Loeitime 41 cc

Page 20

หน้า 20

เปิดฟุตบอล

ฉบับที่ 41 ประจ�ำเดือนพฤษภาคม 2556

“หอการค้ าเลยลี ก 2013”

่ มวลชนแลกธงทีร่ ะลึกกับนายวิฑรู ย์ พัฒนชัยกุล ที่ นายสมพงศ์ อรุณโรจน์ปัญญา ผวจ.เลย น� ำทีมหัวหน ้าส่วนราชการ-สือ ปรึกษาหอการค ้า จ.เลย หัวหน ้าทีมนักธุรกิจ จ.เลย ก่อนการแข่งขันฟุตบอล 7 คนนัดพิเศษ เปิ ดสนามการแข่งขันฟุตบอล “หอการค ้าเลยลีก” ครัง้ ที่ 1 จัดโดยหอการค ้า จ.เลย มีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ให ้ผู ้บริหาร พนักงาน บริษัทห ้างร ้านทีเ่ ป็ นสมาชิก ่ มความสัมพันธไมตรีตอ หอการค ้า จ.เลย ได ้ร่วมออกก�ำลังกาย ให ้มีสข ุ ภาพพลานามัยแข็งแรง สมบูรณ์ และเชือ ่ กัน โดยมี 12 ทีมเข ้าร่วมการแข่งขัน แบบพบกันหมด ทุกวันอังคาร เวลา 18.00 น. เป็ นต ้นไป ทีส ่ นามฟุตบอลหญ ้าเทียม โปรซ ้อคเกอร์.

่ ทีมทีเ่ ข ้าร่วมการแข่งขัน 1.ไฮเทคยนต์ 2.มิตรภูหลวง 3.เมืองเลยยามาฮ่า รายชือ 4.เทศบาลต�ำบลนาอาน 5.ธนาคารกรุงไทย 6.PEA การไฟฟ้ าส่วนภูมภ ิ าค จ.เลย 7.เรือนจ� ำ จ.เลย 8.ฮอนด ้าเมืองเลย 9.กิตติพลโฮมมาร์ท 10.เมืองเลยโตโยต ้า 11.สรรพากรพืน ้ ทีเ่ ลย 12.ซังเตสสไตล์

ดร.อุสาห์ บุญบ�ำรุง นักวิจัยโครงการฯ เปิดเผยว่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช โดยอุทยานแห่ง ชาติภูกระดึง ได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีจัดท�ำโครงการปรับปรุงระบบผลิต ไฟฟ้าแบบผสมผสานด้วยพลังงานสะอาด โดยด�ำเนินการ จัดหาพลังงานไฟฟ้าให้ครอบคลุมทั้งส่วนของอุทยานฯ และร้านค้า บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยววังกวาง เพื่อ ลดปริมาณการใช้น�้ำมันของร้านค้าและของอุทยานฯ โดย ด� ำ เนิ น การจั ด หาพลั ง งานครอบคลุ ม ทุ ก กิ จ กรรมของ อุทยานฯ ในรูปแบบของพลังงานไฟฟ้า ประปา และระบบ น�ำ้ อุน่ โดยการเพิม่ สัดส่วนพลังงานสะอาดและการบริหาร

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยว ยอดนิยมอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ในท้องที่ ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่ 348.12 ตารางกิโลเมตร หรือ 217,575 ไร่ ลักษณะ ภูมปิ ระเทศเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด โดยมีทรี่ าบบนยอด ภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร หรือ 37,500 ไร่ มีความสูงอยูร่ ะหว่าง 400-1,200 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเล การขึ้นภูกระดึง นักท่องเที่ยวต้องใช้วิธีการเดินเท้า ระยะทางไกล 5 กิโลเมตร และเดินบนที่ราบบนยอดภูอีก

โดยได้ ติ ด ตั้ ง แผงโซล่ า เซลล์ และกั ง หั น ลมผลิ ต ไฟฟ้ า ทดแทนการใช้เครือ่ งยนต์ โดยได้เริม่ ด�ำเนินการติดตัง้ และ วิจัยมาตั้งแต่ปี 2553 จนกระทั่งปัจจุบัน ได้เปิดใช้ไฟฟ้าที่ ผลิตจากพลังงานสะอาดแล้ว ซึ่งได้จัดให้มีพิธีเปิดอย่าง เป็นทางการไปเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2556 ที่ศูนย์ บริการนักท่องเทีย่ วบนยอดภูกระดึง มีนายสมพงศ์ อรุณ โรจน์ปญ ั ญา ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเลยเป็นประธานเปิดงาน มี รศ.ดร.ศั ก ริ น ทร์ ภู มิ รั ต น อธิการบดีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นายสมพงษ์ จิราระรื่น ศักดิ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักอุทยานแห่งชาติ และนายฑิต ศักดิ์ สุริยาชัยวัฒนะ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติภูกระดึง รวมถึงนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการร้านค้าร่วมงานด้วย

