Saratha March 2015

Page 1

photo: https://s-media-cache-ak0.pinimg.com/originals/9a/51/21/9a5121429d984738d4f12543dc9683b7.jpg

จดหมายข่าว

มีนาคม 2558

สารัตถะ

www.thaiyogainstitute.com


สารัตถะ ·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ ÊÒÃºÑ Þ

กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์

¡ÃÃÁ¡Òà ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹

2

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ

2

º·¡Å͹

6

ÇÔ ¶ Õ â ¤Рlife itself

7

àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ §

9

àÃ× ่ Í §¨Ò¡à¾× ่ Í ¹

11

¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ บั น ทึ ก โยคะ

14

กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ

ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹

พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ

จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย  นิ ร ามิ ษ สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

ÈÔ Å »¡ÃÃÁ

กาญจนา กาญจนากร


สารัตถะ ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ สวัสดีมีนาคม วันคืนผานไป สถาบันโยคะวิชาการยังคงทำหนาที่อยางแข็งขันในการเผยแพรโยคะ ตามตำราดั้งเดิม เพื่อการพัฒนาจิตใหแกผูคน และนับวันแนวทางในการเผยแพรและกลุมคนที่ใหการตอบรับ ยิ่งชัดขึ้นวาผูที่สนใจการเดินทางสูภายในเปนตนทุนเดิมอยูแลว ยอมพรอมที่จะเดินเขามาสูเสนทางนี้ แตในขณะเดียวกันผูที่สนใจโยคะเฉพาะในแงมุมอาสนะนั่นก็ไมไดหมายความวาผิดแตอยางใดเพราะจิตที่ดี ยอมอยูในรางกายที่สมบูรณแข็งแรง หากแตเมื่อวันคืนลวงไปเวลาในชีวิตเราเหลือนอยลงๆ และศักยภาพของกายที่นอยลงๆ เมื่อนั้นเราอาจมองหาหนทางเพื่อพัฒนาศักยภาพของใจ เพื่อยกระดับจิตใหสูงขึ้นๆก็เปนไดแลวคุณละ สนใจที่จะเดินทางเขาสูภายในบางไหม

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ ¨Ñ ´ ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 22 ÁÕ ¹ Ò¤Á 2558 àÇÅÒ 9.00 – 15.00 ¹.

ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตรคาลงทะเบียน 650 บาท สนใจโทร.สอบถามรายละเอียดไดที่สถาบันโยคะวิชาการ â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ·Ø ¡ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐÇÑ ¹ àÊÒÃ Ê Ñ » ´ÒË · Õ ่ Ê Õ ่ ¢ ͧ·Ø ¡ à´× Í ¹ àÇÅÒ 10.00 – 12.00 ¹.

ไมมีคาใชจาย รวมสมทบคากิจกรรมได ดวยการบริจาค ลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดหนางาน â¤ÐÈÙ ¹  » ¯Ô º Ñ µ Ô ¸ ÃÃÁ ¾Õ ਠ´Õ ä «¹ ³ ÈÙ ¹  » ¯Ô º Ñ µ Ô ¸ ÃÃÁ ¾Õ ਠ´Õ ä «¹ (ºÒ§áÇ¡/¨ÃÑ Þ Ê¹Ô Ç §È 13) ·Ø ¡ ÇÑ ¹ ÍÑ § ¤Òà 10.30-12.00 ¹.

คาใชจาย : รวมสมทบคาใชจายดวยการบริจาค

2


ÊÒÃÑ µ ¶Ð

à» ´ÍºÃÁâ¤Рâ´Â Dr. R.S. Bhogal ¤ÃÙãËÞ‹ áË‹§Ê¶ÒºÑ¹ä¡ÇÑŸÃÃÁ ໚¹¡ÒúÃÃÂÒ áÅÐ ½ƒ¡ÊÁÒ¸Ô ã¹ËÑÇ¢ŒÍ From Yoga to Meditation ¨Ò¡â¤ÐÊÙ‹¨ÔµµÀÒÇ¹Ò â´Â¡Ó˹´¡Òà ÁÕ 2 Ãͺ ´Ñ§¹Õ้ Çѹ·Õ่ 12 ÁԶعÒ¹ 2558

บรรยายเวลา 17.00-20.00 น. ที่ มศว ประสานมิตร คาใชจาย : 500 บาท Çѹ·Õ่ 13-14 ÁԶعÒ¹ 2558

คาย 2 วัน 1 คืน บานผูหวาน สามพราน จ.นครปฐม คาใชจาย : 3,800 บาท ÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾Ô่ÁàµÔÁ

http://www.thaiyogainstitute.com/ content/คอรส-จากโยคะสูจิตตภาวนา

3

“ครูกวีเลาวา Dr. R.S. Bhogal เปนครูสอนวิชา จิตวิทยาโยคะที่สถาบันไกวัลยธรรม ซึ่งเปนวิชาที่ สถาบันฯไมไดนำมาสอนที่เมืองไทย วิชานี้กลาวถึง จุดแข็งและจุดออนของแนวคิดทั้งจิตวิทยาตะวันตก และตะวันออก ไมไดโนมไปทางฮินดู ครู Bhogal สนใจในสมาธิมากการอธิบายเรื่องราวรวมถึง การนำสมาธิทำใหเราไดมุมมองที่เรียบงายของสมาธิ และงายตอความเขาใจถึงแมจะเปนสิ่งที่เรารูอยูแลว ก็ตาม ที่อินเดียครู Bhogal ไดนำสมาธิหรือสอน ใหนักศึกษาไกวัลยธรรมแมในวันหยุดหรือนอกเวลา เรียนนับเปนครูในอุดมคติของครูกวีเลยทีเดียว” (อางอิงจากรายงานการประชุมสถาบันโยคะวิชาการ ประจำเดือนกุมภาพันธ)


¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â â¤Ã§¡ÒÃͺÃÁ ªÇ¹¤Ô ´ ¶Ö § ªÕ Ç Ô µ ·Õ ่ à ËÅ× Í ¨Ñ ´ â´Âà¤Ã× Í ¢‹ Ò ÂªÕ Ç Ô µ ÊÔ ¡ ¢Ò áÅЪÁÃÁÇÔ ¶ Õ ¾ Íà¾Õ  § 21 -22 ÁÕ ¹ Ò¤Á 2558 ความเปนมา โครงการอบรมชวนคิดถึง ชีวิตที่เหลือ นำเสนอการยอมรับความตาย วาเปนสิ่งที่ปฏิเสธไมได การเจริญสติ เพื่อเตรียมพรอมกับความเจ็บปวย เผชิญกับความตายเปนสวนสำคัญที่สุดของชีวิต จึงนาจะไดนำมาเปนบทฝกควบคูไปกับเสนทางพัฒนา จิตสำหรับเตรียมพรอมเพื่อการใชชีวิตอยางไม ประมาท มีจิตใจมั่นคงในการศึกษาและฝกฝนตนเอง เพื่อการเจริญสติ เตรียมพรอมที่จะเผชิญกับชวงเวลา เปลี่ยนผานสำคัญที่สุดของชีวิต ตลอดจนการยอมรับ การพลัดพรากจากคนใกลชิดอยางสงบ ฝกโยคะ ฝกสติ สูมรณานุสติพัฒนากายและจิต ดวยวิถีโยคะ ที่เนนการมีสติรูสึกตัวขณะเคลื่อนไหว มีความ สอดคลอง กับแนวทางพัฒนาจิตวิถีพุทธและเอื้อ ประโยชนในการใชชีวิตประจำวัน อยางมีความสุข ทั้งทางดานกายภาพและจิตวิญญาณ “ถาคิดจะหัดวายน้ำเมื่อตกน้ำ อาจจะสายเกินไป” คุณจะไดอะไร 1.ฝกธรรมะและการเจริญสติงาย ๆ ที่ใชไดจริงใน ชีวิตประจำวัน แบบสบาย ๆ ไมเครียด 2.ทัศนคติตอการเผชิญความตายอยางเบิกบานและ ไมประมาท 3.โยคะอาสนะพื้นฐานที่สามารถนำไปฝกไดดวย ตนเอง 4.เติมกระปุกบุญ กลับบานดวยจิตแจมใส รางกาย สดชื่น โปรแกรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ชวนคิดถึงชีวิตที่เหลือ” วันเสารที่ 21 มีนาคม 2558 08.30-09.00 ลงทะเบียน/อาหารวางและเครื่องดื่ม /เขาที่พัก 09.00-10.00 ปฐมนิเทศ “แลววันนี้…ก็มาถึง ของคุณธนวไล เจริญจันทรแดง” และกิจกรรมกลุมสัมพันธ

