สารพันเรื่องราวน้ำมันหล่อลื่น ชุดที่4

Page 1

ชุดที่ 4


นํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น เครื่ อ งยนต์ (อั ง กฤษ: motor oil,engine oil) หรื อเรียกกัน โดยทั่วไปว่า นํ้า มัน หล่ อ ลื่ น หรือ นํ้ามันเครื่อง ประกอบไปด้วย 2 ส่วนที่สำ�คัญคือ นํ้ามัน พื้นฐาน และสารเพิ่มคุณภาพ นํ้ามันเครื่องมีหน้าที่ลดแรง เสี ย ดทานของวั ต ถุ ชิ้ นที่ เ สี ย ดสี กั น ระบายความร้ อ นของ เครื่องยนต์ เคลือบช่องว่างระหว่างผิวสัมผัส ทำ�ความสะอาด เขม่าและเศษโลหะภายในเครื่องยนต์ ป้องกันการกัดกร่อน จากสนิมและกรดต่างๆ และป้องกันกำ�ลังอัดของเครื่องยนต์ รั่วไหล เป็นต้น การผลิต แหล่งที่มาของนํ้ามันพื้นฐานที่ใช้ทำ�มันเครื่องมี 3 แหล่งคือ นํ้ามันที่สกัดจากพืช นํ้ามันที่สกัดจากน้ำ�มันดิบ นํ้ า มั น สั ง เคราะห์ นํ้ า มั นชนิ ด นี้ จ ะให้ คุ ณ ภาพของ นํ้ามันเครื่องที่ดีที่สุด นํ้ามันหล่อลื่น Lube Oil , Lubricating Oil ผลิตภัณฑ์ ที่ได้จาก การกลั่น นํ้ามันดิบ มีช่วงจุดเดือดระหว่าง 380-500 องศา เซลเซียส และเติมสารเพิ่มคุณภาพต่างๆ ในปริมาณเล็กน้อย เพื่อปรับปรุงสมบัติให้เหมาะสมสำ�หรับใช้งานหล่อลื่นแต่ละ อย่าง เช่น ความหนืดโดยเยื่อบางๆ หรือเนื้อครีม ของนํ้ามัน หล่อลื่นจะเคลือบอยู่ระหว่างผิวของชิ้นส่วน 2 อย่าง ซึ่งส่วน ใหญ่เป็นชิ้นส่วนโลหะที่มีการเคลื่อนไหวผ่านไปมา ทำ�หน้าที่ ป้องกันการเสียดสีกันโดยตรง ขณะเดียวกันจะช่วยทำ�ความ สะอาด และระบายความร้อน โดยช่วยระบายความร้อนจาก เครื่องยนต์ได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ แอดดิทีฟอื่นๆ ที่มักผสมลง ไปด้วย ได้แก่ สารป้องกันสนิม และการกัดกร่อน

มาตรฐานนํ้ามันเครื่อง มาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมยานยนต์ (Society of Automotive Engineer : SAE) ใช้ระบุความหนืด (ความ ข้นใส) ของนํ้ามันเครื่อง ค่ายิ่งมากก็ยิ่งมีความหนืดมาก โดย แบ่งน้ำ�มันเครื่องออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ เกรดเดียว (monograde) คือนํ้ามันเครื่องที่มีค่า ความหนืดค่าเดียว เช่น SAE 40 หมายความว่า ณ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นํ้ามันจะมีค่าความหนืดอยู่ที่ เบอร์ 40 เกรดรวม (multigrade) คือนํ้ามันเครื่องที่มีค่าความ หนืด 2 ค่า เช่น SAE 20W-50 หมายความว่า ในอุณหภูมิ -25 องศาเซลเซียส นํ้ามันจะมีค่าความหนืดอยู่ที่ เบอร์ 20 แต่เมื่ออุณหภูมิสูงถึง 100 องศาเซลเซียส จะเปลี่ยนค่าความ หนืดเป็น เบอร์ 50 อักษร “W” ใช้เป็นตัวบ่งบอกว่าค่าความหนืดนี้เป็น เกรดฤดูหนาว (วัดที่ -25 องศาเซลเซียส) หากไม่มีจะเป็น เกรดฤดูร้อน (วัดที่ 100 องศาเซลเซียส) มาตรฐานของสถาบั น ปิ โ ตรเลี ย มอเมริ กั น (The American Petroleum Institute : API) ใช้ระบุประเภท ของเครื่องยนต์ และสมรรถนะในการปกป้องชิ้นส่วนของ เครื่องยนต์ สำ�หรับเครื่องยนต์เบนซินใช้อักษร “S” (spark ignition) เช่น SA SC SD SE SF SG SH SI SJ SL SM SN ส่วนเครื่องยนต์ดีเซลใช้อักษร “C” (compress ignition) เช่น CD CB ... CF4 บางครั้งเราอาจเห็นทั้ง “S” และ “C” มาด้วยกัน เช่น SG/CH4 หมายถึง นํ้ามันเครื่องนี้ เหมาะสำ�หรับการใช้กับเครื่องยนต์เบนซิน แต่ก็สามารถใช้กับ เครื่องยนต์ดีเซลได้ในระยะสั้น หรือ CH4/SG ก็จะกลับกัน กับกรณีข้างต้นคือเหมาะสำ�หรับการใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลแต่ ก็สามารถใช้กับเครื่องยนต์เบนซินได้ในระยะสั้น





ปัจจุบันเห็นมีการโฆษณากันมาก เรื่องเครื่องเปลี่ยน ถ่ายนํ้ามัน เกียร์อัตโนมัติ บอกว่าดีกว่าการเปลี่ยนถ่าย ใน ศูนย์บริการทั่วไป เพราะถ่ายได้หมดจดกว่ากัน แต่ราคามัน แพง จึงอยากถามถึงความจำ�เป็น ในการถ่ายนํ้ามัน เกียร์ อัตโนมัติ และหากจำ�เป็นควรใช้วิธีไหน

ดังนั้นหากเห็นว่านํ้ามันเก่าที่ไหลออกมา มีความสกปรก ปะปนอยู่มาก ก็ให้นำ�รถไปวิ่งใช้งานสักพักหนึ่ง แล้วนำ�รถไป เปลี่ยน ถ่ายนํ้ามันเกียร์อัตโนมัติอีกครั้งหนึ่ง ในขณะที่นํ้ามัน เกียร์ยังอุ่นๆ อยู่ และหากรถยนต์รุ่นนั้นๆ มีกรองนํ้ามันเกียร์ อัตโนมัติ แบบที่สามารถถอดออกมาทำ�ความสะอาดได้ ก็ให้ ถอดกรองออกมาล้าง ทำ�ความสะอาด ด้วยทุกครั้ง หรือถ้าเป็น แบบ ล้างไม่ได้ก็ต้องเปลี่ยนกรองทุกครั้ง ในคนที่มีความรู้เรื่อง เครื่องยนต์อยู่บ้าง สามารถเปลี่ยน ถ่ายนํ้ามันเกียร์ อัตโนมัติ ด้วยตนเอง ให้สะอาดหมดจดได้ไม่ยากนัก ด้วยวิธีการที่ผม จะแนะนำ�ต่อไปนี้คือ หาตำ�แหน่ง ที่ติดตั้ง ระบบระบายความ ร้อน นํ้ามันเกียร์อัตโนมัติ หรือที่เรียกกันว่า ออยล์คูลเลอร์เกียร์ อัตโนมัติ

