ฝ่ายประชาธิปไตย จะไปทางไหน? // นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

Page 1

turnleftthai.blogspot.com

เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8

ฉบับที่ 4

กันยายน 55

ราคา 20 บาท

ศาสนา “ดับทุกข์” ให้กับมนุษย์ ไม่ได้ โดย วัฒนะ วรรณ หน้า 2

ภาพ: Darshan S Khaira

ฝ่ายประชาธิปไตย จะไปทางไหน? “การปฏิรูป” ที่แท้จริง ที่นำ�การพัฒนาชีวิตมาสู่คนทำ�งาน ทั่วไป มักมาจากการต่อสู้ และการต่อสู้ดังกล่าวในที่สุดต้อง มองว่าเป็นการต่อสู้ทางชนชั้น ในสังคมชนชั้นที่ดำ�รงอยู่ทุก วันนี้มันเป็นไปในรูปแบบอื่นไม่ได้อยู่แล้ว ไม่ว่าพวกนักบวช นักบุญเสรีนิยมหรือพวกพหุนิยมมันจะอ้างอย่างไรเกี่ยวกับ “สังคมที่ไม่มีชนชั้นแล้ว” -- Duncan Hallas. (1994).The fight for revolution.

เมื่อขบวนการ เคลื่อนไหว เลือก จับอาวุธ โดย นุ่มนวล ยัพราช หน้า 8

เหยื่อ วีรชน กับอุดมการณ์ โดย ยังดี โดมพระจันทร์​์

หน้า 14

ปลาเล็กๆ ในแม่น้ำ�ใหญ่ โดย ลั่นทมขาว หน้า 10


2

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

กลับหัวเป็นหาง

turnleftthai.blogspot.com

วัฒนะ วรรณ

ศาสนา “ดับทุกข์” ให้กับมนุษย์ไม่ได้ มนุษย์สร้าง ศาสนา ขึ้นมาพร้อมๆ กับการพัฒนาระบบการ ผลิตเลีย้ งชีพ แต่เดิมมนุษย์นบั ถือความศักดิส์ ทิ ธิข์ องธรรมชาติ ดิน ฟ้า แม่น้ำ� ต้นไม้ ในรูปแบบของความกลัว แต่เมื่อระบบการผลิตไม่ต้องพึ่ง พิงธรรมชาติแบบดิบๆ มนุษย์กเ็ ริม่ ทีใ่ ช้เหตุผลมากขึน้ แล้วก็สร้างศาสนา ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาของมนุษย์ในแต่ละยุค โดยที่ ศาสนา ก็มีการ เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย และสภาพแวดล้อมสังคมของมนุษย์ ศาสนา จึงไม่ใช่สิ่งหยุดนิ่ง และปราศจากการมีส่วนรวมของมนุษย์ แต่จะถูกใช้ โดยมนุษย์กลุ่มต่างๆ ในยุคสมัยต่างๆ ดังนั้นการที่บางคนเสนอว่า ศาสนาถูกนำ�ไปใช้โดยคนแบบผิดๆ และนั้นไม่ใช่ศาสนาแท้ เป็นเพียง ความพยายามในการปกป้องศาสนา จากความล้มเหลวของศาสนาเอง อย่างเช่น พระไตรปิฎก ทีเ่ ป็นคำ�สอนของสิทธารถ ก็เริม่ มีการ บันทึกกันก็เมื่อสิทธารถ ตายไปแล้ว 3 เดือน ผ่านการจดจำ�ของศิษย์ แต่ละคน และมีโอกาสมาก ที่จะมีการตีความในคำ�สอนของสิทธารถ ตามประสบการณ์ และการนำ�ไปใช้ของศิษย์ ซึ่งครั้งนั้นถือว่าเป็นการ สังคายนาครั้งแรก และหลังจากนั้นอีกร้อยปี ก็มีการแยกลัทธิกันเป็น สองฝ่าย ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า ควรแก้ไขคำ�สอนของสิทธารถได้ เรียกว่า ฝ่ายอาจริยวาท กับอีกฝ่ายที่ไม่เห็นควรให้แก้ไข เรียกว่า ฝ่ายเถรวาท ดังนัน้ การวิเคราะห์ศาสนาจึงต้องรวมเอามนุษย์ ทัง้ ทีเ่ ป็นพระ และผู้ที่นับถือ เขาไปด้วย มิใช่มองแต่เพียงคัมภีร์บริสุทธิ์เพียงอย่าง เดียว เพราะคัมภีรไ์ ม่สามารถสร้างผลกระทบให้กบั มนุษย์และสังคมได้ แต่มนุษย์ทนี่ �ำ ศาสนาไปใช้ ผ่านการตีความและขยายแนวคิดศาสนาลง สู่สังคม นั่นแหละคือ "ศาสนา" ศาสนาพุทธ มักเสนอทางออกให้กบั มนุษย์ หรือ "ดับทุกข์" ให้ กับมนุษย์ โดยให้พิจารณาจาก "ภายใน" หรือ "จิตใจ" ของมนุษย์ เป็นหลัก โดยเสนอว่าถ้ามนุษย์พัฒนา "จิต" ให้เข้มแข็งพอ ก็สามารถ ตัด "กิเลส" ต่างๆ รัก โลภ โกรธ หลง อยากมี อยากได้ออกไปอยาก "จิตใจ" ได้ ก็จะแก้ไขปัญหาได้ แต่นกั มาร์คซิสต์มองว่าแนวทางแก้ปญ ั หาทีเ่ น้นจาก "ภายใน" ของศาสนาล้มเหลวในการแก้ไขปัญหาให้กบั มนุษย์ เพราะปัญหาทีเ่ กิด ขึน้ กับมนุษย์ไม่ได้มาจากภายใน แต่มาจากลักษณะของระบบเศรษฐกิจ การที่ถูกสร้างขึ้นจากคนรุ่นก่อน และใช้ควบคุมสังคม เช่นในระบบ เศรษฐกิจการเมืองทุนนิยมปัจจุบนั ทีส่ ร้างระบบชนชัน้ นายทุนที่ "ขูดรีด" เอามูลค่าส่วนค่าส่วนเกินของกรรมาชีพ "ผู้ถูกขูดรีด" ผลิตได้ไปเป็น