ÊÒÃÑ µ ¶Ð 10.00-11.30 ความสำคัญการเจริญสติภาวนา – เพื่อปูพื้น ความสำคัญของการเจริญสติ แนะนำการเจริญสติ ตามแนวทางหลวงพอเทียน โดย พระอาจารยครรชิต อกิญจโน เจาอาวาสวัดปาสันติธรรม ชัยภูมิ 11.30-13.00 ถวายเพล และอาหารกลางวัน 13.00- 15.00 กิจกรรม “แนหรือไมแน” โดยทีมงานเครือขาย ชีวิตสิกขา และ ชมรมวิถีพอเพียง 15.00-16.30 “ขยับกาย-สบายจิต” กับโยคะอาสนะ 16.30-18.00 น้ำปานะ และพักผอนตามอัธยาศัย 18.00-21.00 สวดมนตทำวัตรเย็นรวมกัน กิจกรรม “มรณกรรมที่งดงาม” โดย ครูดล ธนวัชร เกตนวิมุต ประธานเครือขายชีวิตสิกขา วันที่อาทิตยที่ 22 มีนาคม 2558 05.30-06.30 สวดมนตทำวัตรเชา - สมาธิภาวนารวมกัน 06.30-07.30 “โยคะรับอรุณ” 07.30-09.00 ถวายภัตตาหารเชา และ อาหารเชา 09.00-11.30 บทเรียนการเจริญสติยามเผชิญความเจ็บปวย สรุปการเรียนรู การใหกำลังใจผูปวย โดย พระอาจารยครรชิต อกิญจโน 11.30-13.00 ถวายภัตตาหารเพล และอาหารกลางวัน 13.00-15.30 กิจกรรม“การชวยเหลือใหกำลังใจผูปวย ระยะสุดทาย รักษาจิตในสภาวะใกลตาย และการเยียวยาชวยเหลือญาติ” โดย พระอาจารยครรชิต อกิญจโน และ คุณธนวัชร เกตนวิมุต 15.30-16.00 สรุป แนะนำการเจริญสติ / มรณานุสสติ

4


ÊÒÃÑ µ ¶Ð ในชีวิตประจำวัน รับพรจากพระอาจารย และอุทิศบุญรวมกัน 16.00 รับน้ำปานะ พกทักษะ ใสกระเปา พาจิตแจมใส อิ่มบุญกลับบาน หมายเหตุ : กำหนดการอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง บางตามความเหมาะสม สถานที่ ศูนยปฏิบัติธรรม พี.เจ.ดีไซน ซ.บางแวก61 แขวงบางแวก เขตภาษีเจิรญ กรุงเทพมหานคร 10160 รับสมัคร เฉพาะผูสนใจทั่วไปอายุระหวาง 20-60 ป ที่ยินดีใชเวลาเต็ม 2 วัน 1 คืน ในการเขารวม โครงการ รับสมัครจำนวนจำกัด 60 ทาน การแตงกาย เสื้อผาสีสุภาพ หลวมสบาย เหมาะสำหรับการนั่งพื้น และ ฝกโยคะ เนื่องจากการอบรมนี้จัดเปนธรรมทานไมมีคาใชจาย โดยยินดีรับบริจาคตามศรัทธารวมกับทานเจาภาพ ดังนั้นขอความกรุณาทานที่ลงทะเบียนแลวกรุณามา เขารวมจริงและแนะนำวาไมลงทะเบียนจองที่ไวเผื่อผู ที่ไมสนใจเขารวมจริง ทั้งนี้เพื่อเปนการใหโอกาส สำหรับ ผูอื่นที่ประสงคจะเขารวมกิจกรร อยาง จริงจังมากกวา การเดินทาง เดินทางดวยตนเองตามแผนที่ (จะสงใหพรอมกับ อีเมลที่ตอบรับ) สนใจ สงใบสมัครดวน ที่ E-mail address : jivitasikkha2@gmail.com การสมัครขอใหสมัครทางอีเมลนี้เทานั้น ไมสะดวกรับสมัครทาง Facebookหรือทางโทรศัพท ขอตกลงรวมกันในการเขารับอบรม ผูเขาอบรมอยูรวมกิจกรรมตลอดทุกชวงของการ อบรม ยกเวนผูมีปญหาสุขภาพอาจจะไมรวมในชวง ฝกโยคะ 1) ผูเขาอบรมพักคางรวมกันและไมเดินทางออกนอก สถานที่ หากมีกรณีฉุกเฉินเรงดวนกรุณาติดตอ ทีมงาน 2) ชวงเวลาหลัง 21.00 น. ถึง เวลาประมาณ 6.30 น. (หลังการทำวัตรเชาเสร็จสิ้น) เปนชวง ระยะเวลาของการ “ปดวาจา” เพื่อใหทุกทาน ไดพักผอนเพียงพอ

5

3) กรุณาจัดเตรียมของใช ขวดน้ำดื่ม ไฟฉายและ ยาประจำตัวใหพรอม และใชถุงผาใสของแทนถุง พลาสติกเพื่อกันเสียงรบกวนผูอื่น 4) หองอบรมและหองนอนเปนหองปรับอากาศ กรุณาเตรียมเสื้อผาที่สุภาพและอบอุนเพียงพอสำหรับ ตนเอง และสามารถลุกนั่งกับพื้นไดสะดวกสบาย (มีเกาอี้สำหรับผูสูงอายุ) สถานที่พักมีที่นอน ผาปู ผาหมและหมอนพรอมบริการ เตียงนอนเปนเตียง สองชั้นเปดโอกาสใหผูสูงอายุและผูมีปญหาสุขภาพ นอนเตียงดานลาง หองน้ำเปนหองน้ำรวมอยูบน อาคารชั้นเดียวกัน แตแยกหางจากหองนอน กรุณา แตงกายสุภาพระหวางเดินทางจากหองนอนไป หองน้ำ เนื่องจากพื้นที่สวนกลางทางเดินใชงาน รวมกัน และการอบรมนี้มีพระวิทยากรที่รวมใชพื้นที่ สวนกลาง 5) อาหารเปนมังสวิรัติ 2 มื้อ มื้อเย็นเปนน้ำปานะ ชา กาแฟ ที่สามารถชงดื่มไดเอง สำหรับทานที่ มีปญหา สุขภาพจริงๆ กรุณาเตรียมอาหารวาง มื้อเย็นไปสำรองไดเอง โดยสามารถนำฝากเก็บไวที่หองเตรียมอาหาร * ไมอนุญาตใหเก็บและรับประทานอาหารในหองนอนที่ พัก * 6) เตรียมเสื้อผาใหเพียงพอ ทำการการซักลางเทาที่จำเปน 7) เตรียมเสื่อโยคะหรือผาขนหนูสำหรับรองนอนพื้น เพื่อการฝกบริหารกาย-จิต 8) กรุณารักษาความสะอาดในทุกพื้นที่ของศูนยฯ 9) ขอความกรุณาปดเสียงอุปกรณสื่อสารขณะเขารับ การอบรม ขอตกลงและความรวมมือนี้เปนไปเพื่อใหการอบรม เกิดประโยชนสูงสุดตอกลุมผูเขารวมทุกคน และขอให ตระหนักวาการเขากลุมของทานมีคุณคากับเพื่อน รวมกลุมเปนอยางยิ่งเชนกัน ทางคณะผูจัดจึงขอ ความรวมมือและขอขอบคุณทุกทานมา ณ โอกาสนี้ รับรายชื่อลงทะเบียนถึงวันที่ 13 มีค. 58 สอบถามขมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณวรรณวิภา มาลัยนวล (คุณออด) (084-643-9245) คุณสมศรี จตุรพิธพรชัย(คุณโตง) (081-689-9075) คุณสุภาพร ธนาพันธรักษ (คุณพร) 081-842-4391