เรื่องการเปลี่ยนถ่ายนํ้ามันเกียร์อัตโนมัตินั้น ผมขอ เรียนให้ทราบก่อนว่า ระยะเวลาที่สมควร ทำ�การเปลี่ยนถ่าย แต่ละครั้ง ก็คือ ประมาณ 25,000 ถึง 35,000 กิโลเมตรแล้ว แต่สภาพการใช้งาน และสภาพทางที่วิ่ง เช่นใช้งานในเมือง ที่การจราจรติดขัดมากๆ เกียร์มีการเปลี่ยนไปมาบ่อยๆ และ มีความร้อนในนํ้ามันเกียร์มาก ก็ควรเปลี่ยนถ่ายที่ระยะทาง 25,000 กิโลเมตร หรือหากต้องวิ่งผ่านทางที่เป็นฝุ่นมากๆ หรือผ่านทางที่นำ�้ ท่วมขัง ก็ควรเปลี่ยนถ่ายที่ระยะทางไม่เกิน จากนั้นก็ดูว่าสายยางเส้นไหน เป็นเส้นที่ส่งนํ้ามันเข้าออ 25,000 กิโลเมตร ยล์คูลเลอร์ เส้นไหนเป็นเส้นที่ส่งนํ้ามันออกจาก ออยล์คูลเลอร์ เมื่อพบแล้วให้ถอดสายยาง ส่วนที่ออกจากออยล์คูลเลอร์ของ เช่นเดียวกัน แต่หากผ่านทางที่นํ้าท่วมขังเกินกว่า นํ้ามันเกียร์อัตโนมัติ แล้วติดเครื่องยนต์ขึ้นมา ไม่ต้องเร่งเครื่อง ครึ่งล้อ ก็ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำ�มันเกียร์อัตโนมัติทันที ที่ผ่านทาง คอยดูว่านํ้ามันเกียร์อัตโนมัติ ไหลออกมาจากสายยางดังกล่าว นํ้าท่วมนั้นมาแล้ว แต่หากคุณใช้รถยนต์เกียร์อัตโนมัติ ใน จนหมดเริ่มเห็นฟองอากาศ ก็ให้ดับ เครื่องยนต์แล้ว สวมสาย พื้นที่ซึ่งรถไม่ติด การจราจรปลอดโปร่ง เช่น ใช้ในจังหวัด ที่มี ยางกลับไป อย่างเดิมให้แน่นหนา จากนั้นก็เติมนํ้ามันเกียร์ อากาศเย็น อย่างลำ�พูน หรือแพร่ คุณก็สามารถยืดระยะการ อัตโนมัติเข้าไปตามปริมาณ หากเห็นว่า นํ้ามันเกียร์ อัตโนมัติ เปลี่ยนถ่ายน้ำ�มันเกียร์อัตโนมัติไปได้ถึง 35,000 กิโลเมตร แต่ ไม่ค่อยไหลออกมา ให้ดึงเบรกมือรถเอาไว้ให้แน่น เหยียบเบรก ทั้งนี้และทั้งนั้นหากคุณเป็นคนใช้รถยนต์น้อย ผมแนะนำ�ว่า ให้สนิท แล้วโยกคันเกียร์ไปมา ระหว่างตำ�แหน่ง N ไป D สลับ ไม่ควรเกินสองปี ก็ควรเปลี่ยนนํ้ามัน เกียร์อัตโนมัติ แล้วครับ ไปมาเบาๆ จนเห็นนํ้ามันเกียร์ไหลออกมาหมด เมื่อเติมนํ้ามัน การเปลี่ยนถ่ายนํ้ามันเกียร์อัตโนมัตินั้น ต้องให้ช่าง ตามศูนย์ เกียร์อัตโนมัติเข้าไปแล้ว ให้นำ�รถออกไปวิ่งใกล้ๆ อย่างนุ่มนวล บริการรถยนต์นั้นๆ หรือช่าง ในศูนย์เปลี่ยนถ่าย นํ้ามันเครื่อง แล้วกลับมาวัดระดับนํ้ามันเกียร์อัตโนมัติใหม่ อีกครั้งหนึ่ง หาก ที่มีความรู้เรื่อง เกียร์อัตโนมัติเป็นผู้ทำ�การให้ โดยปกติแล้ว เห็นว่าระดับนํ้ามัน เกียร์ตํ่ากว่า ระดับมาตรฐานก็เติมลงไปให้ เมื่อถอดนอตที่ก้นแคร้ง เพื่อทำ�การเปลี่ยนถ่าย นํ้ามันเกียร์ ถูกต้อง เท่านี้ก็เสร็จเรื่องครับ อัตโนมัติออกมา นํ้ามันเกียร์อัตโนมัติจะไหลออกมา ประมาณ ครึ่งหนึ่ง หรือไม่เกินสองในสาม ของนํ้ามันเกียร์อัตโนมัติ ทั้งหมดในระบบ


ความหมายของเกรดนํ้ามันเครื่องที่อยู่ข้างกระป๋อง ส่วนนํ้ามันเครื่องชนิดเกรดรวม (Multi Viscosity นั้นมีความสำ�คัญต่อการใช้งานของเครื่องยนต์เราสามารถ หรือ Multi Grade) นั้นทาง SAE ไม่ได้เป็นผู้กำ�หนดมาตร แบ่งเกรดนํ้ามันเครื่องออกได้สองประเภทด้วยกันดังนี้ ฐานของนํ้ามันเกรดรวม แต่เกิดจากการที่ผู้ผลิต สามารถ ปรับปรุงโดยใช้สารเคมีเข้ามาผสมจนสามารถทำ�ให้นํ้ามัน -แบ่งตามความหนืด เครื่องนั้น ๆ มีมาตรฐานเทียบเท่ากับมาตรฐานของ SAE ทั้ง -แบ่งตามสภาพการใช้งาน สองแบบได้เพื่อให้เกิดความหลากหลายใน การใช้ ง านตามสภาพภู มิ ป ระเทศที่ มี อุ ณ หภู มิ ต่ า ง การแบ่ ง เกรดนํ้ า มั น เครื่ อ งตามความหนื ด แบบนี้ กันมาก การผสมสารปรับปรุงคุณภาพนั้นแตกต่างกันมาก จะเป็นที่คุ้นเคยและใช้กันมานานแล้ว และเป็นมาตรฐานที่ น้ อ ยตามความต้ อ งการในการใช้ ง าน ไม่ ว่ า จะเป็ น เกรด ใช้อ้างอิงของอีกหลายสถาบันที่ตั้งขึ้นมาทีหลังอีกด้วย พูด 5W-40 หรือ 15W-50 แต่การแบ่งเกรดของนํ้ามันเครื่อง ถึง มาตรฐาน “SAE” คงจะรู้จักกันมาตรฐานนี้ก่อตั่งโดย ตามความหนืดที่เราเรียกกันเป็นเบอร์นี้สามารถบอกได้แค่ “สมาคมวิศวกรยานยนต์” ของอเมริกา (Society of Auto- ช่วงความหนืดเท่านั้นแต่ไม่ได้บ่งบอกถึงระดับในการใช้งาน motive Engineers) การแบ่งเกรดของนํ้ามันเครื่อง แบบ ของเครื่องยนต์แต่ละประเภท ต่อมาในประมาณปี 1970 นี้จะแบ่งเป็นเบอร์ เช่น 30,40,50 ซึ่งตัวเลขแต่ละชุดนั้น SAE,API และ ASTM (American Society for Testจะหมายถึงค่าความข้นใสหรือค่าความหนืดของนํ้ามันหล่อ ing and Masterials) ได้ร่วมมือกันกำ�หนดการแยก นํ้ามัน ลื่น โดยน้ำ�มันที่มีเบอร์ตํ่าจะใสกว่าเบอร์สูง ตัวเลขที่แสดง เครื่องตามสภาพการทำ�งานของเครื่องยนต์เพื่อให้สอดคล้อง อยู่นั้นจะมาจากการทดสอบที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส กับเทคโนโลยี่เครื่องยนต์ที่พัฒนาขึ้น เราจึงเห็นได้เห็นจาก หมายความว่าที่อุณหภูมิทำ�การทดสอบ นํ้ามันเบอร์ 50 จะมี ข้างกระป๋องบรรจุ ตัวอย่างเช่น การบอกมาตรฐานในการใช้ ความหนืดมากกว่าน้ำ�มันเบอร์ 30 เป็นต้น งานไว้ API SJ/CF และมีค่าความหนืดของ SAE 20W-50 ควบคู่กันไปด้วยแสดงว่านํ้ามันเครื่องชนิดนี้สามารถใช้กับ นํ้ามันที่มีตัว “W” ต่อท้ายนั้นย่อมาจากคำ�ว่า Winter เครื่องยนต์เบ็นซินได้เทียบเท่า เป็นนํ้ามันเครื่องที่เหมาะสำ�หรับใช้ในอุณหภูมิตํ่า ยิ่งตัวเลข น้อยยิ่งมีความข้นใสน้อย จะวัดกันที่อุณหภูมิตํ่า -18 องศา เกรด SJ ถ้าใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลจะเทียบเท่าเกรด เซลเซี ย สนํ้ า มั น เบอร์ 5W จะมี ค วามข้ น ใสน้ อ ยกว่ า เบอร์ CF ที่ค่าความหนืด SAE 20W-50 15W นั่นหมายความว่าตัวเลขสำ�หรับเกรดที่มี “W” ต่อท้าย เลขยิ่งน้อย ยิ่งคงความข้นใสในอุณหภูมิที่ติดลบมาก ๆ ได้ การกำ�หนดมาตราฐานของนํ้ามันเครื่องตามสภาพ เหมาะสำ�หรับใช้งานในประเทศที่มีภูมิอากาศหนาวเย็นมาก การใช้งานนั้น สามารถแบ่งมาตรฐานของนํ้ามันเครื่องโดย อย่างเกรด 0W นั้นสามารถคงความข้นใสได้ถึงประมาณ อ้างอิงสถาบันใหญ่ได้หลายสถาบันเช่น -30 องศาเซลเซียส เกรด 20 W สามารถคงความข้นใสได้ ถึงอุณหภูมิประมาณ -10 องศาเซลเซียส นํ้ามันเครื่องทั้งสอง -สถาบั น “API” หรื อ สถาบั น ปิ โ ตรเลี ย มแห่ ง เกรดนี้เรียกว่า “นํ้ามันเครื่องชนิดเกรดเดียว” (Single Vis- สหรัฐอเมริกา cosity หรือ Single Grade) -สถาบัน “ACEA” (เดิมเรียก CCMC) เกิดจากการ