ของส่วนตน ซึ่งผลของระบบเศรษฐกิจการเมืองเช่นนี้ ได้สร้างโอกาส มากมายให้กับชนชั้นนายทุน ในการหาความสุขสบายให้กับชนชั้น ตนเอง รวมถึงพื้นที่ทางเมืองอื่นๆ แต่สำ�หรับชนชั้นกรรมมาชีพ มันได้ สร้างความยากลำ�บากในการใช้ชวี ติ เป็นอย่างมาก นำ�มาซึง่ การไร้ศกั ดิศ์ รี ในสังคม และถูกกดดันจากปัญหาต่างๆ รอบด้าน ถึงแม้นักมาร์รซิสต์ จะมองว่าศาสนาจะแก้ปัญหาให้มนุษย์ไม่ ได้ แต่ก็มองว่ามนุษย์มีเหตุผลที่จะเลือกนับถือศาสนา ในโลกที่เต็มไป ด้วยความหนาวเย็น ศาสนาก็เปรียบเสมือนกับผ้าห่มที่ให้ความ อบอุน่ ในโลกทีไ่ ร้ผา้ ห่ม ศาสนาสอนให้มนุษย์ "ปล่อยวาง" ในความ ทุกข์ของตน ซึ่งมีประโยชน์สำ�หรับผู้ที่กำ�ลังเผชิญหน้ากับความยาก ลำ�บากและไร้ทางออก มันช่วยผ่อนคลายความทุกข์ของกรรมาชีพได้ ชั่วคราว ดังที่ คาร์ล มาร์คซ์ เคยเขียนไว้... "มนุษย์เป็นผู้สร้างศาสนา ไม่ใช่ว่าศาสนาก่อให้เกิดมนุษย์ ดัง นัน้ ศาสนาเป็นสิง่ ทีม่ าจากจิตสำ�นึกของมนุษย์เองท่ามกลางความพยายาม ที่จะแสวงหาตนเอง หรือทางกลางการหลงทางของตนเอง แต่มนุษย์มี ตัวตนในโลกจริง ไม่ใช่ผู้ที่ไม่มีตัวตน มนุษย์คือโลกแห่งมนุษย์ คือรัฐ ของมนุษย์ คือสังคมของมนุษย์ และเนื่องจากรัฐและสังคมดังกล่าวมัก ดำ�รงอยูใ่ นลักษณะทีเ่ บีย่ งเบนหรือไม่สมบูรณ์ สิง่ เหล่านีย้ อ่ มผลิตทฤษฎี เพื่อเข้าใจโลก หรือศาสนานั้นเอง ที่เบี่ยงเบนไม่สมบูรณ์ไปด้วย เวลาศาสนาเอ่ยถึงทุกข์ของมนุษย์ ทุกข์ดงั กล่าวเป็นทุกข์ จริง และศาสนามักจะประท้วงกับทุกข์จริงดังกล่าว ศาสนาคือการ ถอนลมหายใจของผูถ้ กู กดขี่ ศาสนาคือหัวใจในโลกทีไ่ ร้หวั ใจ คือ วิญาณในโลกที่ไร้วิญญาณ มันคือฝิ่นของมวลประชา" แต่เมือ่ กรรมาชีพต้องกลับมาสูโ่ ลกจริง ปัญหาต่างๆ ไม่ได้หาย ไป ดังนัน้ การเสนอให้ "ปล่อยว่าง" จึงมีประสิทธินอ้ ย ถ้าเทียบกับ การ รวมตัวกันต่อสู้กับกับโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองที่ไม่เป็นธรรมของ ระบบทุนนิยม เพือ่ ถึงเอาส่วนเกินทีน่ ายทุนขโมยไปจากกรรมาชีพ เอา มาพัฒนาสังคมและแก้ไขปัญหาให้ทุกคนในสังคม ถึงแม้ว่าการต่อสู้ที่ ผ่านมาจะมีชนะบ้าง แพ้บ้าง แต่ก็ก็ถูกพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพ มากกว่าแนวศาสนา แต่อีกด้านของศาสนาในบ้างครั้งการเสนอในแก้ปัญหาจาก "ภายใน" "จิตใจ" หรือ "การปล่อยว่าง" ของศาสนาก็มีความเป็น (อ่านต่อหน้า 3)


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

มุมประวัติศาสตร์

3 C.H.

มนุษย์บุพกาลกับ “ธรรมชาติมนุษย์” มนุษย์เริ่มต้นจากการวิวัฒนาการมาจากลิงในอัฟริกาเมื่อ ประมาณ 150,000 ปีมาแล้ว ต่อจากนั้นก็ค่อยๆ กระจายไปตามทวีป ต่างๆ ทั่วโลก สังคมมนุษย์ในยุคบุพกาล ก่อนสมัยที่มนุษย์ค้นพบวิธี ปลูกพืชหรือเลีย้ งสัตว์ เป็นสังคมของคนทีเ่ ก็บของป่าและล่าสัตว์ มนุษย์ อยูใ่ นกลุม่ เล็กๆ ในลักษณะเครือญาติ ในแต่ละกลุม่ อาจมีประมาณ 3040 คน ทรัพยากรทุกอย่างเป็นของกลางหมด มีการแบ่งกันอย่างเท่า เทียม มีการร่วมมือกันในกิจกรรมต่างๆ ถึงแม้ว่าผู้ชายมักเป็นผู้ที่ล่า สัตว์และนำ�เนือ้ สัตว์กลับมาให้ทกุ คนกิน การล่าสัตว์เป็นสิง่ ทีไ่ ม่แน่นอน ดังนั้นมนุษย์เหล่านี้ต้องอาศัยการเก็บพืช ผัก ผลไม้และการขุดราก ซึ่ง เป็นงานหลักของผูห้ ญิง เพราะผูห้ ญิงต้องเลีย้ งลูกกับตัวเอง ไม่สามารถ เดินทางไกลไปล่าสัตว์ได้ ในสังคมบุพกาล ชีวิตมนุษย์มีข้อดีตรงที่ไม่มีการแบ่งชนชั้น ไม่มีผู้ปกครอง และไม่มีการเลือกปฏิบัติระหว่างชายกับหญิง โดยส่วน ใหญ่แล้วจะไม่มสี งครามระหว่างเผ่าหรือกลุม่ ต่างๆ อาจมีชายหรือหญิง ที่ทุกคนในเผ่านับถือ แต่การนับถือเคารพเป็นเพราะคนเหล่านี้เป็นผู้มี ประสบการณ์สงู สามารถแนะนำ�อะไรทีเ่ ป็นประโยชน์ได้ อย่างไรก็ตาม เขาจะไม่เป็นอภิสิทธิ์ชนที่ได้อะไรมากกว่าคนอื่น ในสังคมแบบ “คน ล่าสัตว์และเก็บของป่า” ที่ยังหลงเหลืออยู่ทุกวันนี้ เช่นในกลุ่ม “คุง” ในอัฟริกา เขาจะมีอุดมการณ์หนักแน่นเพื่อความเท่าเทียม ใครที่อวด เก่งหรือหยิ่งจะโดนสังคมประณามเสมอ