ÊÒÃѵ¶Ð

º·¡Å͹

โลกมันก็เปนอยางนี้ มีทั้งนารักและนารังเกียจในคราวเดียวกัน อยาหนักใจไปเลย มันไมใชหนาที่ของเราหรอก ที่จะตองไปเปลี่ยนโลก กระทั่งไมใชหนาที่ของเรา ที่จะตองไปกาวกายชีวิตใคร เพราะหนาที่ของเรามีเพียงอยางเดียวเทานั้น คือเฝาดูทุกสิ่งที่มันเกิดขึ้น ภายในโลกใบเล็กของเรา ขัดเกลา ละวาง ใหมันบางเบา ในบางวันที่มันนารังเกียจมากกวานารัก แลวเมื่อเราตางทำหนาที่ของตนเองอยางเครงครัด เ มื่ อ นั้ น โ ล ก อ า จ ค อ ย ๆ เ ป ลี่ ย น ไ ป อนัตตา

6


ÊÒÃѵ¶Ð

photo: www.indiegogo.com

7

ÇÔ ¶ Õ â ¤Ð

Life Itself

ชนาพร เหลืองระฆัง

เสารหนึ่ง เมื่อปลายเดือนมกราคม วันนั้นเปนวันเงียบ ๆ ไมมีธุระจะตองออกไปไหน อยูบานทำขนมปง ขณะที่รอ พักแปงใหขนมปงขึ้นฟู เพื่อนก็สงขอความมาชวนไป ดูหนัง เรื่อง Life Itself บอกวา "ผูคนสรรเสริญมากมาย ไปดูกันมะ" เปนหนังสารคดีชีวิตของ Roger Ebert ซึ่งเขาเปนใคร ฉันไมรูจัก หนังมีรอบเดียวคือหาโมงเย็น อะ ไปก็ไป ถึงโรงหนังตอนหาโมงเย็นพอดี เพื่อนมาถึง กอนซื้อตั๋วรอไวแลว และ ฉันก็ไดรูจักกับ Roger Ebert นักวิจารณภาพยนตร นักขาวรางวัลพูลิตเซอร ที่จัดวา เปนตำนาน ในหนังเลาถึงชีวิตของโรเจอร ที่สนใจ การเขียนมาตั้งแตยังเปนเด็ก และ ทำงานเขียนตั้งแตอายุ 15 เปนคนอวน, ปากราย ออกจะกวน ๆ โดยเฉพาะกับ คูกัด Gene Siskelที่ทำรายการโทรทัศนดวยกัน ทั้งคู แตกตาง แตในความแตกตางนั้นเติมเต็มซึ่งกันและกัน จากที่กัดกันไมยอมปลอยกลับพัฒนามาจนถึงจุดที่เคารพ ซึ่งกันและกัน จีนเสียชีวิตไปกอนดวยโรคมะเร็งสมอง ในป 1999 จากการสัมภาษณเพื่อน ๆ และผูรวมงาน แสดงใหเห็นวาเขาเปนคนที่มีคนรักมากมาย และ รักเขา อยางจริงใจ บทวิจารณของเขาที่แมจะผาตรงจุด และ พาใหจุกได แตก็สรางสรรค เปนตัวจุดประกายให ผูกำกับหนาใหมไดแจงเกิดวงการ


มาถึงชวงทายของชีวิตโรเจอรพบวาตัวเองเปนมะเร็ง แตเขาไมเคยหยุดทำงาน โดยมีภรรยาคอยอยูเคียงขาง จนวาระสุดทาย โรเจอรไมไดปดบังอาการปวย เขาประกาศใหทุกคนไดรับรู ไมใชเพราะตองการใหคน มาเห็นใจ แตเพราะการจากไปของจีน ซึ่งเมื่อตอนที่พบ วาเปนมะเร็งจีนปดบังไวไมไดบอกใคร มีเพียงคนใน ครอบครัวเทานั้นที่รู แมแตโรเจอรที่ตอนนั้นเหมือน เปนพี่นองกันไปแลว ก็ไมทราบมากอนเลย มาทราบเอา ตอนที่จีนเขาโรงพยาบาล และ เสียชีวิตโดยที่โรเจอรไป เยี่ยมไมทัน จุดนาจะทำใหโรเจอรรูสึกวาควรเปดโอกาส ใหคนที่รักไดใชเวลาที่เหลือรวมกับเขา ไมใชมารูเมื่อ สายหรือเมื่อจากกันไปแลวโดยไมไดร่ำลา ฉันนั่งดูดวยความรูสึกหลายอยางผสมปนเป หนังแสดงถึงนิสัยที่กวนประสาท เอาแตใจของโรเจอร และ บทสนทนาโตตอบอยางไมยอมกันกับจีน จนเรียก เสียงหัวเราะออกมาดัง ๆ ไปจนถึงน้ำตาที่รื้นคลออยู ในดวงตา ไหลลงมาอาบแกมบางในบางชวงอยางเงียบ ๆ กับหลายแงมุมในการมีชีวิตอยูของโรเจอร สภาพของ เขาในชวงทายของชีวิตคือคนที่ตองนั่งรถเข็น เดินแตละ กาวเปนไปไดลำบาก ริมฝปากลางมีรูโหวใหญ เพราะไมมีขากรรไกรลาง ตองใหอาหารทางสายยาง แตนั่นไมใชสิ่งที่เรียกน้ำตาจากฉัน ไมไดเปนความรูสึก ที่สงสาร เพราะโรเจอรแสดงใหเห็นถึงมุมมอง ของการ มอบความเปนมิตร มองคนอื่นอยางใหเกียรติ และ เทาเทียม เขาเคารพตัวเอง ในขณะเดียวกันก็เคารพ คนอื่น ใชชีวิตอยางซื่อสัตยตอสิ่งที่ตนเองทำ เขาพยายามที่จะมีชีวิต และ ทำในสิ่งที่รัก แมการมีชีวิต อยูนั้นจะตองอยูกับความเจ็บปวดทางกายอยางมาก แตเขายิ้มอยูเสมอ จนถึงวันสุดทาย ที่เขาบอกออกมา ตรงๆ วา เขาไมไหวแลว และ ภรรยาที่พยายามจะ ยื้อชีวิตไวยอมปลอยเขาไป เปนชีวิตที่สวยงามตั้งแต เริ่มตน จนถึงบั้นปลาย ซึ่งโรเจอรบอกวามันเปนการ จากไปแคชั่วคราวเทานั้น นั่นตางหากที่จับใจ ในฉากนั้น ฉันรับรูถึงความรูสึกของเพื่อน ที่นั่งอยูขาง ๆ ฉันคิดวาฉากนั้นไดปลอบประโลม ใจใหกับเธอ เราไมไดหันมามองหนากัน ตางปลอยให ตัวเองอยูกับความรูสึกที่เกิดขึ้นที่แมจะเหมือน หรือ อาจจะตางกัน แตที่มีที่มาจากที่เดียวกันคือจอ ภาพยนตรที่อยูขางหนา ฉันไมมีบทสรุปใด ๆ ในบทความนี้ เพราะชีวิตยังตองดำเนินของมันตอไป เหมือนกับชื่อของหนังเรื่องนี้ Life Itself