รวมตัวของสมาคมผู้ผลิตยานยนต์ในตลาดร่วมยุโรป -สถาบัน “JASO” เกิดจากการรวมตัวของสถาบัน กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต รถยนต์ ใ นประเทศญี่ ปุ่ น จะเห็ น ได้ ว่ า แต่ เดิ ม สถาบัน API

ใช้ในเครื่องยนต์รุ่นใหม่ -SC สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง คศ. 1964-1967 โดยมีคุณภาพสูงกว่ามาตรฐาน SB เล็ก น้อย เช่น มีสารควบคุมการเกิดคราบเขม่า

ซึ่งเคยมีบทบาทมากในอดีต และเป็นสถาบันที่กลุ่มผู้ -SD สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง ผลิตรถยนต์ทั่วโลกยอมรับ ปัจจุบันในกลุ่มประเทศยุโรปและ คศ. 1968-1971 โดยมีสารคุณภาพสูงกว่า SC และมีสาร ญี่ปุ่นก็ได้มีการออกมาตรฐานขึ้นมาเป็นของตนเองเช่นกัน เพิม่ คุณภาพมากกว่า SC คำ�ว่า “API” ย่อมาจาก “American Petroleum Institute” หรื อ สถาบั น ปิ โตรเลี ย มแห่ ง อเมริ ก าซึ่ ง จะแบ่ ง เกรดนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ นตามสภาพการใช้ ง านเป็ น สองประเภท ใหญ่ ๆ ตามชนิดของน้ำ�มันเชื้อเพลิงที่ใช้ก็คือ

-SE สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง คศ. 1971-1979 มีสารเพิ่มคุณภาพเพื่อเพิ่มสมรรถนะให้สูง กว่า SD และ SC และยังสามารถใช้แทน SD และ SC ได้ดี กว่าอีกด้วย

-”API”ของเครื่ อ งยนต์ ที่ ใ ช้ นํ้ า มั น เบ็ น ซิ น เป็ น เชื้อเพลิงใช้สัญลักษณ์ “S” (Service Stations Classifications) นำ�หน้า เช่น SA, SB, SC, SD, SE, SF, SG, SH, และ SJ

-SF สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เ บ็ น ซิ น ที่ ผ ลิ ต ระหว่ า ง คศ. 1980-1988 มีคุณสมบัติป้องกันการเสื่อมสภาพสามารถ จะทนความร้อนสูงกว่า SE และยังมีสารชำ�ระล้างคราบเขม่า ได้ดีขึ้น

-”API”ของเครื่องยนต์ที่ใช้นํ้ามันดีเซลเป็นเชื้ิอเพลิง ใช้สัญลักษณ์ “C” (Commercial Classifi-cations) นำ�หน้า เช่น CA, CB, CC, CD, CD-II, CF, CF-2, CF-4, และ CG-4

-SG เริ่มประกาศใช้เมื่อเดือนมีนาคม คศ.1988 มี คุณสมบัติเพิ่มขึ้นกว่ามาตรฐาน SF โดยเฉพาะมีสารป้องกัน การสึ ก หรอ สารป้ อ งกั น การกั ด กร่ อ น สารป้ อ งกั น สนิ ม สารป้ อ งกั นการเสื่ อ มสภาพเนื่ อ งจากความร้ อ น และสาร ชะล้าง-ละลาย และย่อยเขม่าที่ดีขึ้น

เรามาดูนํ้ามันเครื่งที่ใชนํ้ามันเบ็นซินเป็นเชื้อเพลิงกัน ก่อนจะใช้สัญลักษณ์ “S” และตามด้วยสัญลักษณ์แทนนํ้ามัน -SH เริ่มประกาศใช้เมื่อปี คศ.1994 เนื่องจากบริษัท เกรดต่าง ๆ ที่แบ่งได้ตามเกรดดังต่อไปนี้ ผู้ผลิตเครื่องยนต์ได้มีการพัฒนาเครื่องยนต์อย่างรวดเร็วมี ระบบใหม่ ๆ ในเครื่องยนต์ที่ถูกคิดค้นนำ�เข้ามาใช้ เช่น ระบบ -SA สำ�หรับเครื่องยนต์เบ็นซินใช้งานเบาไม่มีสาร Twin Cam, Fuel Injector, Multi-Valve, Variable Valve เพิ่มคุณภาพ Timing และยังมีการติดตั้งระบบแปรสภาพไอเสีย (Cata -SB สำ�หรับเครื่องยนต์เบ็นซินใช้งานเบามีสารเพิ่ม lytic Convertor) เพิ่มขึ้น คุณภาพเล็กน้อย และสารป้องกันการกัดกร่อนไม่แนะนำ�ให้


-SJ เป็นมาตรฐานสูงสุดในปัจจุบัน เริ่มประกาศใช้ เมื่อ คศ.1997 มีคุณสมบัติทั่วไปคลายกับมาตรฐาน SH แต่ จะช่วยประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงได้ดีกว่ามีค่าการระเหย ตัว (Lower Volatility) ตํ่ากว่าทำ�ให้ลดอัตราการกินนํ้ามันเครื่อง ลงและมีค่าฟอสฟอรัส (Phosphorous) ที่ตํ่ากว่าจะช่วยให้ เครื่องกรองไอเสียใช้งานได้นานขึ้น

-CD-II สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ ดี เซล 2 จั ง หวะ เริ่ ม ประกาศใช้เมื่อปี 1988 ส่วนใหญ่เป็นเครื่องยนต์ดีทรอยด์ ซึ่ง ใช้ในกิจการทางทหาร