ในพืน้ ทีท่ อี่ ดุ มสมบูรณ์มนุษย์สามารถอยูอ่ ย่างสบายพอสมควร ถึงแม้ว่าจะเป็นสังคมบุพกาลก็ตาม เพราะไม่ต้องออกแรงมากเกินไป ในการเก็บของป่าหรือการล่าสัตว์ อาจมีการสร้างหมูบ่ า้ นถาวรทีม่ เี ครือ่ ง ใช้ดินเผาและหินบ้าง มนุษย์อยู่กันทั่วโลกในสภาพแบบนี้ประมาณ 140,000 ปี คือ ประมาณ 90% ของประวัติศาสตร์มนุษย์ ข้อมูลนี้สำ�คัญ เพราะพวกที่ สนับสนุนระบบชนชั้น การขูดรีด ความเหลื่อมล้ำ� หรือทุนนิยม มัก พยายามอ้างว่า “ธรรมชาติมนุษย์” เป็นธรรมชาติของการแย่งชิงและ การแข่งขัน แต่ถ้า 90% ของประวัติศาสตร์เป็นยุคของความเท่าเทียม และการร่วมมือกันระหว่างมนุษย์ มันจะเป็นอย่างที่พวกนั้นอ้างไม่ได้

(ต่อจากหน้า 2)

ปฏิกิริยาอยู่ด้วย เพราะการเสนอให้กรรมาชีพมองตัวเอง เป็นหลัก เท่ากับว่าปัญหาที่กรรมาชีพเผชิญอยู่มาจากตัวกรรมาชีพเอง แทนที่จะมอง ไปที่โครงสร้างสังคมที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งเท่ากับเป็นการปกป้องให้ระบบ "ขูดรีด" ดำ�เนินต่อไป แทนที่จะปลุกระดมให้กรรมาชีพออกมาต่อสู้เพื่อ ปกป้องผลประโยชน์ของตนเอง ซึง่ ก็มคี วามคล้ายกับแนวคิดแบบ "เศรษฐกิจพอเพียง" ทีเ่ สนอให้คนจนฝึกใช้ชวี ติ อยูแ่ บบจนๆ ในขณะทีค่ นรวยๆ ก็อยู่สุขสบายต่อไป ดังนั้นเราชาวมาร์ซิสต์ จึงเสนอให้แยกศาสนาออกจากรัฐ ที่มนุษย์สามารถเลือกที่จะเชื่อ นับถือลัทธิใดๆ หรือไม่เชื่อก็ได้ ให้เป็นอิสระ ส่วนตน โดยที่รัฐต้องไม่เข้าไปบังคับ และเปิดโอกาสให้มนุษย์สามารถที่จะศึกษา ปรัชญาของศาสนาต่างๆ ได้โดยเสรี เช่นเดียวกับแนวคิดอื่นๆ ในสังคม แทนที่จะบังคับสอนศาสนาใดศาสนาหนึ่ง และเลิกการโฆษณาต่างๆ ที่เป็นการกดดันให้พลเมืองต้องนับถือศาสนาหรือมีศาสนา โดยที่ เขาไม่โอกาสเสรีที่จะเลือกเอง เอกสารอ้างอิง ใจ อึ๊งภากรณ์ และคณะ. (2545). อะไรนะลัทธิมาร์คซ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ชมรมหนังสือประชาธิปไตยแรงงาน.


4

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

มุมแดง

ใจ อึ๊งภากรณ์

สงครามคู่ขนาน: ประชาชนหรือนายทุน เสื้อแดงหรือทักษิณ ในสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อ 70 ปีก่อนมีสงครามคู่ขนานใน การต่อสู้กับฝ่ายอักษะ คือเยอรมัน อิตาลี่ และญี่ปุ่น เพราะประชาชน ธรรมดา โดยเฉพาะมวลชนก้าวหน้า สูเ้ พือ่ ทำ�ลายระบบฟาซิสต์เผด็จการ และสู้เพื่อเสรีภาพกับความเท่าเทียม คนจำ�นวนมากสู้เพื่อสังคมนิยม อีกด้วย แต่ฝ่ายชนชั้นปกครองทุนนิยมตลาดเสรีในอังกฤษ สหรัฐ กับ ฝรั่งเศส และชนชั้นปกครอง “ทุนนิยมโดยรัฐ” ในเผด็จการรัสเซีย สู้ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกลุ่มทุนและจักรวรรดินิยมเท่านั้น แต่ใน การปลุกระดมมวลชนให้รบในกองทัพ ของรัฐบาลชนชั้นปกครองต้อง ใช้วาจาในการสร้างภาพว่าสงครามนั้นเป็น “สงครามเพื่อเสรีภาพ” ถ้าเราศึกษาประวัติศาสตร์สงครามโลกอย่างผิวเผิน เราอาจม องไม่เห็นว่าสงครามของประชาชน กับสงครามของนายทุนพันธมิตร ต่างกันเท่าไร เพราะทั้งสองรบกับฝ่ายอักษะ วิกฤตไทยหลัง ๑๙ กันยา มีส่วนคล้ายตรงนี้ ใน “สงคราม” ของเสื้อแดงกับอำ�มาตย์หลังรัฐประหาร ๑๙ กันยา ก็มสี องสงครามคูข่ นานเช่นกัน คือประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ที่พร้อมจะเคลื่อนไหวทางการเมือง ได้ร่วมกันสร้างขบวนการเสื้อแดง และออกมาต่อสูเ้ พือ่ ประชาธิปไตยทีไ่ ม่มกี ารแทรกแซงโดยอำ�มาตย์ ไม่ ว่าจะเป็นทหารหรือผู้มีอำ�นาจอื่นๆ และท่ามกลางการต่อสู้มีการตื่นตัว มากขึ้นจนคนเสื้อแดงส่วนใหญ่เริ่มมองสังคมไทยจากมุมมองชนชั้น อย่างน้อยก็มองว่ามีสองฝ่ายหลักคือ “เรา” ที่เป็น “ไพร่” กับ “เขา” ที่เป็น “อำ�มาตย์กับพรรคประชาธิปัตย์ และสลิ่มฟาสซิสต์” และ เสือ้ แดงเหล่านีต้ อ้ งการให้มกี ารเปลีย่ นสังคมไทย ต้องการให้ยกเลิกกฏ หมายเผด็จการอย่าง 112 ต้องการให้ปฏิรูปกองทัพไม่ให้แทรกแซง การเมือง ต้องการให้ปฏิรปู ขบวนการยุตธิ รรมด้วย และเขาเสียสละเลือด เนื้อเพื่อสิ่งเหล่านี้ แต่ฝ่ายทักษิณกับพรรคพวกไม่ได้สู้เพื่อให้มีการเปลี่ยนสังคม ไทยให้เท่าเทียมแต่อย่างใดเขาไม่ตอ้ งการการให้ยกเลิกกฏหมายเผด็จการ อย่าง 112 ไม่ต้องการให้ปฏิรูปกองทัพไม่ให้แทรกแซงการเมือง และไม่ ต้องการให้ปฏิรูปขบวนการยุติธรรม เป้าหมายของเขาคือการกลับมา ปรองดองกับคู่ขัดแย้ง และเพื่อให้สังคมไทยกลับคืนสู่สภาพ “ปกติ” ท่ามกลางความเหลื่อมล้ำ�และการขูดรีด อย่างที่เป็นก่อน ๑๙ กันยา