photo: http://eeryelegance.blogspot.com/2011/01/ mandala-circular-symbol-of-wholeness.html

ÊÒÃѵ¶Ð

8


ÊÒÃѵ¶Ð àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ § (2)

àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ § ศิษยเกาหนาใหม

อยางที่รูๆกันวาที่หอจดหมายเหตุทานพุทธทาส (สวนโมกขกรุงเทพฯ) มีสอนโยคะเพื่อเกื้อกูลการปฏิบัติธรรม ทุกพุธกับพฤหัส วันนี้ก็เปนอีกวัน ที่เรามาทำหนาที่สัมภาษณผูเรียน วันนี้เปนผูเรียนวันพฤหัส ที่ตองบอกวาเปนพฤหัสเพราะวา พุธกับพฤหัสเคาสอนตางกัน อาจมีบางคนรูแลว แตที่ยังไมรูก็จะไดรูก็ตอนนี้ละ พุธสอนเฉพาะ “อาสนะ” พฤหัสสอน “อาสนะ” ครึ่งแรกของเวลาทั้งหมด สวนครึ่งหลังสอน “ปราณายามะ” มันก็ประมาณเรื่องลมหายใจอะนะ เขาเรื่องละกัน ผูเรียนคนนี้ เคาคือ “คุณตู” มาดูกันวา คุณตูวาไง เรา : มาฝกโยคะนานยังคะ เคา : ตั้งแตเดือนกุมภาคะ เรา : ของปนี้เหรอคะ เคา : ของปนี้คะ เรา : ทำไมมาฝกละคะ เริ่มจากอะไร เคา : สนใจ อยากดูแลสุขภาพตัวเอง เรา : แลวทำไมถึงเลือกโยคะละคะ เคา : ก็มันเหมาะกะวัยเราอะคะ เรา : ภาพที่รูจักโยคะกอนหนาที่จะมาฝกเมื่อเดือน กุมภาคือเปนยังไง เคา : ไมไดคาดหวังวาภาพจะเปนยังไง แตรูวาโยคะมันอาจจะเปนแบบสตูฯ หรืออาจจะเปนแบบนี้ เรา : แลวไมมีภาพเนี่ย หมายถึงไมรูจักโยคะดวยซ้ำเหรอคะ เคา : รูจักวามันยืดเสนยืดสายกลามเนื้อ แตไมรูวาจะเปนหนักเปนเบา อะไรอยางเงี้ย เรา : แลวก็ ทำไมถึงรูวาที่นี่มีโยคะ เคา : เพราะวามาสวนโมกขเขาปที่ 5 แลว มาทำกิจกรรมอยางอื่นทุกเดือน เรา : แลวในวันที่รูวาสวนโมกขมีโยคะ รูจากอะไรคะ เคา : รูจักแผนโฆษณาของสวนโมกขอะคะ

9

เรา : หมายถึงวาเคาติดอยูแลวเดินไปอาน เคา : ใช แลวก็ที่เคาแจกมีวางอยู อานๆดูก็ เออ มีโยคะดวย เราก็สนใจลองมาดู เรา : จากเดือนกุมภามาถึงตอนนี้เนี่ย ตอเนื่องมั้ยคะ เคา : ตอเนื่องนะ นอกจากมีธุระ แตนอยมากที่ไมไดมา มาแทบทุกครั้ง เรา : แลวมาเฉพาะวันไหนมั้ยคะ เคา : มาทั้งพุธ พฤหัส เรา : เห็นความตางระหวาง 2 วันนี้มั้ยคะ เคา : ก็เห็นนะ เพราะวันพฤหัสก็คือจะชวยในเรื่องของลมหายใจ ซึ่งมันสามารถตอยอดในการที่เราจะไปปฏิบัติธรรมเพิ่ม มากขึ้นได สวนวันพุธเนี่ยเราไดแนๆ ก็คือกลามเนื้อชั้นในไดออกกำลังกาย แลวก็ทำใหเรานอนหลับดีขึ้น กลามเนื้อยืดหยุนดีขึ้น เรา : ออ ปฏิบัติธรรมอยูแลว เคา : ใช จะเห็นความตาง แลวเราก็สามารถเอาไปใชประโยชนในชีวิตประจำวันได “เลยทีเดียว” ตองพูดอยางเงี้ย เรา : โดยฉพาะของวันพฤหัสเหรอคะ เคา : ใช คือคนอื่นไมทราบนะคะ แตตัวเองเนี่ยรูเลยวา อันนี้ของโยคะนะ อันนี้ของพุทธนะ เราสามารถแยกความแตกตางไดจากการที่ฝก เรา : จากการที่เรามาตั้งแตเดือนกุมภาเนี่ยนะคะ


ÊÒÃѵ¶Ð รายละเอียดในความเปนวิถีโยคะเนี่ย ราเห็นอะไรเพิ่มขึ้นจากที่ไมรูเลย เคา : แงไหนละคะ แงรางกายหรือจิตใจ เรา : เอาทั้งสองละคะ ถาคิดวามันไดทั้งสอง เคา : ถาแงรางกายก็คือ เราไดออกกำลังกายเหมาะสมกับวัย (อันนี้เรานึกในใจวา อาว โยคะไมใชการออกกำลังกายนี่นา แตก็แอบคิดตอวา เคาคงไมไดนึกถึงคำอื่น) แลวก็ดานจิตใจก็คือ เรานิ่งขึ้น สงบขึ้น แลวก็มันทำใหเวลาที่เราไปทำอะไรหรือคิดอะไรที่คอนขา งเร็ว มันจะ Down ลง มันเปนไปเองโดยอัตโนมัติถาเราไดฝกบอยๆ นี่ความคิดเห็นสวนตัวนะคะ และอีกอยางถาเราหมั่นสังเกตเราจะรูวามันได เรา : แลวเปนคนชางสังเกตอยูแลวปะคะ เคา : ดวย เรา : แลวรูสึกวาระหวางกายกับใจ ไดอะไรมากกวากัน เคา : ใจเนี่ยมันไดความสงบ และมันตั้งมั่นมากขึ้น ไมขี้หงุดหงิด ไมขี้โมโห มองโลกอยางวางเฉย ไมไดเตนไปตามอารมณของใครและของตัวเองดวย เรา : ความเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นหลังจากที่เราฝก โยคะเหรอคะ