-CE สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ ที่ ติ ด ซุ ป เปอร์ ช าร์ จ หรื อ เทอร์โบที่ใช้งานหนัก และรอบจัดเริ่มประกาศใช้ คศ.1983 มีคุณภาพสูงกว่า CD ป้องกันการกินนํ้ามันเครื่องได้อย่างดี สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลจะใช้สัญลักษณ์ “C” (Com- เยี่ยม mercial Classifications) และตามสัด้วยสัญลักษณ์ที่แทน ด้วยนํ้ามันเกรดต่าง ๆ โดยจะแบ่งตามลักษณะเครื่อง -CF เป็ น มาตรฐานสู ง สุ ด ในเครื่ อ งยนต์ ดี เซลใน ยนต์ที่ใช้งานแตกต่างกัน ปัจจุบัน สำ�หรับเกรดธรรมดา (Mono Grade) เริ่มประกาศ ใช้เมื่อ คศ. 1994 เหมาะสำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลทุกชนิด ไม่ -CA สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้งานเบา เหมาะ ว่าจะใช้ งานหนักหรือเบา สามารถใช้แทนในมาตรฐานที่รอง สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลที่ผลิตขึ้นระหว่าง คศ. 1910-1950 มี ๆ ลงมา เช่น CE, CD, CC ได้ดีกว่าอีกด้วย สารเพิ่มคุณภาพเล็กน้อย เช่น สารป้องกันการกัดกร่อน สาร ป้องกันคราบเขม่าไปเกาะติดบริเวณลูกสูบผนังลูกสูบและ -CF-2 สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลรุนใหม่ 2 จังหวะเริ่ม แหวนน้ำ�มัน ประกาศใช้เมื่อปี 1994 ส่วนใหญ่เป็นเครื่องยนต์ดีทรอยด์ ซึ่ง ใช้ในกิจการทางทหาร -CB สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลธรรมดา งานเบาปาน กลาง มาตรฐานนี้เริ่มประกาศใช้เมื่อ คศ. 1949 มีคุณภาพสูง -CF-4 สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลรุ่นใหม่ 4จังหวะที่ กว่า CA โดยสารคุณภาพดีกว่า CA ติดซุปเปอร์ชาร์จหรือเทอร์โบที่ใช้งานหนักและรอบจัด เริ่ม ประกาศใช้เมื่อปี 1990 เป็นนํ้ามันเครื่องเกรดรวม สามารถ -CC สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ ที่ ติ ด ซุ ป เปอร์ ช าร์ จ หรื อ ป้ อ งกั น การกิ น นํ้ า มั น เครื่ อ งได้ ดี เ ยี่ ย ม -CG-4 สำ�หรั บ เทอร์โบ มาตรฐานนี้เริ่มประกาศใช้เมื่อ คศ. 1961 ซึ่งมี เครื่องยนต์ดีเซลรุ่นใหม่ 4จังหวะซึ่งเป็นมาตรฐานสูงสุดในใน คุณภาพสูงกว่า CB โดยเพิ่มคุณสมบัติในการป้องกันคราบ ปัจจุบัน เริ่มประกาศใชปี 1996 เป็นน้ำ�มัน เครื่องเกรดรวม เขม่า มีสารป้องกันสนิมและกัดกร่อน ไม่ว่าเครื่องยนต์จะ ร้อนหรือเย็นจัดก็ตาม มาตรฐานนํ้ามันเครื่อง ACEA ย่อมาจาก The Association des Constructeurs Europeens d’Automobile -CD สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ ที่ ติ ด ซุ ป เปอร์ ช าร์ จ หรื อ หรือเป็นทางการว่า European Automobile Manufarturer’ เทอร์โบที่ใช้งานหนัก และรอบจัดเริ่มประกาศใช้ คศ.1955 มี Association สมาคมผู้ผลิตยานยนต์ในตลาดร่วมยุโรบซึ่ง คุณภาพสูงกว่า CC ได้แก่ ALFA ROMEO, BRITISH LEYLAND, BMW, DAF, DAIMLER-BENZ, FIAT, MAN, PEUGEOT, POR


SCHE, RENAULT, VOLKSWAGEN, ROLLS-ROYCE, และ VOLVO ได้มีการกำ�หนดมาตรฐานโดยเริ่มใช้อย่างเป็น ทางการเมื่อ 1 มกราคม 1996 โดยยกเลิกมาตรฐาน CCMC ไปเนื่องจาก ACEA มีสถาบันเข้าร่วมโครงการมากกว่าและมี ข้อกำ�หนดที่เด่นชัด

รถยนต์ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเเป็นกลุ่มที่มีบทบาทมากขึ้นใน ปัจจุบัน ต่อมาเรียกรวมเป็นมาตรฐาน ISO โดยเเบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

-เครื่องยนต์เบนซิน JSE (ISO-L-EJGE) เทียบพอๆ กับมาตรฐาน API SE หรือ -มาตรฐานสำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ เบนซิ น (Gasoline CCMC G1 โดยเน้นป้องกันการสึกหรอบริเวณวาล์วเพิ่มขึ้น (Petron) Engines) JSG (ISO-L-EJDD) เทียบกับมาตรรฐานสูงกว่า API SG A 1-96 มาตรฐานที่ใช้สำ�หรับเครื่องยนต์เบ็นซินทั่ว หรือ CCMC G4 โดยเน้นป้องกันการสึกหรอบริเวณวาล์ว ไป เพิ่มขึ้นไปอีก A 2-96 มาตรฐานพิเศษสูงขึ้นไปอีก A 3-96 มาตรฐานสูงสุดสำ�หรับเครื่องยนต์เบ็นซินใน -เครื่องยนต์ดีเซล ปัจจุบัน JASO CC (ISO -L-EJDC) โดยกำ�หนดว่าต้องผ่านการ ทดสอบโดยเครื่องยนต์นิสสัน SD 22 เป็นเวลา 50 ชั่วโมง -มาตรฐานสำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก (Light เทียบได้กับ API CC เป็นอย่างตํ่า Duty Diesel Engines) JASO CD (ISO -L-EJDD) โดยกำ�หนดว่าต้องผ่านการ B 1-96 มาตรฐานที่ใช้สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลขนาด ทดสอบโดยเครื่องยนต์นิสสัน SD 22 เป็นเวลา 100 ชั่วโมง เล็กทั่วไป เทียบได้กับ API CD เป็นอย่างตํ่า B 2-96 มาตรฐานพิเศษสูงขึ้นไปอีก B 3-96 มาตรฐานสูงสุดสำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซล มาตรฐานนํ้ามันเครื่องแห่งกองทัพสหรัฐ ขนาดเล็กในปัจจุบัน มาตรฐาน MIL-L-2104 เป็นมาตรฐานของนํ้ามัน หล่อลื่นที่กำ�หนดขึ้นสำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลและเบ็นซิน มี -มาตรฐานสำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลขนาดใหญ่ รายละเอียดดังนี้ (Heavy Duty Diesel Engines) MIL-L-2104 A ถูกกำ�หนดขึ้นเมื่อปี 1954 สำ�หรับ E 1-96 มาตรฐานที่ใช้สำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลขนาด เครื่องยนต์ดีเซลที่มีกำ�มะถันต่ำ�และเครื่องยนต์เบ็นซินทั่ว ๆ ใหญ่ทั่วไป ไปเปรียบได้กับมาตรฐาน API CA/SB ปัจจุบันยกเลิกไปแล้ว E 2-96 มาตรฐานพิเศษสูงขึ้นไปอีก E 3-96 มาตรฐานสูงสุดสำ�หรับเครื่องยนต์ดีเซลใน MIL-L-2104 B กำ�หนดใช้เมื่อปี 1964 สำ�หรับนํ้ามัน ปัจจุบัน หล่อลื่นทีมีสารเพิ่มคุณภาพด้านการป้องกันการเกิดอ๊อกซิเดชั่ นและป้องกันสนิม เทียบได้กับมาตรฐาน API CC/SC มาตรฐานนํ้ามันเครื่อง JASO ย่อมาจาก Japanese Automobile Standard Organization หรือ กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต MIL-L-2104 C กำ�หนดใช้เมื่อปี 1970 สำ�หรับนํ้ามัน


หล่อลื่นที่ใช้กับเครื่องยนต์ที่มีรอบสูงมาก ๆ และการใช้ งานหนัก มีสารป้องกันคราบเขม่า ป้องกัน การสึกหรอ และป้องกันสนิม เทียบได้กับมาตรฐาน API CD/ SC