ทักษิณพูดเองเมือ่ ต้นปี ๒๕๕๕ ว่าเขามองว่าวิกฤตไทยมาจาก การทะเลาะกันระหว่างนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์และพรรคพวก กับทักษิณและพรรคพวกของเขา และแน่นอนคำ�พูดนีเ้ ป็นการบิดเบือน ประวัตศิ าสตร์อย่างถึงทีส่ ดุ เพราะตัดบทบาทของทหารทีท่ �ำ รัฐประหาร และฆ่าประชาชนออกไปหมด และลบทิ้ง “สงคราม” ของประชาชน เสื้อแดง เพื่อให้มีแค่การต่อสู้เพื่อตัวทักษิณเอง สรุปแล้วในความฝัน ของทักษิณ คนเสื้อแดงคือแค่ไพร่รับใช้ทักษิณเท่านั้น เป้าหมายของทักษิณและพรรคพวก โดยเฉพาะนักการเมือง เพือ่ ไทยในรัฐบาลยิง่ ลักษณ์ คือแค่การปกป้องผลประโยชน์ของกลุม่ ทุน และอภิสิทธิ์ชนซีกทักษิณ นั้นคือสาเหตุที่รัฐบาลปัจจุบันเต็มไปด้วย รัฐมนตรีที่ไม่เคยสู้เพื่อประชาธิปไตย และหลายคนก็มีประวัติการเป็น โจรอีกด้วย และเป้าหมายของทักษิณกับยิ่งลักษณ์หมายความว่าจะไม่ กล่าวถึงอาชญากรรมของทหาร เพราะจับมือจูบปากทหารแล้ว จะไม่ ลบล้างผลพวงของรัฐประหารตามข้อเสนอคณะนิติราษฏร์ และจะไม่ ป้องกันไม่ให้ทหารแทรกแซงการเมืองอีก ในสงครามคู่ขนานที่เกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สอง อย่าง น้อยชนชั้นปกครองมีการให้เกียรติทหารธรรมดาที่ล้มตายในสงคราม บ้าง แต่ในกรณีสงครามเสือ้ แดงไม่มเี ลย ทักษิณกับเพือ่ ไทย “ถุยน้�ำ ลาย ใส่” วีรชนเสือ้ แดงทีเ่ สียสละในการต่อสู้ และทำ�การปรองดองบนซากศพ เขา ไม่มกี ารนำ�ทหารกับนักการเมืองประชาธิปตั ย์มาขึน้ ศาล และมีการ ปล่อยให้นักโทษการเมืองติดคุกต่อไปจนบางคนต้องตายในคุก แต่เรา อธิบายได้ เพราะถ้ามีการนำ�ทหารและนักการเมืองอย่างอภิสิทธิ์มาขึ้น ศาลในคดี “อาชญากรรมของรัฐต่อประชาชน” ในอนาคตอาจนำ� ทักษิณมาขึ้นศาลได้ในคดีอาชญากรรมของรัฐต่อประชาชนที่ตากใบ และในเรื่องการฆ่าวิสามัญยาเสพติดคำ�ขวัญสำ�คัญของชนชั้นปกครอง ไทยคือ “เรารู้จักปกป้องผลประโยชน์ของพวกเราเสมอ” นั้นคือ สาเหตุทผี่ มเชือ่ ว่าแม้แต่ อภิสทิ ธิ์ หรือสุเทพ จะไม่ถกู นำ�มาลงโทษ อย่า ว่าแต่ทหารมือเปื้อนเลือดเลย และสิ่งที่เราเห็นอยู่ที่ศาลอาญาระหว่าง ประเทศ หรือการสืบคดีสไนเบอร์ เป็นแค่ละครตลกร้ายเท่านั้น ในสงครามของประชาชนชั้นล่าง สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง บ่อยครัง้ ประชาชนชัน้ ล่างสามารถปลดแอกตนเองโดยการเอาชนะฝ่าย