เคา : ดวยสวนนึง โดยพื้นฐานเนี่ยเรามีอยูกอน แลวดวย แตเราไมไดฝกดูลมหายใจ เราฝกดวยวิธีการอื่น แตนี่มาดูลมเพิ่มขึ้น เราก็จะไดอีก Step นึง มันก็จะตอยอดของเราไปดวย เรา : แลวหมายความวา อัตราสวนระหวางกายกับใจ เห็นใจชัดกวารึเปลา เคา : ก็ จริงๆแลวเนี่ย มันแลวแตเหตุการณที่เรา เจอนะ บางทีถาเราเดินอยูก็ดูกายเราไป แตถาเราทำสมาธิ เราก็มาดูใจ ดูลมหายใจ แตวาเวลา อะไรมากระทบเนี่ย มันจะตองดูใจกอน เพราะมัน กระทบที่ใจกอน เราจะรูทันทีเลยอะไรเงี้ย เรา : อยูบานไดฝกเองบางมั้ยคะ หรือเฉพาะที่นี่ เคา : ก็บาง เพราะวาบางทีเราไมไดฝกเปนรูปแบบ บางทีทำงานบาน เราก็ฝกของเราไปดวย เรา : แลวก็ยังคงคิดวา จะยังฝกที่นี่ตอไป เคา : ถาที่นี่จัด ก็จะมาเรื่อยๆ เรา : หลายเดือนที่ผานมา เห็นขอเสียอะไรของ โยคะมั้ยคะ เคา : ขอเสียเหรอ แทบจะไมมีเลยนะ นอกจาก คนที่เคารูสึกวา “ชั้นอยากทำใหได” ถาคิดอยางงั้น ก็ผิดแลวอะ เพราะวา เราไมไดดูตัวเราเลย “ชั้นอยาก ทำได เอ ทำไมคนอื่นทำได ชั้นทำไมไดทานี้” ซึ่งถาคิดแบบนั้นมันก็ไมถูกตองตั้งแตคิดแลว เรา : แลวมีคำแนะนำอะไรที่จะฝากใหเรามั้ยคะ เคา : ก็ดีอยูแลวนะ เพราะครูแตละคนมีเทคนิค ที่ไมเหมือนกัน คนที่ไดประโยชนสูงสุดก็คือผูเรียน ผูเรียนนี่จะไดเทคนิคหลากหลายมาก ซึ่งตรงนี้เปน ขอดีนะ เรา : บางทีนักเรียนอาจจะรูสึกวา เปลี่ยนครูอีกและ เมื่อไหรชั้นจะกาวหนา เคา : ไมใชนะ สำหรับคนอื่นไมรู แตสำหรับตัวเอง นะ ไมใช เพราะความหลายหลายจากประสบการณ ของครูเอง เทคนิคตางๆ ตรงเนี้ยผูเรียนไดประโยชน เยอะ แลวเราก็เอามาปรับสิ ใหเขากับเรา เรา : แปลวา มัน Click กะชีวิตเรา เคา : ใช เรา : มันเอื้อตอการปฏิบัติธรรมจริงๆ เคา : ใช แลวก็จบบทสัมภาษณตรงนี้ แยกยายกันไปปฏิบัติภารกิจ คราวหนา สัมภาษณใครไดอีก มาเจอกันใหมนะ บาย บาย

10


àÃ× ่ Í §¨Ò¡à¾× ่ Í ¹

ÊÒÃѵ¶Ð ¤ÇÒÁµŒ Í §¡ÒÃ·Õ ่ µ ‹ Ò §¡Ñ ¹ (µÍ¹¨º)

ยล(ธรรม)ชาติ

ที่ผูเขียนไดเลาประสบการณในการสอน/ นำฝกที่มีอุปสรรคบาง ที่ผูบริหารในองคกรนึง ตองการ ฝกแนวทางของตนเทานั้น ทั้งที่สมาชิก สวนใหญตองการฝกในอีกแนวทางหนึ่งและยังรวมถึง ขอจำกัดในดานสุขภาพ แตไมมีทานใดกลาแยง ผูเขียนจึงไดปรึกษาหารือกับผูประสานงานที่ไดติดตอ แตแรกวา เราคงตองฟงเสียงของคนสวนใหญ เพราะ การนำโยคะเขาไปปนกิจกรรมเพื่อสุขภาพทางกายและ ใจก็เพื่อมวลสมาชิกพนักงานไมใชหรือ แลวเราจะไม ฟง เสียงสะทอนมาจากพนักงานบางหรืออยางไร ดังนั้น ในคลาสที่เราไดตกลงกันก็คือ ไดแจงกับพนักงานทุกคนวาวันนี้จะนำฝกในอีกรูปแบบ นึง ซึ่งหากทานใดรูสึกวา ไมเหมาะกับรางกาย ของตนก็สามารถพักอยูในอิริยาบถตางๆ ได หากอาสนะทาใดที่คิดวาสามารถทำได ไมกระทบ ตอขอจำกัดของรางกายตนเองก็ลองทำดู ซึ่ง พนักงานทุกทานก็ใหความรวมมือเปนอยางดีโดยฟง เสียงรางกายตนเปนหลัก บางทานก็นอนผอนคลาย บางทานก็ทำอาสนะที่ตนเองชอบ พัก เพราะในการ ทำงานที่เหนื่อยลาตอรางกาย จิตใจและสมอง มาแลวทั้งวันนั้น คราวนี้ในสวนของผูบริหารทานนั้น พอไดฝกตามที่ตนตองการแลว คือ ไดฝกทาที่ยากขึ้น คางนานกวาเดิมและฝกทาเคลื่อนไหวอยางตอเนื่องไม หยุด ซึ่งตางกับคลาสเดิมๆ ที่ฝกแบบมีสลับ ชวง 20 นาทีแรกยังเปนไปไดดวยดี ดูมีพลัง สดชื่น แตหลังจากนั้นแลวเริ่มแสดงออกถึงความเหนื่อยลา เริ่มเคลื่อนไหวไมทัน และคางไดไมนานเพียง 2-3 ลมหายใจก็คลายทาทันที จึงไดเขาไปสอบถาม วาเปนอยางไรบาง ผูบริหารทานนั้นก็แจงวา คงลาไปสำหรับเขา และไดรับรูวาอาสนะ ที่ตนเอง ตองการนั้น อาจไมเหมาะสมกับตนตามที่ปรารถนา เมื่อไดผานประสบการณตรงนี้แลวจึงสามารถยอมรับ ศักยภาพของรางกายตนเองได อีกประการนึงคือ ผูบริหารคงไดเห็นวาชวงขณะที่ฝกนั้น มีเพียงตนเอง ที่ฝกอาสนะแบบนี้ จึงไมสะดวกใจที่มีตนเองไดฝก อยูเพียงคนเดียว และเริ่มฟงผูอื่นมากขึ้น

11

สรุปแลว นคลาสโยคะนี้จึงไดกลับมาฝกและ ดูตาม เสียงสวนใหญเชนเดิม และเรียนรูไปพรอมๆ กัน หากเรายังตองเจอการเรียนการสอนที่ ความตองการที่หลากหลายเชนนี้ หนทางที่จะรวมฝก กันดวยดีมีสุข ก็ตองทำใหมีดุลยภาพเกิดขึ้น ในชั้น เรียนนั้น เปาหมายที่ตองการในการฝกโยคะจึง เปนไปตามวัตถุประสงคที่องคกรนั้นๆ ตองการ