สำ�หรับมาตรฐานนํ้ามันเครื่องที่รู้จัก ก็คือมาตรฐาน “API” และ “SAE” ซึ่งนํ้ามันเครื่องจากผู้ผลิตส่วนใหญ่มัก จะแจ้งมาคู่กันบางยี่ห้อจะบอกค่าดัชนีความหนืดของ “SAE” อย่างเช่น 5W-30, 15W-40 เป็นต้นและจะมีค่ามาตรฐาน ที่บอกสมรรถนะของนํ้ามันเครื่องกระป๋องนั้นเป็นมาตรฐาน MIL-L-2104 D กำ�หนดใช้เมื่อปี 1983 เหมาะสำ�หรับ “API” เช่น SE, SF, SG, CC, CD, CE เป็นต้น เครื่องยนต์ดีเซลและเบ็นซิน 4 จังหวะ ที่มีประสิทธิภาพสูงใช้ งานหนัก เทียบได้กับมาตรฐาน API CD/SC ดังนั้นการเลือกใช้นํ้ามันเครื่องก็ไม่ควรฟุ่มเฟือยโดย ใช่เหตุ เลือกใช้ให้เหมาะกับรถก็พอแต่ควรจะเลือกใช้ค่าความ MIL-L-2104 E กำ�หนดใช้ เมื่ อ ปี 1988 เหมาะ หนืดให้เหมาะสมกับสภาพอากาศและอาศัยการเปลี่ยนถ่ายที่ กั บ เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลและเบ็ น ซิ น 4 จั ง หวะ รุ่ น ใหม่ ที่ มี เหมาะสมแก่เวลา ส่วนการเลือกใช้นํ้ามันสังเคราะห์นั้นมันก็ ประสิทธิภาพสูงใช้งานหนัก เทียบได้กับมาตรฐาน API CF/ ดีที่ช่วยยืดอายุเครื่องยนต์ได้อีกทางแต่มันไม่ค่อยเหมาะสมกับ SG รถที่ใช้งานธรรมดาจะเหมาะกับพวกชอบใช้รอบเครื่องยนต์ มาตรฐาน MIL-L-46152 เริ่มกำ�หนดใช้เมื่อปี 1970 สูง ๆ ขับซิ่ง ๆยิ่งในเศรษฐกิจแบบนี้ต้องไม่จ่ายแพงกว่า และ เป็นมาตรฐานน้ำ�มันเครื่องยนต์ดีเซลและเบ็นซิน การเปลี่ยนถ่ายนํ้ามันเครื่องทุกครั้งก็ควรที่จะเปลี่ยนไส้กรอง MIL-L-46152 A เริ่ ม ใช้ เ มื่ อ ปี 1980 สำ�หรั บ นํ้ามันเครื่องควรคู่กันไปด้วย เครื่องยนต์ดีเซลและเบ็นซินทั่วไป เทียบได้กับมาตรฐาน API SE/CC MIL-L-46152 B กำ�หนดใช้เมื่อปี1981เป็นการรวม มาตรฐาน MIL-L-2104 Bเทียบได้กับมาตรฐาน API SF/CC MIL-L-46152 C กำ�หนดใช้ เมื่ อ ปี 1987 โดย ปรับปรุงจากมาตรฐาน MIL-L-46152 B เพราะมีการเปลียน แปลงวิธีการวัดจุดไหลเทใหม่ MIL-L-46152 D เป็นมาตรฐานที่ปรับปรุงมาจาก MIL-L-46152 C เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการ ทดสอบเครื่องยนต์ และมีคุณสมบัติป้องกันการเกิด อ๊อกซิเดนชั่นดีขึ้นกว่าเดิม เทียบได้กับมาตรฐาน API SE/CD MIL-L-46152 E มาตรฐานล่ า สุ ด เที ย บได้ กั บ มาตรฐาน API SG/CE


นํ้ามันหล่อลื่นสูตรสังเคราะห์ได้ออกแบบมาเพื่อทำ� นี้ทำ�ให้สามารถหล่อล่นได้ดีที่อุณหภูมิสูง ,ลดการสึกหรอของ หน้าที่สารหล่อลื่น แต่มันทำ�ได้มากกว่านั้นอย่างมาก ถ้าเราใช้ โลหะ การฉีกขาด รวมทั้งทำ�ให้เครื่องยนต์สะอาด เครื่องยนต์ นํ้ามันเครื่องแบบปกติ ลองคิดดูว่า เราต้องใช้ทรัพยากรมาก จึ ง ทำ�งานได้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากกว่ า บางครั้ ง นํ้ า มั น สู ต ร แค่ไหน ทั้งยังต้องมีต้นทุนที่สูงมากอีกด้วย ดังนั้นนํ้ามันหล่อ สั ง เคราะห์ ถู ก นำ�มาผสมกั บ แบบธรรมดาเพื่ อ ทำ�ให้ ร าคาถู ก ลื่นสุดยอดชนิดนี้สามารถประหยัดเงินคุณในเวลาที่ยาวกว่า เรียกว่า การเบลนด์ อย่างไรก็ดี ในขณะที่สูตรผสมกับสูตร ธรรมดาเป็นสารหล่อลื่นที่มีความสามารถทั้งคู่ ทำ�ให้ไม่ทราบ หน้าที่หลักของนํ้ามันเครื่อง คือ ให้การหล่อลื่นใน ว่าสูตรไหนทำ�หน้าที่ได้ดีกว่ากัน ดังนั้น เพื่อประสิทธิภาพที่ดี ขณะที่เครื่องยนต์ทำ�งาน และเคลื่อนไหวส่วนประกอบต่างๆ ที่สุดต่อการปกป้องเครื่องยนต์ โปรดเลือกนํ้ามันสูตรสังเคราะห์ ที่เป็นโลหะ การเสียดสีกันของโลหะเหล่านี้ทำ�ให้เกิดความ เพื่อรถของคุณ ร้อนที่สูงมากจนทำ�ให้เกิดความเสียหายได้ สารหล่อลื่นจึงจะ เข้ามามีบทบาท โดยการทำ�ให้โลหะต่างๆ สามารถเคลื่อนไหว ได้อย่างนุ่มนวล และเกิดการกระทบกันน้อยลงซึ่งจะลดการ สึกกร่อนและความร้อนด้วย ซึ่งน้ำ�มันเครื่องปกติสามารถ ทำ�ได้ดีแตนํ้ามันเครื่องสูตรสังเคราะห์ทำ�ได้ดีกว่ามาก สารหล่อลื่นมี 3 ประเภท นั่นคือ ของเหลว (นํ้ามัน), ของหนืด (จารบี) และของแข็ง (กราไฟต์) ทั้งสามอย่าง นี้ ได้ ม าจากพื ช ผั ก , แร่ ธ าตุ หรื อ สารสั ง เคราะห์ อย่ า งไร ก็ตาม วั ต ถุ ดิ บ สามส่วนดังกล่า วใช้เพื่อ การหล่อ ลื่น ทำ�ให้ เครื่องยนต์ทำ�งานได้ดี แต่ไม่ได้ป้องกันความร้อนที่จะเกิด อย่างรวดเร็ว,ติดไฟง่าย ,ระเหยง่าย หรือรวมตัวกันได้ง่าย เพื่อป้องกันข้อบกพร่องดังกล่าว สารหล่อลื่นทุกตัวจึงต้องเติม สารเติมแต่งที่สามารถนำ�พาสิ่งสกปรกต่างๆ ออกไป อย่างไร ก็ตาม น้ำ�มันหล่อลื่นสูตรสังเคราะห์ผลิตขึ้นเพื่อขจัดปัญหา ต่างๆ ให้หมดไป โดย ด้วยการทำ�ให้มีคุณสมบัติความหนืดที่ เหนือกว่านํ้ามันแร่ธรรมชาติ โดยทำ�ให้โครงสร้างของโมเลกุล ที่ยาวขึ้นเหมาะกับเครื่องยนต์ที่ต้องการประสิทธิภาพสูง ท่ามกลางข้อดีของน้ำ�มันสูตรสังเคราะห์ ซึ่งได้แก่ ฟิ ล์ ม นํ้ า มั นที่ แข็ ง แรงภายใต้ อุ ณ หภู มิ สู ง ๆ (นํ้ า มั นธรรมดา ฟิ ล์ ม นํ้ า มั น บางและขาดจากกั น ) และยั ง คงสภาพเหลวที่ อุณหภูมิตํ่า (นํ้ามันธรรมดาจะเริ่มเหนียว) คุณสมบัติเหล่า