turnleftthai.blogspot.com

อักษะได้ โดยไม่อาศัยกองกำ�ลังของรัฐบาล ตัวอย่างเช่นการปลดแอก เมืองปารีส การปลดแอกประเทศกรีซ หรือมาลายู ซึ่งกระทำ�โดยกอง กำ�ลังของแนวร่วมพรรคคอมมิวนิสต์ อย่างไรก็ตามแกนนำ�ของพรรค คอมมิวนิสต์ทั่วโลกตอนนั้น มองว่าภาระหลักคือการสนับสนุนรัสเซีย ภายใต้สตาลิน และการเคารพข้อตกทีส่ ตาลินมีกบั ผูน้ ำ�ตะวันตก ดังนัน้ กองกำ�ลังของประชาชนที่ปลดแอกตนเอง กลับยอมมอบอาวุธให้ศัตรู และสลายตัว ผลคือการ “กลับสู่สภาพปกติ” ของทุนนิยมในฝรั่งเศส และกรีซ และการ “กลับสู่สภาพปกติ” ของการเป็นอาณานิคมของ มาลายู สำ�หรับรับสงครามเสื้อแดง แกนนำ� นปช. ซึ่งบางคนเคยเป็น สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ในอดีต ก็มองว่าภาระหลักของ นปช. คือการ เป็นกองเชียร์ให้พรรคเพื่อไทยและทักษิณ และการสนับสนุนเป้าหมาย ของทักษิณและยิ่งลักษณ์ในการนำ�สังคมไทย “กลับคืนสู่สภาพปกติ ท่ามกลางความเหลื่อมล้ำ�และการขูดรีด” ดังนั้นทั้งๆ ที่มีการใช้ วาจาสร้างภาพว่าจะไม่ “ทอดทิ้งกัน” แกนนำ� นปช. ก็ค่อยๆ สลาย ขบวนการเสือ้ แดง และหันหลังให้กบั นักโทษการเมือง โดยเฉพาะนักโทษ 112 ไม่มีการรณรงค์อย่างเต็มที่ให้ลบผลพวงของรัฐประหาร ให้มีการ ยกเลิก 112 และให้มีการนำ�ทหารและนักการเมืองประชาธิปัตย์มาขึ้น ศาลแต่อย่างใด และเวลาก็ผ่านไปกว่าหนึ่งปีหลังชัยชนะของพรรคเพื่อ ไทยในการเลือกตั้งแล้ว แต่อย่าเข้าใจผิดว่าการออกมาต่อสูข้ องประชาชนเสือ้ แดง เป็นเรือ่ งสูญปล่าว อย่าเข้าใจผิดว่าการออกมาต่อสูข้ องประชาชน ไม่เคยได้อะไร อย่าเข้าใจผิดว่าเราต้องถูกแกนนำ�หลอกเสมอ ถ้าเสื้อแดงไม่ได้ออกมาสู้ เราจะไม่มีกระแสสำ�คัญๆ ในสังคม ไทยที่อยากปฏิรูปการเมืองจริงๆ เช่นการรณรงค์ของนิติราษฎร์หรือผู้ ทีต่ อ้ งการจัดการกับกฏหมาย 112 และถ้าพวกเราไม่ได้ออกมาสูอ้ �ำ มาตย์ ก็จะมัน่ ใจยิง่ กว่านีว้ า่ ทำ�อะไรกับเราก็ได้ เรือ่ งการขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่�ำ ก็อาจ ไม่เกิดด้วย การที่แกนนำ� นปช. สามารถทำ�ลายความฝันของเสื้อแดงใน การปฏิรูปสังคมไทยและสามารถหักหลังวีรชนได้ ไม่น่าจะทำ�ให้เรา แปลกใจมากเกินไป ถ้าเราเข้าใจว่าเสื้อแดงก้าวหน้าบกพร่องในการ สร้างองค์กรทางการเมืองที่อิสระจาก นปช. เหมือนกับที่ประชาชน ก้าวหน้าสมัยสงครามโลก มีจุดออ่นที่ไม่สามารถสร้างองค์กรฝ่ายซ้าย ที่อิสระจากพรรคคอมมิวนิสต์สายสตาลินได้ การต่อสู้ของมวลชน... ชัยชนะหรือความพ่ายแพ้... การเสีย เลือดเนื้อของประชาชน... การเลือกตั้ง... การปรองดองของชนชั้น ปกครองบนซากศพวีรชน... ฆาตกรลอยนวล... อำ�นาจอำ�มาตย์ถูก ปกป้อง... พรรคการเมืองทำ�ลายความฝันของประชาชน: นั้นคืออ่าง น้ำ�เน่าของการเมืองไทยในรอบห้าสิบกว่าปีที่ผ่านมา ถ้าเราอยากให้ เรื่องแบบนี้จบสักที คนก้าวหน้าต้องรู้จักรวมตัวกันทางการเมืองใน ลักษณะที่อิสระจากพวก “ผู้ใหญ่” เราต้องมาร่วมกันสร้าง “พรรค สังคมนิยม” พรรคสังคมนิยมมีหน้าที่สร้างผู้ปฏิบัติการจากคนที่เข้าใจ

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

5

ประเด็นการเมืองทางชนชั้น เพื่อให้ผู้ปฏิบัติการขยายความคิดนี้ไปสู่ คนส่วนใหญ่ทมี่ คี วามคิดกลางๆ ระหว่างความก้าวหน้ากับความล้าหลัง หรือระหว่างความเป็นซ้ายกับความเป็นขวา พรรคไม่ได้ตั้งเป้าหมาย หลักในการทำ�งานกับคนที่ล้าหลังที่สุด ถูกกดขี่มากที่สุด หรือเข้าใจ การเมืองน้อยทีส่ ดุ เพราะคนกลุม่ นีย้ งั ไม่พร้อมจะเปลีย่ นความคิดง่ายๆ นัน้ คือสาเหตุทพี่ รรคฝ่ายซ้ายควรทำ�งานกับคนเสือ้ แดงก่อนทีข่ บวนการ นี้จะสูญหายไปหมดภายใต้นโยบายของ นปช. และเพื่อไทย แต่ถึงกระนั้น ถ้าจะมีการเปลี่ยนสังคมอย่างถอนรากถอนโคน ซึง่ จะนำ�ไปสูเ่ สรีภาพแท้ได้ การเปลีย่ นสังคมดังกล่าวต้องเป็นการกระทำ� ของมวลชนส่วนใหญ่เอง จากล่างสู่บน ไม่ใช่การกระทำ�ของกลุ่มเล็กๆ หรือ "กองหน้า" พรรคสังคมนิยมต้องยึดถือผลประโยชน์ชนชั้นกรรมาชีพและ คนจนเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นกรรมาชีพภาคบริการ ภาคอุตสาหกรรม หรือพนักงานปกคอขาว และไม่ว่าจะเป็นคนจนที่เป็นชาวนา ลูกจ้าง ภาคเกษตร ชนกลุ่มน้อย หรือคนจนในเมือง พรรคต้องเป็นปากเสียง ของผู้ถูกกดขี่ทุกคนโดยไม่คำ�นึงถึงเพศ เชื้อชาติ ศาสนา และวิถีชีวิต เราไม่ควรไปเสียเวลากับคนชั้นกลางเท่าไร เพราะในวิกฤต ปัจจุบัน และในยุค ๖ ตุลา คนชั้นกลางส่วนใหญ่ในไทยเลือกข้างของ ความป่าเถื่อน และทั่วโลกมักเป็นพลังสำ�คัญของกระแสฟสซิสต์ พรรคจะต้องมีประชาธิปไตยภายใน ไม่ใช่เป็นพรรคของ “ผู้ใหญ่” คนใดคนหนึ่ง ดังนั้นต้องมีโครงสร้างและระเบียบที่ชัดเจน เพือ่ ให้สมาชิกธรรมดาเป็นผูค้ วบคุมนโยบาย ผูน้ �ำ และผูแ้ ทนของพรรค ตลอดเวลา พรรคต้องอาศัยเงินทุนที่เก็บจากสมาชิกในอัตราก้าวหน้า เป็นหลัก คือสมาชิกที่มีเงินเดือนสูงจ่ายมากและคนที่มีรายได้น้อยจ่าย น้อย ไม่ใช่ไปพึง่ เงินทุนจากทีอ่ นื่ และตกเป็นเครือ่ งมือของคนมีเงิน และ ถึงแม้ว่าพรรคจะมีทุนน้อย แต่สิ่งที่ทำ�ให้ได้เปรียบพรรคนายทุนทุก พรรคคือการเป็นพรรคของมวลชนจริง การดึงคนมาสนับสนุนพรรคจึง ทำ�ภายใต้นโยบายที่ชัดเจน และผู้สนับสนุนพรรคจะไม่เข้ามาร่วมภาย ใต้นโยบายของพรรคเท่านั้น แต่จะได้รับการส่งเสริมให้นำ�ตนเอง และ มีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายด้วยสิทธิเท่าเทียมกัน พรรคสังคมนิยมไม่ใช่พรรคประเภทบนลงล่างทีโ่ กหกว่า “คุณ เลือกเราเป็น ส.ส. แล้วเราจะทำ�ให้คุณทุกอย่าง” ในระยะสั้นพรรค ต้องไม่ตั้งเป้าหลักที่การเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา เพราะรัฐสภาไม่ใช่ ศูนย์กลางอำ�นาจแท้ในระบบประชาธิปไตยครึ่งใบของนายทุน การจด ทะเบียนพรรคจึงไม่สำ�คัญ อย่างไรก็ตามการเลือกตั้ง ส.ส. ในระบบ ปัจจุบนั อาจเป็นโอกาสดีส�ำ หรับการโฆษนาแนวคิดในอนาคต พรรคจะ ต้องเป็นแหล่งรวมของประสบการณ์และทฤษฎีการต่อสู้ แหล่งรวมของ นักเคลื่อนไหวไฟแรง และเป็นเครื่องมือในการประสานงานและปลุก ระดมการต่อสูใ้ นหมูก่ รรมาชีพกับคนจน เพือ่ ให้มกี ารเปลีย่ นแปลงสังคม ไทยตามความไฝ่ฝันของเสื้อแดง พูดง่ายๆ พรรคสังคมนิยมควรรับภาระในการต่อสูต้ อ่ ไป ของคนชัน้ ล่างท่ามกลางการหักหลังทรยศของพรรคเพือ่ ไทยและ นปช.