“ภูกระดึง” อุทยานแห่งชาติสีเขียว

โดยร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นผูศ้ กึ ษาวิจยั และติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้า ซึง่ อุทยานแห่ง ชาติภกู ระดึง เป็น 1 ใน 3 ของอุทยานแห่งชาติทวั่ ประเทศ ทีไ่ ด้รบั เลือกให้ดำ� เนินโครงการนี้ และเป็นอุทยานแห่งแรก ของประเทศไทยที่มีไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานธรรมชาติ ใช้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยจะเป็นต้นแบบ เพื่อขยายผลให้ อุทยานแห่งชาติทวั่ ประเทศทีม่ ปี ญ ั หาเรือ่ งไฟฟ้า ลดการใช้ พลังงานน�้ำมันเชื้อเพลิง และพึ่งพิงพลังงานสะอาดจาก ธรรมชาติให้ได้มากที่สุด ตามนโยบายของรัฐบาล ด้ า นนายสุ ธ รรม ธรรมชาติ ประธานชมรมผู ้ ประกอบการร้านค้าอุทยานแห่งชาติภกู ระดึงกล่าวว่า หลัง จากทางอุ ท ยานฯได้ จ ่ า ยไฟฟ้ า จาก พลังงานสะอาด ท�ำให้มไี ฟฟ้าใช้ตลอด 24 ชั่วโมง การค้าขายสะดวกสบายขึ้นมาก เหมือนตายแล้วเกิดใหม่ จากในอดีตที่ ต้องใช้ไฟฟ้าจากทางอุทยานที่ผลิตจาก เครื่องปั่นไฟฟ้าจ่ายมาให้ แต่ไม่เพียงพอ ผู ้ ป ระกอบการร้ า นค้ า จึ ง ได้ น� ำ เครื่ อ ง ปั่นไฟมาใช้เอง ท�ำให้เกิดเสียงดังมาก ส่ง ผลกระทบให้บางคนถึงขั้นหูเริ่มหนวก แล้ว ขณะเดียวกันต้องสิน้ เปลืองค่าน�ำ้ มัน เบนซินเติมเครื่องปั่นไฟเดือนละ 1,000 - 2,000 บาท การมีไฟฟ้าระบบใหม่จะ ท�ำให้ลดต้นทุนลงไปได้มาก จึงอยากจะ ขอขอบคุ ณ ทางกรมอุ ท ยานฯและ ผู ้ว่าฯเลย , อธิการบดี ม.เทคโนฯพระจอมเกล ้าธนบุรี , ผอ.ส�ำนั กอุทยาน , หัวหน ้า มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า อช.ภูกระดึง ร่วมกันเสียบการ์ดไฟฟ้ า เปิ ดน�้ ำและเปิ ดไฟ ท�ำพิธเี ปิ ดอย่างเป็ นทางการ

พลังงานแดด-ลม ผลิตไฟฟ้าใช้ตลอด 24 ชั่วโมง 3 กิโลเมตร จึงจะถึงจุดพักแรมทีท่ างอุทยานจัด ไว้ให้ จากสภาพพื้นที่ ความยากล�ำบากกว่าจะ เดินทางขึ้นบนยอดภู ไม่มีถนนเหมือนอุทยาน แห่งชาติแห่งอื่นๆ ท�ำให้เป็นอุปสรรคต่อการ ก่อสร้างสิง่ สาธารณูปโภคทีจ่ ะคอยอ�ำนวยความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยว โดยเฉพาะปัญหา กระแสไฟฟ้า ซึ่งที่ผ่านมา ทางอุทยานได้ผลิต กระแสไฟฟ้าจากเครื่องยนต์ดีเซลแจกจ่ายให้ บริการนักท่องเที่ยว และร้านค้าที่ศูนย์บริการ นักท่องเที่ยวบนยอดภู จ�ำกัดเวลาหยุดจ่าย กระแสไฟไว้ที่ 3 ทุม่ ของทุกวัน การผลิตไฟฟ้า ด้วยวิธีนี้ได้เกิดผลเสียหลายประการ ทั้งสิ้น เปลืองค่าน�้ำมันดีเซลปีละประมาณ 27,000 ลิตร คิดเป็นงบประมาณปีละกว่า 800,000 บาท นอกจากนี้ยังท�ำให้เกิดมลพิษทางเสียง รบกวนนักท่องเทีย่ วและสัตว์ปา่ ขณะเดียวกัน ควันไอเสียยังท�ำลายอากาศที่บริสุทธิ์ด้วย จากปัญหาดังกล่าว กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืชจึงได้ร่วมกับมหาวิทยา ลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี จั ด ท� ำ โครงการปรับปรุงระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสม ผสานด้ ว ยพลั ง งานสะอาดอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ภูกระดึง ภายใต้โครงการต้นแบบอุทยานแห่ง ชาติพลังงานสะอาดเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน

แผงโซล่าเซลล์และกังหันลม

หลอดไฟสว่างเกิน 4 ทุม ่

บัตรไฟฟ้ าเติมเงิน

เครือ ่ งปั่ นไฟฟ้ าตัวเก่า

แบตเตอรีเ่ ก็บไฟฟ้ า

จั ด การพลั ง งานให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ผ่ า น ระบบโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก (Microgrids) โดยผู้ใช้บริการ ทั้งผู้ค้า และนักท่องเที่ยวต้อง ช�ำระเงินผ่านบัตรเติมเงิน เหมือนเช่นการเติม เงินโทรศัพท์มือถือ ดร.อุสาห์กล่าวอีกว่า ผลการด�ำเนินงาน ปั จ จุ บั น ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า แบบผสมผสานที่ อุทยานแห่งชาติภกู ระดึงมีความสามารถในการ ผลิ ต พลั ง งานเพิ่ ม ขึ้ น ขนาดก� ำ ลั ง ผลิ ต รวม 105.28 กิโลวัตต์ จ่ายไฟฟ้าได้ 169 กิโลวัตต์ชัว่ โมง/วัน ทีก่ ำ� ลังไฟฟ้าสูงสุด 23 กิโลวัตต์ และ ระบบผลิตน�้ำประปา 150 ลูกบาศก์เมตร/วัน ซึ่งเพียงพอส�ำหรับนักท่องเที่ยวในช่วงฤดูท่อง เทีย่ วกว่า 2,000 คน/วัน นอกจากนีย้ งั มีการติด ตั้งสาธิตระบบผลิตน�้ำอุ่นพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาดก�ำลังการผลิต 600 ลิตร/วัน ส�ำหรับนัก ท่องเที่ยวประมาณ 40 คน/วัน ซึ่งหากการ ด�ำเนินการเป็นที่น่าพอใจ ก็จะสามารถลดการ ใช้นำ�้ มันจากเครือ่ งยนต์กำ� เนิดไฟฟ้า และเครือ่ ง สูบน�ำ้ ดิบส�ำหรับผลิตน�ำ้ ประปาได้ปลี ะ 10,000 ลิตร จากเดิมต้องใช้ปีละ 27,000 ลิตร นายสมพงษ์ จิราระรืน่ ศักดิ์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กล่าวว่า กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื ได้ใช้งบประมาณ ในการด�ำเนินโครงการนี้จ�ำนวน 10 ล้านบาท

ดร.อุสาห์ บุญบ�ำรุง

นายสมพงษ์ จิราระรืน ่ ศักดิ์

นายสุธรรม ธรรมชาติ และสมาชิกชมรมผู ้ประกอบการร ้านค ้าฯ

ธนบุรีที่เข้ามาท�ำโครงการนี้จนส�ำเร็จ นายสุธรรมกล่าว การด�ำเนินโครงการนี้จึงนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญ ของการพัฒนาอุทยานแห่งชาติสีเขียว ด้วยกลไกพลังงาน สะอาด ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ใน การน�ำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ และท�ำให้ ระบบผลิตไฟฟ้าที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึงมีความมั่นคง ในการผลิตและจ่ายพลังงานเพิ่มขึ้น ที่ส่งผลโดยตรงต่อ คุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่อุทยานฯ หรือนักท่องเที่ยวที่ดี ขึน้ และทีส่ ำ� คัญยังน�ำไปสูก่ ารท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนอีกด้วย.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.