นํ้ามันหล่อเย็น (Cutting Fluid) คืออะไร Metalworking Fluid (MWF) หรือนํ้ามันหล่อเย็น เป็นชื่อเรียกกลุ่มของเหลว ส่วนมากเป็นพวกนํ้ามัน ที่ใช้ใน การหล่อลื่นหรือเพื่อลดความร้อนและการเสียดสี เมื่อทำ�การ ตัด, เจียร, บดโลหะ ช่วยให้ไม่เกิดความร้อนมากจนไฟไหม้ หรือควันขึ้น หรือเกิดประกายไฟ ช่วยให้ขอบหน้าของโลหะ ที่ตัดมีความเรียบเนียน และช่วยให้เศษผงโลหะที่เกิดขึ้นจาก การตัดหลุดออกไปได้ง่ายขึ้น นํ้ามันหล่อเย็น (Cutting Fluid) นํ้ามันหล่อเย็นมีหน้าที่หลัก 4 ประการ คือ 1. ระบายความร้อน นํ้ามันตัดกลึงโลหะมีหน้าที่ระบายความร้อนออกจาก บริเวณใบมีดและชิ้นงานเพื่อไม่ให้ใบมีดสูญเสียความแข็ง หรืออ่อนตัว อันเนื่องมาจากความร้อน ป้องกันไม่ให้เกิดการ หลอมติดของเศษโลหะที่ปลายใบมีด ( BUE ) ทำ�ให้สามารถ ทำ�งานตั ด กลึ ง ได้ เร็ ว ชิ้ นงานได้ ข นาดและคุ ณ ภาพผิ ด ตาม ต้องการ 2. หล่อลื่นลดแรงเสียดทาน นํ้ามันตัดกลึงโลหะทำ�หน้าที่หล่อลื่นลดแรงเสียทาน ระหว่าง ระหว่างชิ้นงานกับใบมีด รวมทั้งเศษโลหะที่เคลื่อนที่ ผ่านหน้าใบมีด การตัดกลึงใช้กำ�ลังน้อยลง ลดการสึกหรอของ ใบมีดช่วยป้องกันการเกิดปัญหาการหลอมติดของเศษโลหะที่ ปลายใบมีด ( BUE )

3. ซะล้างและพาเศษโลหะ นํ้ า มั นตั ด กลึ ง โลหะทำ�หน้ า ที่ ในการชะล้ า งและพา เศษโลหะที่เกิดจากการตัดเฉือนออกไปจากบริเวณตัดเฉือน และชิ้นงาน 4. ป้องกันสนิม นํ้ า มั นตั ด กลึ ง โลหะทำ�หน้ า ที่ ป้ อ งกั น สนิ ม ให้ แ ก่ ชิ้ น งานที่ถูกตัดเฉือนใหม่ ซึ่งผิวโลหะส่วนนี้มักไวต่อการเกิดสนิม มากและยังทำ�หน้าที่ป้องกันสนิมให้แก่เครื่องจักรและราง แท่น (Slideways) ด้วยนํ้ามันหล่อเย็น นํ้ามันหล่อเย็นที่ดีควรมีคุณลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ - มีอัตราการระบายความร้อนที่ดี - มีคุณภาพการหล่อลื่นที่ดี - ป้องกันการเกิดสนิม - มีความเสถียรมาก เพื่อให้ใช้งานได้นาน - ป้องกันการเกิดกลิ่นเหม็น - ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ - ไม่ข้นจนเกินไป ทำ�ให้ผู้ใช้มองเห็นชิ้นงานได้ง่ายใน ขณะที่ปฏิบัติงาน - ความหนืดน้อย เพื่อให้ชะล้างเศษผงโลหะออกไป ได้ง่าย - ไม่ติดไฟ


ถ้ า คุ ณ เลื อ กที่ จ ะเปลี่ ย นนํ้ า มั น เครื่ อ งด้ ว ยตั ว คุ ณ เอง คุณจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการกำ�จัดของเสียในที่ ที่เหมาะสมด้วย การสัมผัสนํ้ามันเครื่องที่ใช้แล้ว ไม่เพียงแต่ อาจเกิดอันตรายต่อสุขภาพของคุณ แต่ยังทำ�ให้เกิดมลพิษต่อ สิ่งแวดล้อมด้วย การทิ้งนํ้ามันเครื่องในถังขยะ, อ่างล้างจาน หรือแม่นํ้าลำ�คลองนั้น เป็นการกระทำ�ที่ผิดกฎหมาย แม้แต่ การเททิ้งบนดินก็ผิดกฎหมายเช่นกัน นํ้ามันเครื่องที่ใช้แล้วเพียงครั้งเดียว อาจจะดูแล้ว เหมือนว่าไม่มีอันตรายใดๆ แต่แท้ที่จริงแล้วไม่ใช่เลย นํ้ามัน ใช้แล้วเพียงหนึ่งแกลลอนทำ�ให้นํ้าหนึ่งล้านแกลลอนเสียได้ ซึ่งนํ้าจำ�นวนนั้นเท่ากับการบริโภคนํ้าดื่มของคนจำ�นวน 50 คนต่อปี แม้แตนํ้ามันเพียงกรวยเดียว ก็สามารถปกคลุมทั่ว สนามฟุตบอลเลยทีเดียว เมื่อคุณทราบว่าจะสร้างความเสีย หายได้มากเท่าไร ก็ควรที่จะกำ�จัดนํ้ามันดังกล่าวด้วยวิธีที่ เหมาะสม การทิ้งในท่อนํ้าทิ้งไม่ใช่วิธีที่ถูกต้อง เพราะท่อนํ้า ทิ้งจะพาเอานํ้ามันเครื่องที่ปนอยู่ในนํ้าทิ้งไปสู่โรงบำ�บัดนํ้าซึ่ง ทำ�ให้การบำ�บัดยากขึ้น, ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น,ใช้เวลามากขึ้น การ ฝัง-กลบใต้ดินจะทำ�ให้ของเสียซึมลงสู่แหล่งน้ำ�ได้ ก่อให้เกิด อันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในนํ้า อย่างไรก็ดี เรามีทั้งข่าวดีและร้าย ข่าวดีก็คือ เรา สามารถที่ จ ะนำ�เอานํ้ า มั น เครื่ อ งที่ ใช้ แ ล้ ว หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ตัว กรองนํ้ามัน กลับมาใช้ใหม่ได้ นํ้ามันเครื่องที่ใช้แล้วนั้น สามารถที่จะนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ในหลายรูปแบบ ทั้งนํ้ามัน เชื้ อ เพลิ ง และนํ้ า มั น หล่ อ ลื่ น นั บ ว่ า เป็ นการช่ ว ยประหยั ด พลังงานและปกป้องสิ่งแวดล้อมอีกทางหนึ่ง ส่วนข่าวร้ายคือ เราหาที่ที่จะยอมรับและขนส่งนํ้ามันเครื่องที่ใช้แล้วของคุณ ไปทำ�การรีไซเคิลได้ค่อนข้างยาก

ด้ ว ยปั ญ หานี้ ทำ�ให้ ก ารเปลี่ ย นนํ้ า มั น เครื่ อ งเอง กลับกลายเป็นเหมือนฝันร้าย การทิ้งนํ้ามันเครื่องเป็นล้านๆ แกลลอนนั้น ซึ่งเราไม่รู้ว่าควรทิ้งที่ไหนได้บ้าง เป็นการดีที่ สถาบันปิโตรเลียมอเมริกัน (API) ได้เข้ามาให้ความช่วยเหลือ โดยมีเวบไซต์ที่ชื่อว่า www.recycleoil.org ซึ่งถือว่าเป็น แหล่งข้อมูลในการทิ้งนํ้ามันเครื่องใช้แล้วอย่างไร และที่ไหน ได้อย่างเหมาะสมในบริเวณที่คุณอยู่อาศัย ภายในเว็บจะให้ รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับอันตราย และผลกระทบที่อาจเกิด ขึ้นกับสิ่งแวดล้อม


นํ้ามันปิโตรเลียมดิบ หรือนํ้ามันดิบ (Crude Oil) มี องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และ ยังมีโลหะหนัก กำ�มะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจนปะปน อยู่ ทำ�ให้มีสีหลากหลายทั้งเหลือ เขียว นํ้าตาล ดำ� และมี ความหนืดตั้งแต่เหลวเป็นนํ้า จนหนืดเป็นยางมะตอย การนำ� นํ้ามันดิบใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงต้องนำ�ไปผ่านกระบวนการ แยกสารประกอบต่างๆ ออกมาที่เรียกว่า การกลั่น (Refining)