6

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

อ่านเรื่องมาเล่า

turnleftthai.blogspot.com

ฮิปโปน้อย บรมสุขเกษม

กำ�เนิดครอบครัวและระบบกรรมสิทธิ์ หนังสือเรือ่ ง "กำ�เนิดครอบครัวของมนุษยชาติ ระบอบ กรรมสิทธิส์ ว่ นบุคคลและรัฐ” ทีเ่ ขียนไว้โดยเองเกลส์นนั้ เป็นการ สานต่องานเขียนทีไ่ ม่เป็นรูปเป็นร่าง ก่อนหน้าทีม่ าร์กซ์จะเสียชีวติ ลง เนื่องจากมาร์กซ์เคยได้เขียนเรื่องโครงหลวมๆเกี่ยวกับงานชิ้น นี้ไว้ก่อนแล้ว เพราะมาร์กซ์ได้เคยศึกษางานของ ลูอิส มอร์แกน ที่ ได้เล่าถึงความเป็นไปในการพัฒนาครอบครัวของมนุษย์ในแต่ละ ยุคของสังคม ตัง้ แต่ยคุ คนป่าจนถึงยุคอารยธรรม ซึง่ จากงานศึกษา ของมอร์แกนนีม้ าร์กซ์ได้เล็งเห็นว่า มีความเกีย่ วข้องกันบนพืน้ ฐาน ของทฤษฎีวตั ถุนยิ มประวัตศิ าสตร์ และก่อนทีเ่ ราจะทำ�ความเข้าใจ ว่ารัฐนั้นเกิดขึ้นมาได้อย่างไรนั้น เราต้องศึกษาต้นกำ�เนิดของการ เกิดครอบครัวให้ได้ก่อน เพราะวิวัฒนาการของครอบครัว เป็นพื้น ฐานในการเกิดรัฐ แรกเริ่มเดิมทีในสังคมยุคบุพกาล รูปแบบของครอบครัว มนุษย์นั้น ไม่ได้อยู่กันเป็นหน่วยเล็กๆ หรือครอบครัวเดี่ยวอย่าง ที่เราคุ้นเคยกัน แต่เป็นการอยู่ร่วมกันเป็นหน่วยใหญ่แบบอันหนึ่ง อันเดียวกัน หรือที่เรียกว่า “สังคญาติ” โดยมอร์แกน (นักมนุษย วิทยา) ได้ศกึ ษาจนค้นพบถึงรูปแบบการแต่งงาน และรูปแบบของ การดำ�รงรักษาเผ่าพันธุ์มนุษย์ในยุคบุพกาล ว่ามีลักษณะเป็นการ สมสู่แบบส่ำ�ส่อน หรือที่เรียกว่าการสมรสหมู่ โดยทั้งชายและหญิง ที่อยู่ด้วยกัน ต่างก็เป็นผัวเป็นเมียเป็นของกันและกันอย่างเท่าๆ กัน โดยมีกฎเกณฑ์ไว้วา่ ชายหญิงทีต่ า่ งรุน่ กันไม่สามารถแต่งงาน กันได้ ซึ่งสามารถแบ่งการสมรสได้เป็น 4 รุ่นด้วยกันดังนี้ รุน่ แรกคือปูย่ า่ ตายายเป็นผัวเมียกัน แล้วรุน่ ทีส่ องคือลูกๆ ที่เกิดจากรุ่นปู่ย่าตายาย ก็จะแต่งงานกันมีลูกกัน จึงเกิดเป็นรุ่นที่ สามคือลูกของพ่อแม่ในรุ่นสอง ก็จะแต่งงานกันจนเกิดเป็นรุ่นที่ สามตามลำ�ดับ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน รวมกันทั้งหมดเท่ากับว่ามี การแต่งงานเป็นสี่รุ่น ลูกๆ ที่เกิดมานั้นจะนับว่าเป็นลูกเป็นหลาน ของคนทุกคน ดังนั้นจึงมีการตั้งข้อสังเกตจากลักษณะครอบครัว สมรสหมู่ว่า ใครเป็นพ่อของเด็กนั้นไม่อาจรู้ได้ แต่ในส่วนของการ หาว่าใครเป็นแม่ของเด็กนัน้ เป็นเรือ่ งทีร่ กู้ นั ได้ ถึงแม้ผหู้ ญิงจะเรียก เด็กทุกคนว่าเป็นลูกๆ ก็ตาม แต่ก็สามารถรู้ได้ว่าเด็กคนไหนเป็น ลูกที่เกิดจากตนเอง ดังนั้นจึงได้เกิดเป็นสิทธิทางมารดาขึ้น

