. เครื่ องช่วยหายใจ จ. ป้ ายที่ใช้ในการเตือนภัยต่างๆ (หมายเหตุ – งบประมาณจากองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด) สถานที่ ในระยะทดลอง ให้ใช้อาคารถาวรร่ วมกับหน่วยงานอื่นก่อน หากประเมินผล ดาเนินการได้อย่างมีประสิ ทธิผล หากสมควรที่จะมีอาคารถาวร ทั้งนี้ให้ คานึงถึงการมีอาคารถาวรเพียงอาคารเดียวที่สามารถบูรณการใช้งานร่ วมกันได้ หลายหน่วยงาน อาทิเช่น ตารวจ การให้ขอ้ มูลทางการท่องเที่ยว การเฝ้ าระวัง รักษาความปลอดภัย บริ เวณชายหาด และบริ การสาธารณะชน เช่นห้องน้ า เป็ นต้น เพื่อเป็ นการประหยัดงบประมาณ ความสวยงามของชายหาด และมี ประสิ ทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน (หมายเหตุ – งบประมาณจากองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด) ประเมินผลของโครงการ หากสามารถพัฒนาให้เป็ นหน่วยงานตามระเบียบ งบประมาณประจา และการบริ หารงานควรเป็ นความรับผิดชอบขององค์กร ท้องถิ่นนั้นๆ 3. จัดตั้งหน่วยอาสาสมัครช่วยเหลือผูป้ ระสพภัย (Beach Life Saving Club) จานวนของผูม้ าใช้บริ การชายหาดในแต่ฤดูกาล มีจานวนไม่แน่นอน ดังนั้นอัตรากาลังที่มีอยูไ่ ม่เพียงพอในบางฤดูกาล การตั้งหน่วย หรื อ ชมรม


30

อาสาสมัครช่วยเหลือผูป้ ระสพภัยบริ เวณชายฝั่งทะเล จึงเป็ นเสริ มกาลังในกรณี ชาดแคลนเจ้าหน้าที่ และยังเป็ นการเสริ มสร้างกิจกรรมของคนในท้องถิ่นที่มี ความสามารถทางน้ าหลายๆด้านมาอยูร่ ่ วมกันเพื่อทาประโยชน์ให้กบั ท้องถิ่น เพิ่มจานวนผูม้ ีความสามารถทางน้ าให้มากขึ้น ส่ วนองค์กรบริ หารงานส่ วน ท้องถิ่นให้การสนับสนุนในด้านการฝึ กอบรมต่างๆเพื่อเพิ่มศักยภาพ อาทิเช่น การให้ออกซิเจน การปฐมพยาบาล การใช้เครื่ องมือต่างๆในการช่วยเหลือผู ้ ประสพภัย ภาษาต่างประเทศ เป็ นต้น 4. โครงการแลกเปลี่ยน Lifeguard เพื่อเป็ นการเสริ มสร้างประสบการณ์ให้กบั เจ้าหน้าที่ Lifeguard สมควรให้มีโครงการแลกเปลี่ยนในการดูงานและปฏิบตั ิงานในพื้นที่ต่างๆทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ เพื่อเสริ มสร้าง เพิ่มพูนประสบการณ์ และเป็ น แรงจูงใจในการปฏิบตั ิหน้าที่ พัฒนาเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ๆในการช่วยเหลือผูป้ ระสพ ภัยในการแลกประสบการณ์ของ Lifeguard ในแต่ละพื้นที่

ชาญ วงศ์สตั ยนนท์ ผูจ้ ดั ทาโปรแกรมทัศนศึกษา ประสานงาน และ จัดทารายงาน โทร 0818213213 บ.ภูเก็ตเจ๊ตทัวร์จำกัด 5/58 ถนนแม่หลวน ต.ตลำดเหนือ อ.เมือง จ.ภูเก็ต


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.