• บนบก เช่น แหล่งอำ�เภอฝาง จ.เชียงใหม่ แหล่ง สิริกิติ์ จ.กำ�แพงเพชร แหล่งกำ�แพงแสน จ.นครปฐม และ แหล่งอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี • ในทะเลอ่าวไทย เช่น แหล่งนางนวล เบญจมาศ จัสมิน ฯลฯ ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงที่ได้จากการกลั่นนํ้ามัน 1.ส่วนที่เบาที่สุดอยู่ในรูปของก๊าซ ในอุณหภูมิและ บรรยากาศธรรมดา ได้แก่ ก๊าซหุงต้ม 2.ส่วนที่หนักขึ้น สามารถกลั่นตัวเป็นของเหลวใน อุณหภูมิและบรรยากาศธรรมดา เรียกว่า “ส่วนกลั่น” (Distillate) ได้แก่ นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันก๊าด นํ้ามันดีเซล และ นํ้ามันเตา 3.ส่วนที่หนักที่สุดไม่ระเหยเป็นไอในหอกลั่น เรียกว่า กากกันหอกลั่น (Residue) ซึ่งเมื่อนำ�ไปผ่านกระบวนการแปร รูปอื่นๆ อีก ก็จะได้ ยางมะตอย นํ้ามันดิน และไข เป็นต้น

กระบวนการกลั่นนํ้ามัน การกลั่ น นํ้ า มั น คื อ การแยกนํ้ า มั น ดิ บ ออกเป็ น ส่ ว นต่ า งๆ ที่ มี ช่ ว งจุ ด เดื อ ดใกล้ เคี ย งกั น เช่ น ก๊ า ซหุ ง ต้ ม นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบิน นํ้ามันก๊าด เป็นต้น กระบวนการกลั่นอาจแตกต่างออกไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ประการ เช่น คุณสมบัติของนํ้ามันดิบที่นำ�มากลั่น ชนิดและ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ เทคโนโลยีของกระบวนการ ที่ใช้ กระบวนการกลั่นโดยทั่วไปจะประกอบด้วยกรรมวิธี สำ�คัญ ดังนี้ การแยก (Separation) เป็ น การแยกส่ ว นทางกายภาพ ซึ่ ง มั ก ใช้ วิ ธีก ลั่ น ประเทศไทยผลิตนํ้ามันดิบได้เองภายในประเทศเพียง ลำ�ดับส่วน (Fractional Distillation) โดยนำ�นํ้ามันดิบที่แยก ร้อยละ 15 จึงนำ�เข้าจากต่างประเทศถึงร้อยละ 85 จากแหล่ง นํ้าและเกลือแร่ออกแล้ว ผ่านเตาเผาความร้อน 340-385 ต่างๆ อาทิ องศาเซลเซียส นํ้ามันดิบส่วนหนึ่งจะเดือดเป็นไอไหลเข้าไป • ตะวั น ออกกลาง เช่ น ประเทศซาอุ ดิ อ าระเบี ย ในหอ กลั่นบรรยากาศ แล้วไอจะเย็นลงกลายเป็นของเหลว โอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อยู่ในถาดหลายสิบชั้นในหอกลั่นซึ่งอยู่ชั้นใดจะขึ้นกับช่วงจุด • ตะวันออกไกล เช่น ประเทศบรูไนดารุสซาลาม เดือดของนํ้ามันส่วนนั้นเรียงลงมาจากยอด ของเหลวในถาด ประเทศมาเลเซี ย สำ�หรั บ แหล่ ง นํ้ า มั นดิ บ ในประเทศไทย เหล่านี้จะไกลออกมาตามท่อทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ “กลั่นตรง” ประกอบด้วย (Straightrun)


การเปลี่ยนโครงสร้าง (Conversion) เป็ นการใช้ ก รรมวิ ธีท างเคมี เนื่ อ งจากผลิ ต ภั ณฑ์ “กลั่นตรง” อาจมีคุณภาพไม่ดีพอ จึงต้องเปลี่ยนโครงสร้าง ของนํ้ามัน ซึ่งทำ�ได้โดยทำ�ให้โมเลกุลของส่วนหนักแตกตัว เป็นนํ้ามันเบาด้วยความร้อน ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือใช้ก๊าซ ไฮโดรเจนช่วย หรือรวมโมเลกุล หรือจัดรูปโมเลกุลใหม่ใช้ใน การเพิ่มค่าออกเทนซึ่งเป็นค่าที่บอกคุณภาพในการต้านทาน การน็อกสำ�หรับน้ำ�มันเบนซิน

หรือเอทิลแอลกอฮอล์ ฯลฯ เราเรียกพลังงานประเภทนี้ว่า พลังงานทดแทน (Alternative Energy)

นํ้ามันแก๊สโซฮอล์ แก๊สโซฮอล์ (Gasohol) เป็นนํ้ามันที่ได้จากการนำ� เอทานอล มาผสมกับ นํ้ามันเบนซิน โดยทั่วไปเอทานอลที่ใช้ ผสมต้องมีความบริสุทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.5 ซึ่งสามารถ ใช้ทดแทนนํ้ามันเบนซินพิเศษไร้สารตะกั่ว ออกเทน 95 ได้ ทันที โดยไม่ต้องรอให้นํ้ามันหมดถัง และผู้ใช้ไม่ต้องปรับแต่ง การปรับคุณภาพ (Treating) เครื่องยนต์นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่น การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพที่ สำ�คั ญ ได้ แ ก่ การขจั ด สหรัฐอเมริกาและบราซิล กำ�มะถันออกจากนํ้ามัน โดยใช้ก๊าซไฮโดรเจนทำ�ปฏิกิริยากับ สารกำ�มะถันในนํ้ามัน และใช้สารเร่งปฏิกิริยาเข้าช่วยเปลี่ยน นํ้ามันดีโซฮอล์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งนอกจากคุณภาพจะดีขึ้นแล้ว ยัง ดี โซฮอล์ (Diesohol) เป็ นนํ้ า มั นที่ ได้ จ ากการนำ� ช่วยให้นํ้ามันมีสีและกลิ่นที่ดีขึ้นด้วย เอทานอล มาผสมกับ นํ้ามันดีเซลและสารเติมแต่งประเภท อี มั ล ซิ ไ ฟเออร์ (Emulsifier) สารซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ทำ�ให้ การผสม (Blending) แอลกอฮอล์กับนํ้ามันผสมเข้ากัน สามารถนำ�ไปใช้เป็นเชื้อ คือการนำ�ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการต่างๆ แล้ว เพลิงให้กับรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซลได้ มาปรุ ง แต่ ง หรื อ เติ ม สารที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สำ�เร็จรูปตามมาตรฐานที่กำ�หนด เช่น ผสมนํ้ามันเบนซินเพิ่ม เอทานอล คืออะไร ค่าออกเทน หรือผสมนํ้ามันเตาที่ข้นเหนียวกับนํ้ามันเตาที่เบา เอทานอลเป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง (C2H5OH) ที่ กว่า เพื่อให้ได้ความหนืดตามต้องการ เป็นต้น ได้จากการนำ�พืชผลทางการเกษตรใช้เป็นวัตถุดิบและนำ�ไป ผ่านกระบวนการย่อยสลายและหมัก เปลี่ยนจากแป้งและ พลังงานทดแทน นํ้าตาลเป็นแอลกอฮอล์ เอทานอลนี้มีคุณสมบัติที่สามารถ นอกจากเชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล แล้ ว เราสามารถใช้ ใช้ เป็ น เชื้ อ เพลิ ง เช่ น เดี ย วกั บ นํ้ า มั น เบนซิ น และดี เซล โดย พลังงานจากแหล่งอื่นๆ อาทิ ไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ชีว สามารถนำ�ไปใช้ทดแทนนํ้ามันได้โดยตรง หรือ นำ�ไปผสม มวล น้ำ� แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ลม และเอทานอล ในนํ้ามัน และเนื่องจากเอทานอลมีส่วนผสมของออกซิเจน


จึงมีคุณสมบัติที่ใช้เป็นสารเติมออกซิเจน และเพิ่มค่าออกเทน ในนํ้ามันเชื้อเพลิงได้อีกด้วย และส่วนที่เหลือจากการเผาไหม้ จะมีปริมาณออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่าเอทานอลเป็น เชื้อเพลิงสะอาดชนิดหนึ่ง