การดำ�รงอยูข่ องมนุษย์ในยุคบุพกาล ทีย่ งั ไม่รจู้ กั การสะสม ทรัพย์นั้น จะมีความเป็นอยู่แบบหาอาหารกินไปวันต่อวัน มนุษย์ ยังไม่รู้จักการสะสมอาหารและเพาะปลูก

จนกระทั่งมนุษย์สามารถพัฒนาความเป็นอยู่ ได้ ก็เริ่มมีการสะสมอาหาร การเลี้ยงสัตว์ การเพาะ ปลูกเป็นฤดูกาล และมีเครื่องมือทำ�มาหากินมากขึ้น ด้วยเหตุนจี้ งึ เป็นเหตุให้มกี ารสะสมทรัพย์สมบัตขิ อง มนุษย์ และด้วยรูปแบบการดำ�รงชีพทีเ่ ป็นเพียงการหาอาหารแบบ วันต่อวัน ยังไม่รู้จักการสะสมอาหารและเลี้ยงสัตว์ ทั้งผู้หญิงและ ผูช้ ายต่างก็มสี ว่ นช่วยในการผลิตทีเ่ ท่าๆ กันตามหน้าที่ ผูช้ ายเป็น ฝ่ายล่าสัตว์ส่วนผู้หญิงดูแลเรื่องในครัวเรือน ผลผลิตที่ได้ก็จะเป็น ของกลาง แม้ว่าเครื่องมือจะเป็นของส่วนตัว จนกระทั่งเมื่อผู้ชาย เป็นฝ่ายสร้างผลิตและสะสมได้มากกว่าผูห้ ญิง เนือ่ งจากผูช้ ายเป็น ฝ่ายจับอาวุธซึ่งเป็นเครื่องมือในการล่าสัตว์ ดังนั้นจึงทำ�ให้ฐานะ ของผู้ชายล้ำ�หน้าเกินฐานะผู้หญิง ผู้ชายจึงได้ครองทรัพยากรที่มี ผลต่อศักยภาพการผลิต(ฝูงสัตว์) เมื่อฝ่ายที่ถืออำ�นาจในการผลิต อยู่ในมือ สามารถสร้างและสะสมสมบัติได้ ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องล้มล้างประเพณีการสืบทอดทรัพย์ สมบัตแิ บบเดิม คือจากการแต่กอ่ นผูม้ สี มบัตเิ สียชีวติ ลงสมบัตขิ อง ผู้ชายจะต้องตกทอดเป็นของโคตรตระกูล ที่ต้องตกเป็นของเด็ก และผูห้ ญิง ซึง่ เด็กทีไ่ ด้รบั มรดกก็อาจจะไม่ใช่ลกู ของตนก็ได้ เพราะ ในช่วงแห่งการสมรสแบบหมู่ จะเป็นการสืบเชือ้ สายกันทางมารดา คือไม่มใี ครรูว้ า่ ใครเป็นพ่อเด็ก ด้วยเหตุนเี้ องจึงจำ�เป็นต้องเปลีย่ นแปลง ระบบครอบครัวให้เป็นแบบ “ระบบผัวเดียวเมียเดียว” เพื่อ เป็นการตอบสนองการยกมรดกและกรรมสิทธิ์ ให้สามารถสืบได้ ว่าใครเป็นบุตรแท้ๆ ของตนเอง การเปลีย่ นมาเป็นระบบผัวเดียวเมียเดียวนีเ้ อง จึงเป็นการ เอือ้ อำ�นวยให้เกินเป็นกรรมสิทธิส์ ว่ นบุคคลขึน้ จากทีแ่ ต่กอ่ นทรัพย์


turnleftthai.blogspot.com

สมบัติต้องเป็นของโคตรตระกูล ก็มาเปลี่ยนเป็นของลูกที่สืบเชื้อ สายทางบิดา และนี่คือจุดเริ่มต้นแรกของการมีระบบกรรมสิทธิ์ และเมือ่ มีระบบกรรมสิทธิเ์ กิดขึน้ แล้ว ก็เป็นอันว่าเกิดความ ไม่เสมอภาคกันเกิดขึน้ ผูห้ ญิงตกอยูใ่ นสภาพทีม่ ฐี านะต่�ำ กว่าผูช้ าย เนือ่ งจากผูช้ ายเป็นผูถ้ อื อำ�นาจในการผลิต รูปแบบการถือครองจึง เปลี่ยนไป จากที่เคยครอบครองโดยชุมชน ก็กลับกลายเป็นการ ครอบครองโดยปัจเจก รวมถึงรูปแบบของครอบครัวก็ตอ้ งสลายไป โดยปริยาย การอยู่กับแบบสังคญาติไม่มีอีกต่อไป ระบบชาติวงษ์ ก็ถูกทำ�ลายลง ผู้นำ�ของระบบเริ่มยึดเอาทรัพย์สินที่เคยเป็นส่วน รวมมาไว้เป็นกรรมสิทธิส์ ว่ นตัว เมือ่ พลังการผลิตของสังคมพัฒนา ไปอีกขั้นหนึ่ง สังคมก็สามารถผลิตผลผลิตส่วนเกินขึ้นมาได้ และ การมีผลผลิตส่วนเกินนีเ้ อง ทีเ่ ป็นพืน้ ฐานสำ�คัญของการสร้างชนชัน้ ขึ้นมา พร้อมด้วยปรากฏการณ์การมีทาสในสังคม เมื่อระบบชาติวงษ์ได้สลายไป จนเกิดเป็นชนชั้นขึ้นใน สังคมแล้ว สิง่ ทีม่ าแทนการปกครองจากระบบชาติวงษ์นนั้ คือ “รัฐ” รัฐเป็นผลผลิตทางสังคมอย่างหนึง่ การบังเกิดขึน้ ของรัฐนัน้ เท่ากับ ว่า เป็นการสถาปนากลุม่ อำ�นาจขึน้ มาอันหนึง่ เพือ่ มีอ�ำ นาจในการ ปกครองคนส่วนใหญ่ที่อยู่ใต้อำ�นาจการปกครอง รัฐเป็นสถาบันที่ ทำ�ตัวเหินห่างจากคนในรัฐ หน้าทีข่ องรัฐคือเป็นตัวชะลอการปะทะ กันของชนชัน้ ในสังคม หรือหากมีการปะทะกันเกิดขึน้ รัฐจะมีเครือ่ ง มือในการควบคุมคนใต้ปกครอง โดยใช้ คุก ศาล ทหาร ตำ�รวจ ใน การปราบปราม และสถาบันของรัฐนัน้ จะดำ�รงได้ตอ้ งเก็บภาษีจาก คนในรัฐ ซึ่งก็เก็บโดยข้าราชการที่เป็นตัวแทนของรัฐ รัฐนั้นได้ สร้างกฎเกณฑ์และกฎหมาย ที่อ้างว่าเพื่อเป็นการทำ�ให้สังคมและ ชนชั้นเกิดความเป็นกลาง แต่แท้จริงแล้วไม่ใช่ รัฐไม่มีความเป็นก ลาง รัฐเป็นเพียงแต่เครื่องของชนชั้นใดชนชั้นหนึ่ง ที่มีอำ�นาจใน สังคมเท่านั้นเอง เมื่อชนชั้นใดมีอำ�นาจที่สุดในสังคม ชนชั้นนั้นก็ จะได้รัฐเป็นเครื่องในการกดขี่อีกชนชั้นหนึ่งในสังคม สิ่งที่เองเกลส์ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “กำ�เนิดครอบครัว ของมนุษยชาติ ระบอบกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลและรัฐ” นั้นมี ใจความสรุปได้ดังนี้ “ในยุคบุพกาลก่อนที่จะมีระบบชนชั้นเกิดขึ้นนั้น ไม่ได้มี