â¤Ðã¹âçàÃÕ Â ¹ÍÁÒµÂ¡Ø Å

แมตัวดี

รวมกลุมฝกโยคะบรรยากาศสบาย บนพื้นที่ ของอาคารอนุบาล รายลอมดวยตนไมใหญหลากหลาย บนสนามทราย วันนี้คุณครูชาวอินเดีย (Teacher Sunil) เปนผูสอนพวกเรา คุณครูผูมีรอยยิ้มแทบตลอด เวลาใหกับทุกคน เริ่มตนดวยการกลาวสวัสดี และ เปดเพลงบรรเลง ตลอดชวงเวลาที่ฝกอาสนะ เพลง บรรเลงหรือเสียงมันตรานี้ เพื่อปรับคลื่นสมอง ใหต่ำลง หรือผอนคลายความตึงรั้งในจิตใจคนเรา เพลงมีหลายทำนองแตทุกทำนองมีเพียงคำ 6 พยางค คือ “บาบา นัม เควาลัม” BABA NAM KEVALAM แปลวา ความรักมีอยูทุกหนแหง (Love is everywhere) เรามีความรักใหกับตัวเองและทุกสรรพสิ่ง ทุกสิ่งที่ฉันเห็น ทุกสิ่งที่ฉันสัมผัส ทุกสิ่งที่ฉันรูสึก ทุกสิ่งที่ฉันไดยินลวนแลวแตเปนสวนหนึ่งของความรัก ความเมตตาที่ยิ่งใหญ คุณครูนำฝกอาสนะหลากหลาย ตั้งแตบริหารขอตอทุกสวนของรางกาย อบอุนรางกาย แลวจึงเขาสูอาสนะตางๆ มีทาตนไม ตนตาล ภูเขา ทานักรบ ทาผีเสื้อ ทาชิงชา โทรศัพท ทาอุมเด็ก ทาคันไถครึ่งตัว ทาตั๊กแตน ทางู ฯลฯ โดยคั่นอาสนะและจบลงดวยทาศพ (ทานอนตาย) เมื่อคุณครูปดเครื่องเลนเทปแลวก็นำ พวกเราลุกยืนขึ้นเพื่อบริหารรางกายตอ คราวนี้พวก เราเปลงเสียงรอง “บาบานัม เควาลัม” พรอมกัน ในขณะที่เคาะปลายฝาเทา บนพื้นซึ่งก็คือบนเสื่อผืน นอยๆ สบายผิวสัมผัสที่ใชเปนอาสนะสำหรับที่นี่ เราสลับปลายเทาซายขวาขณะชูมือขึ้นเหนือศีรษะหรือ พนมมือไวระดับอก เปนการทำสมาธิดวยเสียงเพลง ตาม แนวนีโอฮิวแมนิส ทำให เกิดความสงบในใจ อยางลึกไดโดยงาย เมื่อจบรอบของทำนองเพลงแลว คุณครู นำนั่งฝกสมาธิดวยมันตราดวยเสียงเพลง Celestial Kiirtanหรือเรียกวาการทำคีรตาน (Kiirtan) การฝกเปนกลุมเชนนี้ทำใหเกิดพลังความรักความ เมตตาที่ยิ่งใหญมหาศาล เปนคลื่นสมองต่ำที่รวมกัน แผออกมาเกื้อกูลสรรพสิ่งรอบๆ อาณาบริเวณ แลวจากนั้นเราจะไดรับแจกชุดคำกลาว Supreme Command ของทาน ศรี ศรี อานันดามูรติ (ShriiShriiA’nandamu’rti) เปนคำอธิบาย การทำ สมาธิ แนวคีรตาน หรือการทำสมาธิดวย เสียงเพลง มันตรา

photo: http://www.doujindorm.plaster-studio.com/viewtopic.php?f=14&t=437

ÊÒÃѵ¶Ð

และเพลงภาษาสันสกฤตที่ทางโรงเรียนไดจัดพิมพคำ อานเปนภาษาอังกฤษแปลความหมายเปนภาษาไทยไว อยางประณีต สุดทายคุณครูนำฝกการเตนเกาชิกิ (Kaoshikii) หรือการฝกสติแบบนีโอฮิวแมนนิส เปนการเตนเพื่อพัฒนาทุกระดับจิต ไลตั้งแตจิตสำนึก จิตใตสำนึกและจิตเหนือสำนึกของมนุษย เกาชิกิมา จากคำภาษาสันสกฤตวา kosaแปลวาระดับจิตของ มนุษย เด็กๆ อนุบาลถึงมัธยม เตนกันทุกวัน ผูใหญ อยางเราก็ตองเตนไดเชนกัน...(ลูกวัยอนุบาลของฉัน เรียกอยางมั่นใจในตนเองวา วันนี้หนูเตนเกาสะกิด นำใหเพื่อนดูคะ!...) ถึงบรรทัดนี้ ขอเชิญผูสนใจโยคะ มาลอง สัมผัสโยคะแบบชาวอมาตยกุลไดทุกวันเสาร เวลา 08.00-10.00 น. ฉันเองอยากเรียกวาเปนโยคะ มิตรภาพ ไดสัมผัสบรรยากาศธรรมชาติ การฝกปฏิบัติ โยคะที่ใหคุณคากับรางกายและจิตใจ เพราะเจาของ โรงเรียน ซึ่งก็คืออาจารยเกียรติวรรณ และคุณครูกบ อมาตยกุล เปดใหเขามาเรียนรูมาฝกกัน โดยไมมีคา ใชจาย ดวยเจตนารมณในการพัฒนาและเห็น คุณคา ในตัวมนุษยอาจารยทั้งสองผูมีจิตใจกวางใหญ ใจดียังคงมุงมั่นที่จะสรางเด็ก สรางคนใหดีและเกง สรางสังคมที่งดงามและอบอุนอยางมั่นคงอยูในรั้ว โรงเรียนอมาตยกุลกลางเมืองหลวงนี่เอง

12


ÊÒÃѵ¶Ð âÂ¤Ð¡Ñ º ¡ÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙ Œ µ Ñ Ç àͧ