เพื่อแสวงหาเชื้อเพลิงที่สะอาด สามารถทดแทนเชื้อเพลิง ปิโตรเลียม โดยวัตถุดิบที่ได้รับความสนใจ ได้แก่ นํ้ามันปาล์ม และนํ้ามันมะพร้าว เนื่องจากมีความเป็นไปได้ในด้านปริมาณ และด้านเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนานำ�นํ้ามันพืช ต่างๆ มาผสมโดยตรงกับน้ำ�มันดีเซล อาทิ นำ�ปาล์มบริสุทธิ์ นํ้ามันไบโอดีเซล มาผสมกับนํ้ามันดีเซล หรือ ที่เรียกว่า นํ้ามันดีเซลปาล์ม ไบโอดีเซล (Biodiesel) เป็นเชื้อเพลิงที่ได้จากนํ้ามัน บริสุทธิ์ (Refined palm diesel) พืช นํ้ามันสัตว์ โดยผ่านกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า การ เปลี่ยนให้เป็นเอสเตอร์ (Transsterification) สารเอสเตอร์ ปตท. ได้ ส นองพระราชดำ�ริ ฯ ด้ ว ยการร่ ว มกั บ เป็ น สารประกอบที่ เ กิ ด ขึ้ นจากปฏิ กิ ริ ย าระหว่ า งกรดและ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทำ�การวิจัยพัฒนาและ แอลกอฮอล์ โดยในการผลิตจะผสมนํ้ามันพืชหรือนํ้ามันสัตว์ ปรั บปรุ ง คุ ณภาพนํ้ า มั นดี เซลปาล์ ม บริ สุ ท ธิ์ จนสามารถใช้ กับเอทานอลหรือเมทานอล ทั้งนี้กระบวนการผลิตมีหลาย กับรถยนต์ดีเซลของโครงการส่วนพระองค์ฯ รวมทั้งเปิดจำ� วิธี อาทิ การใช้กรด ด่าง หรือเอนไซม์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา หน่ายนํ้ามันดีเซลปาล์มบริสุทธิ์ให้กับประชาชน โดยผสมนํ้า เกิดเป็นสารเอสเตอร์ ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับนํ้ามันดีเซล มันปาล์มบริสุทธ ิ์ไม่เกินร้อยละ 10 โดยปริมาตร ทั้งนี้ในปี ใช้ เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในเครื่ อ งยนต์ ดี เซลได้ โดยไม่ ต้ อ งปรั บ แต่ ง พ.ศ.2544 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ทรงจดสิ ท ธิ เครื่องยนต์ บั ต รการใช้ นํ้ า มั น ปาล์ ม กลั่ น บริ สุ ท ธิ์ เป็ น เชื้ อ เพลิ ง สำ�หรั บ เครื่ อ งยนต์ ดี เซล กั บ กรมทรั พ ย์ สิ นทางปั ญ ญา กระทรวง วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ไบโอดี เซลของแต่ ล ะประเทศ พาณิชย์ จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและปริมาณพืช นํ้ า มั นที่ ป ลู ก ในแต่ ล ะพื้ นที่ ได้ แ ก่ ยุ โรปนิ ย มใช้ เมล็ ด เรพ ระบบการขนส่งปิโตรเลียม (ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อการหล่อลื่น และสบู่) และเม็ดดอก นํ้ า มั น และก๊ า ซธรรมชาติ โดยเฉพาะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทานตะวัน สหรัฐอเมริกานิยมผลิตนํ้ามันพืชจากถั่วเหลือง สำ�เร็จรูปมีมากมายหลายชนิดและแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตก ข้าวโพด ฝ้าย ทานตะวัน ฯลฯ การผลิตและจัดจำ�หน่ายไบโอ ต่างกัน ทำ�ให้ต้องแยกภาชนะในการขนส่ง เพื่อมิให้ผลิตภัณฑ์ ดีเซลนั้น เป็นที่ยอมรับจากอุตสาหกรรมผู้ผลิตรถยนต์และผู้ แต่ละชนิดปะปนกัน เหตุผลประการหนึ่งก็เนื่องมาจากคุณ ค้านํ้ามัน และได้รับความสนใจมากขึ้นโดยลำ�ดับ สมบัตนํ้ามันและก๊าซ ซึ่งบางชนิดระเหยเร็วและไวไฟ ดัง นั้นภาชนะและพาหนะ รวมทั้งวิธีการที่ใช้ในการขนส่งต้อง นํ้ามันดีเซลปาล์มบริสุทธิ์ ได้รับการออกแบบ และมีมาตรการเป็นพิเศษเพื่อเพิ่มความ ประเทศไทยได้มีการวิจัยและพัฒนานํ้ามันไบโอดีเซล ปลอดภัยในการขนส่งลำ�เลียง ทั้งนี้สามารถแบ่งระบบการ


ขนส่งปิโตรเลียมออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้

เป็นช่องๆ ตามแนวขวาง ซึ่งนอกจากจะเป็นการเพิ่มความ แข็งแรงของถังและลดแรงกระแทกของนํ้ามันในถังแล้ว ยัง การขนส่งปิโตรเลียมทางเรือบรรทุก (Tanker & Barge) จะช่วยให้สามารถชนส่งลำ�เลียงนํ้ามันได้มากชนิดบนรถคัน เป็นวิธีการที่ขนส่งลำ�เลียงนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ เดียวโดยไม่ปะปนกัน ได้ ค รั้ ง ละปริ ม าณมากๆ ใช้ สำ�หรั บ การขนส่ ง ลำ�เลี ย งที่ มี ระยะทางไกลๆ ลักษณะโดยทั่วไปของเรือบรรทุกนํ้ามันเป็น การขนส่งปิโตรเลียมทางท่อ (Pipeline) เรือแบบระวางปิด ภายในระวางเรือจะแบ่งเป็นช่องๆ ทั้ง การขนส่งปิโตรเลียมผ่านทางท่อซึ่งปกติจะเป็นท่อ แบบแนวยาวและแนวขวางเพื่อเพิ่มการทรงตัวและความ เหล็กนับว่าเป็นวิธีการขนส่งที่สะดวก สามารถส่งปิโตรเลียม ปลอดภัย เช่น ถ้าเกิดอุบัติเหตุเรือรั่ว ณ จุดใดจุดหนึ่ง ก็จะไม่ ได้อย่างต่อเนื่องและปลอดภัยที่สุด ในสมัยก่อนการขนส่ง ทำ�ให้เรือทั้งลำ�ต้องจมลง นอกจากนั้นช่องที่ถูกแบ่งไว้นี้จะเป็น ผ่านทางท่อ ต้องอาศัยแรงดันของนํ้ามันและก๊าสซธรรมชาติ ประโยชน์ในการบรรทุกผลิตภัณฑ์ได้มากชนิดโดยไม่ปะปนกัน จากหลุมผลิตภัณฑ์ใต้พื้นดิน รวมทั้งความแตกต่างของระดับ สำ�หรับเรือบรรทุกก๊าซธรรมชาติต้องออกแบบถังบรรจุก๊าซ เป็นแรงขับเคลื่อนภายในท่อทำ�ให้การขนส่งทำ�ได้ในระยะไม่ เป็นพิเศษแตกต่างกันออกไป ไกลนัก แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒนาใช้เครื่องสูบเพิ่มแรงดันขับ ภายในท่อ เพื่อให้การขนส่งลำ�เลียงนํ้านหรือก๊าซธรรมชาติ การขนส่งปิโตรเลียมทางรถไฟ (Rail Car) ผ่านท่อได้ในระยะทางไกลๆ และรวดเร็วขึ้น การใช้รถไฟขนส่งสามารถลำ�เลียงนํ้ามันและก๊าซ ธรรมชาติได้ครั้งละปริมาณมากๆ ในระยะทางไกลเช่นกัน ถังสำ�หรับบรรจุนํ้ามันในปัจจุบันเป็นถังเหล็กทรงกระบอก รูปกลมหรือรูปไข่ วางนอนบนแคร่รถไฟ ภายในถังแบ่งเป็น ช่องๆ ตามแนวขวางเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของถังและลด การกระแทกอันเกิดจากการกระฉอกของน้ำ�มันในระหว่าง การขนส่งลำ�เลียง การขนส่งปิโตรเลียมโดยรถบรรทุก (Tank Truck) เป็นวิธีการขนส่งลำ�เลียงผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูปไปสู่ผู้ ใช้ ลักษณะทั่วไปของถังบรรจุนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติจะ คล้ายคลึงกับการขนส่งลำ�เลียงทางรถไฟ กล่าวคือจะเป็นถัง ทรงกระบอกรูปไข่สำ�หรับรถบรรทุกนํ้ามันภายในถังจะแบ่ง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.