อโณทัย โสมา รับรูไดดวยตัวเอง จิตใจเบาสบาย ทำใหเรา

ชีวิตตั้งแตวัยเด็กจนถึงวัยปจจุบัน รูสึกวา ชีวิตเรานี่หนอชางเปนอยูแบบกลางๆเสียจริง เกิดเปน ลูกคนกลาง เรียนหนังสือก็ปานกลาง ทำงานและเลี้ยง ตัวเองไดก็แบบกลางๆ สบายๆ ไมเคยประสบปญหา หรือ มีความทุกขอยางแสนสาหัสไมวาจะทางกาย หรือทางใจคิดๆ แลวก็นาพอใจแลวแตในความรูสึกลึกๆ เหมือนขาดอะไรบางอยางเคยถามตัวเองวา“เมื่อเราไม ไดมีปญหาหรือความทุกขอะไรแลวความสุขของเราอยู ไหน”ความคิดนี้ก็ผุดขึ้นมาเปนครั้งคราวจึงเริ่มหา คำตอบใหตัวเองแตยังไมจริงจังนัก (หาแบบกลางๆ อีกนั่นแหละ) ชวงชีวิตหนึ่งดวยหนาที่การงานทำใหตัวเอง มีโอกาสไดเดินทางไปหลายประเทศซึ่งหลายแหงขาด แคลนไปเสียทุกอยาง เห็นผูคนมากมายที่ประสบความ ทุกขยาก ถูกทำรายรางกาย ถูกทอดทิ้ง ไมมีอาหาร จะกิน ไมมีแผนดินที่จะอยู สารพัดของความไมสะดวก ทั้งทางกายและทางใจก็จะเกิดความรูสึกวาเราเกิดมา สบายอยางนี้ยังจะคิดวาขาดอะไรอีก ทั้งสองความ รูสึก ก็ยังผุดขึ้นมาเปนเปนระยะๆ จึงไดเริ่มใสใจที่ จะหาทาง ออกใหตัวเองมากขึ้น ดวยการฝกสมาธิ กรรมฐานภาวนา เดินเทา อานหนังสือ เสาะหาขอมูล หลากหลายพอสมคว ซึ่งก็เหมือนๆจะใชแตก็ยังไมใชทั้งหมด จนกระทั่งไดมีโอกาส เขาเรียนหลักสูตรครู โยคะ กับสถาบันโยคะ วิชาการ ซึ่งเรียนตามตำรา โบราณของปตัญชลีโยคะ เนื้อหา ประกอบดวยการฝก อาสนะฝกปราณ กริยา มุทธาและ พันธะ รวมทั้ง เรียนประวัติความเปนมาของโยคะเสริม ดวยการเรียน กายวิภาคที่ทำใหเห็นวาอวัยวะตางๆ ในรางกายวา ทำงานสัมพันธกันอยางไร พอเรียนไปก็รูสึก เลยวา นี่แหละคือสิ่งที่ทำใหไดคำตอบกับตัวเองเรื่อง ความสุขบรรยากาศหองเรียนที่นี่สนุกมีชีวิตชีวา เปดกวาง อิสระ เต็มไปดวยมิตรไมตรี เปนการเปดโลกทัศนใหม ในเรื่องโยคะไปเลย ที่นี่ทำใหไดรูความหมายแทจริง ของโยคะ และเปาหมายสูงสุดของการฝกโยคะ คือการเขาสู สมาธิเพื่อการหลุดพนในที่สุด การฝก อาสนะเปนการ ประสาน กายและใจไปพรอมๆ กันจิตใจ จดจออยูแตภายใน รางกาย รับรูและยอมรับความจริง ที่เกิดขึ้นกับรางกาย ไมวา จะเปนอาการหนัก ทึบ ตึง โลง เบา สงบ ไมมีการ ฝนหรือบังคับ ไดเทาไหร ก็เทานั้นเมื่อเราฝกอยางตอเนื่อง และสม่ำเสมอ จะเกิดความเปลี่ยนแปลงบางอยางที่เราจะ

13

สามารถจัดการกับอารมณและสถานการณไดดี ความคิดยุงยากซับซอนลดลง เขาใจและยอมรับผูอื่น ไดงายขึ้น รูจักชื่นชมสิ่งเล็กนอยรอบตัว และไมตัดสิน ผูคนรอบขางวาผิดหรือถูกจากมุมมองและความคิดของเรา ตัวดิฉันเองเลนโยคะมานานพอสมควร กับสอง- สามสตูดิโอ รวมทั้งเลนตามซีดี หรือหนังสือ เลนๆ หยุดๆ อยางตอเนื่อง ทุกครั้งที่เลนก็จะรูสึกสบาย เนื้อสบายตัว สดชื่น แลวก็จบเปนครั้งๆ ไป เมื่อตัดสินใจมาเรียนหลักสูตรครูโยคะกับสถาบันโยคะ วิชาการ ผานการฝกอาสนะทาพื้นฐาน 14 ทา ปราณ กริยา พันธะ ของสถาบันโยคะวิชาการ หลังจากจบคายที่ 1 และครูบอกวาใหฝกอาสนะเปน ประจำและตอเนื่อง แลวใหสงบันทึกสั้นๆ วารางกาย และจิตใจเปนอยางไร ดิฉันมีขอดีอยูอยางหนึ่งคือ ถาเรียนหรือฝกอะไรดิฉันจะ ทำตามทุกอยาง หลังจาก การฝกอาสนะ และปราณ อยางตอเนื่องตามแบบ ของสถาบัน ชวงแรกๆ ดิฉันก็จะสังเกตและใหความ สำคัญกับรางกายวาอาสนะ แตละ ทามันเกร็งหรือคลายอยางไร บางครั้งก็หงุดหงิดวา วันนี้ทำอาสนะ ทานี้ แลว ทำไดไมดี หงุดหงิดแบบไมรูวา ตัวเองหงุดหงิด เปนอยางนี้จนถึงสัปดาหที่สี่กอน จะไปคายที่สอง ดิฉันและเพื่อนรวมงานถกเถียงกัน เรื่อง สถานการณ ทางการเมืองและเพื่อนรวมงานก็ปรี้ดแตก ใสดิฉันแบบ ไมยั้ง ชั่วขณะที่ดิฉันไดยินสิ่งที่เธอ พรางพรูออกมา แบบยั้งไมทันนั้นเอง ดิฉันก็รูสึกตัวเหมือน กับมีอีก คนหนึ่ง ซึ่งมองเห็นดูตัวเองอยูวาเธอจะโตตอบ ยังไง แลวก็ตัวดิฉันก็ตอบวาเธอจะตอบโตไปทำไม ก็แค อธิบายสิ่งที่เราตองการบอกเทานั้นเองแลวดิฉันก็ตอบขอโต แยงไปแบบธรรมดามากพูดจบเพื่อนคนนั้นก็นิ่ง และไมพน อะไรตออีก สวนดิฉันก็นิ่งฟงเสียงตัวเอง แตมันไมมีความ โกรธหรือโมโหอยูเลย ซึ่งถาเปน เมื่อกอนดิฉันไมปลอย ใหเธอลอยนวลเด็ดขาด จากวัน นั้นดิฉันก็เริ่มสังเกต ตัวเองมากขึ้น ขอบคุณสถาบันโยคะวิชาการ ที่จัดใหมี โครงการนี้ ถึงแมวาโยคะจะแตกแขนงผิดเพี้ย ไปขอ เดิม มากมายแคไหน ตัวเองยังเชื่อวายังมีผูคนจำนวน ไมนอยที่ ยังแสวงหาหนทางของชีวิต และโยคะสูตร ดั้งเดิมนี้ก็พรอม ที่จะใหผูคนจำนวนนอยเหลานี้คนพบ เพื่อจะนำพาพวกเขา ไปสูเสนทางที่จะสุข สงบและ หลุดพนจากความทุกขรวม ทั้งตนเองที่ไดนอมรับเอา โยคะมาไวเปนสวนหนึ่งของชีวิต แมวาหนทางจะยังหางไกลกับจุดมุงหมายสูงสุดของโยคะก ตาม


ÊÒÃѵ¶Ð

¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ âÂ¤ÐºÑ ¹ ·Ö ¡

กวี คงภักดีพงษ

ปนี้ สถาบันโยคะวิชาการเปดอบรมครูโยคะ เพื่อการพัฒนาจิตหลักสูตร 110 ชั่วโมงตั้งแตปลาย เดือนมกราคมไปถึงกลางเดือนมีนาคม นักเรียนมีทั้ง จากกรุงเทพ และตางจังหวัด มีทั้งนักเรียนที่สนใจเรื่อง สมาธิจริงจังรวมถึงผูที่เปนครูสอนทาโยคะเพื่อสุขภาพที่ สนใจเรื่องโยคะตามตำราดั้งเดิม เราเขาคายกันสี่ครั้ง เปนคาย 3 วันบาง 4 วันบาง ในคายเนนการฝกปฏิบัติ ทาอาสนะพื้นฐาน ฝกควบคุมลมหายใจแบบโยคะ ฝกเทคนิคการกดลอค ที่ชื่อวามุทรา-พันธะ ฝกทำการชำระลางกาย (ใจ) ที่ชื่อวากิริยา ฯลฯ พอจบคาย นักเรียนแยกยาย กันกลับภูมิลำเนา เราฝากการบานใหผูเรียนเขียนบันทึก ประจำวัน โดยกำหนดสงทุกวัน ซึ่งทุกคนมีเฟซบุค มีไลนอยูแลว ทำใหการสงการบานเปนไปอยางสะดวก และทำใหครูคอยดูแลนักเรียนไดตลอดเวลาแมไมไดอยู ใกลกัน ในการบาน เราใหนักเรียนฝกทาโยคะทุกวัน และกำหนดใหนักเรียนบันทึกประสบการณ ความรูสึก ตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำทาโยคะตามแนวทาง ตำรา ดั้งเดิม ใหนักเรียนรูจักที่จะสังเกตตัวเองวาขณะกำลัง ทำทาเกิดอะไรขึ้นกับรางกายบาง กลามเนื้อสวนไหนตึง สวนไหนเจ็บ สวนไหนผอน สวนไหนสบาย ใหคอย สังเกตจนมีทักษะ จนเปนนิสัยไดยิ่งดีเพื่อจะไดเปนคนที่ มีความรูสึกตัวไดตลอดเวลา ทั้งขณะทำทาโยคะและแม ขณะที่ไมไดทำทาดวย เพราะพื้นฐานของการมีสุขภาพ ดีก็คือการรูจักความรูสึกของรางกายนี่เอง ขณะเดียวกัน นักเรียนคนไหนจะบันทึกสภาวะ อารมณในชีวิตประจำวันดวยครูก็ยินดี เพราะโยคะ ไมไดเนนที่กายหากแตเนนที่อารมณ เนนที่จิต การเฝาดู ความเปนไปของอารมณ ของจิตใจในวิถีชีวิต ชวยใหนักเรียนรูจักอารมณของตนเองดีขึ้นกลายเปนวา ยิ่ง ทำการบาน นักเรียนยิ่งบันทึกภาวะอารมณ ยิ่งสนใจเรื่องจิตใจของตนเอง เพราะสวนใหญไมคอย ไดใสใจอารมณ จิตใจของตนเองอยางจริงจังมากอนเลย สิ้นเดือนกุมภาพันธ การอบรมผานไป 1 เดือนเต็มแลว เมื่อดูจากการบาน ผมพบวานักเรียนหลายคนมีความ เปลี่ยนแปลง ไมเพียงรางกายที่สมดุลขึ้นจากการ ทำทาอาสนะ แตรวมถึงภาวะอารมณที่มีความมั่นคง มากขึ้น

บางคนสารภาพตอนแรกไมเขาใจวาฝกโยคะทำไมตอง เขียนบันทึก ครั้นเวลาผานไป จึงพบวาการทบทวน ความรูสึกจาการทำทาอาสนะอยางสม่ำเสมอเพื่อจดลง ในไดอารี่ชวยใหเขาทำทาโยคะไดกาวหนาขึ้นอยางเห็น ไดชัด เพราะไมใชแคสักแตทำแตตองคอยสังเกตความ รูสึก ตางๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อเอามาบันทึก ทำใหเกิดความ รับรูที่ชัดขึ้นเมื่อทำทาเดิมในวันถัดไป รวมไปถึงเรื่อง ของอารมณ ที่การจดบันทึกชวยใหนักเรียนใสใจ กับอารมณตนเองไดดีขึ้น บางคนเขียนวา “หนูไมรูเลย วาหนูมีอารมณแบบนี้ในตัวเองดวย! ซึ่งพอหนูรูแลว หนูก็รูวาตองทำอยางไรกับอารมณนั้น”

14


ÊÒÃѵ¶Ð ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒÃâ´ÂÁÕÃÒÂä´Œ¨Ò¡¤‹Òŧ·ÐàºÕ¹¡Ô¨¡ÃÃÁ ¨Ò¡¡ÒèÓ˹‹Ò¼ÅÔµÀѳ± µ‹Ò§æ Ê¶ÒºÑ¹Ï ÂÔ¹´ÕÃѺ¡ÒÃʹѺʹع¨Ò¡¼ÙŒÃ‹ÇÁʹã¨à¼Âá¾Ã‹ à¾×่͹Óà§Ô¹ÁÒ㪌´Óà¹Ô¹¡ÒÃãËŒºÃÃÅØÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ µÒÁ·Õ่µÑ้§äÇŒ àªÔÞºÃԨҤࢌҺÑÞªÕÍÍÁ·ÃѾ ¸¹Ò¤ÒÃä·Â¾Ò³ÔªÂ ÊÒ¢Òà´ÍÐÁÍÅÅ 3 ÃÒÁ¤Óá˧ ª×่ͺÑÞªÕ ÁÙŹԸÔËÁͪÒǺŒÒ¹ ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒÃàÅ¢ºÑÞªÕ 173-241-6858 ÊÓËÃѺà´×͹ ¡ØÁÀҾѹ¸ 2558 ÁÕ¼ÙŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ้ ºÃÔ¨Ò¤ ¤ÃÙá´§ ³Ñ°ÔÂÒ â¡ÊÔ¹·ÃÒ¹¹· ¤Ãٵٹ ÈÈÔÇÔÁÅ Ç§É ÊÇÑÊ´Ô์ ¤ÃÙູ« Çþ¨¹ ¤§¼ÒÊØ¢ ¤ÃÙᵧ ÇÔªØ´Ò à¡ÕÂõԶ¹ÍÁ ¤Ãٹѹ Ãѵ¹ ¨Ñ¹·Ã à¾็§ ¤ÃÙàºÔà ´ ¸§ªÑ ¨ÑÃѰԵԾѹ¸ ºÃÔ¨Ò¤¤ÅÒÊÊǹâÁ¡¢ ¤ÃÙËÅÔ¹ ¡ÁÅÃѵ¹ ¹ÃàÈÃÉ°¡ÁÅ ¤ÃÙá´§ ¾Ã¨Ñ¹·Ã ¨Ñ¹·¹ä¾ÃÇѹ µÙŒºÃÔ¨Ò¤Êӹѡ§Ò¹

1,750 1,150 391 1,200 730 700 2,070 750 590 412 230 ÃÇÁ

9,973 ºÒ·

µÔ´µ‹ÍʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡Òà â·Ã. 02-732 2016-7 ËÃ×Í 081-401 7744 àǺ䫵 www.thaiyogainstitute.com à¿ÊºØ ¤ www.facebook.com/thaiyogainstitute ** ÊÓËÃѺ·‹Ò¹·Õ่ÃѺ¨ØÅÊÒ÷ҧä»ÃɳÕ ÊÒÁÒö·Ó¡Òõ‹ÍÍÒÂØÊÁÒªÔ¡ä´Œâ´Â¡ÒÃâ͹à§Ô¹à¢ŒÒàÅ¢·Õ่ºÑÞªÕ¢ŒÒ§µŒ¹ (»‚ÅÐ 250 ºÒ·) áÅÐâ»Ã´á¨Œ§¡ÅѺÁÒÂѧʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒÃà¾×่Í·ÃÒº

15


สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคำแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล yoga.thaiyga@gmail.com เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.