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

7

รัฐอยูอ่ ย่างทีเ่ ห็นในยุคปัจจุบนั แต่เมือ่ สังคมมีชนชัน้ เกิดขึน้ ดังนัน้ จึงมีความจำ�เป็นต้อง จัดตั้งองค์การพิเศษเพื่อสนับสนุนการขูดรีด ส่วนเกินจากชนชั้นแรงงาน รัฐเป็นองค์กรพิเศษที่ใช้ความรุนแรง และบังคับในคนใต้ปกครองให้ขึ้นตรงต่อความรุนแรงอย่างเป็น ระบบ โดยใช้เครื่องมืออย่าง คุก ศาล ทหาร ตำ�รวจ ประวัติศาสตร์ ได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐนั้นไม่ใช่สงิ่ ที่เกิดมาพร้อมกับฟ้าดิน และ ก็ไม่ใช่สิ่งที่จะอยู่คู่กับฟ้าดินไปจนชั่วกัลปาวสาน” ดังนัน้ พืน้ ฐานของการจะเข้าใจการเกิดรัฐ เราควรต้องศึกษา เรื่องการกำ�เนิดครอบครัวด้วย เพราะทั้งสองเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ เกีย่ วข้องกันอย่างแยกไม่ออก ทัง้ นีก้ ารศึกษาเรือ่ งกำ�เนิดครอบครัว ยังเป็นพืน้ ฐานความรูท้ สี่ �ำ คัญอีกประการหนึง่ ทีจ่ ะช่วยให้เราเข้าใจ ปัญหาการกดขี่เพศสตรีมากขึ้นอีกด้วย ซึ่งสามารถหาอ่านได้เพิ่ม เติมในงานแปลของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ที่มีชื่อเรื่องว่ากำ�เนิด ครอบครัว ซึ่งเมื่ออ่านเรื่องนี้จบแล้ว จะส่งผลให้เราเข้าใจรัฐและ มองภาพรัฐได้กระจ่างขึ้น ยามที่เราอ่านหนังสืออีกเรื่องหนึ่งที่เลนิ นเขียนไว้คือ “รัฐกับการปฏิวัติ” เอกสารอ้างอิง

กุหลาบ สายประดิษฐ์. (2524). กำ�เนิดครอบครัวของมนุษยชาติ ระเบียบสังคมของมนุษย์. ม.ป.ท.: ก่อไผ่. ใจ อึ๊งภากรณ์ และคณะ. (2545). อะไรนะลัทธิมาร์คซ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ชมรมหนังสือประชาธิปไตยแรงงาน.


8

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

จัดตั้ง

นุ่มนวล ยัพราช แปล

เมื่อขบวนการเคลื่อนไหวเลือกจับอาวุธ1 ไมค์ กอนซาเลซ เสนอว่าการต่อสู้ที่จับอาวุธมีทางเป็นไปได้ ก็ต่อเมื่อมันเป็นการตอบโต้ต่อการถูกปราบปรามโดยรัฐ หลายคนมอง ว่าขบวนการเคลื่อนมวลชนเดินผิดแนวทางโดยเลือกใช้แนวทางการ ต่อสู้แบบจับอาวุธ ในทุกมิติของการต่อสู้แบบกองกำ�ลังมันพลิกคว่ำ� ความทรงพลังอันยอดเยีย่ มของมวลชนไปสูส่ งครามกลางเมืองทีเ่ ต็มไป ด้วยความเจ็บปวด ผูว้ จิ ารณ์มอี ารมณ์ความโศกเศร้าแทนทีจ่ ะเป็นความ โกรธแค้น เขามองว่าขบวนการปฏิวัติได้สูญเสียความชอบธรรม และ การหยุดการนองเลือดกลายเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญมากที่สุด พวกนี้ เสียดายที่ขบวนการปฏิวัติไม่เลือกเดินในแนวทางสันติวิธีเท่านั้น แต่ ไมค์ กอนซาเลซ คิดว่าข้อเสนอนี้ ไม่ได้รบั การพิสจู น์ในทางประวัตศิ าสตร์ ขบวนการปฏิวตั ไิ ม่ได้เลือกทีจ่ ะจับอาวุธง่ายๆ ถ้าเป็นการตัดสินใจภาย ใต้ยุทธศาสตร์การต่อสู้ปกติ แต่พวกเขาถูกบังคับด้วยสถานการณ์ ทุกรัฐทุนนิยมมันดำ�รงอยู่ได้ภายใต้เงื่อนไขสุดท้ายคือการใช้ กำ�ลังบังคับ หรือที่ แอนโทนีโอ กรัมชี่ นักปฏิวัติชาวอิตาลี่ ได้อธิบาย ไว้ “กำ�ปัน้ เหล็กของรัฐจะถูกปกปิดด้วยถุงมือกำ�มะหยี่ ภายใต้สถานการณ์ ที่เป็นปกติชนชั้นนำ�เลือกที่จะปกครองด้วยถุงมือกำ�มะหยี่ภายใต้พันธ สัญญา หรือ กฎหมาย มากกว่าที่จะใช้กำ�ลังบังคับ แต่เมื่อใดที่รัฐถูกท้า ท้ายอย่างหนัก การใช้ก�ำ ลังบังคับปรามอย่างป่าเถื่อนจะเผยตัวของมัน ออกมาอย่างเป็นระบบ” กรณีตวั อย่างทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศชีลี ในปี 1973(๒๕๑๖) ชนชัน้ กรรมาชีพได้เริม่ เปลีย่ นแปลงโครงสร้างและสถาบันต่างๆของสังคม และ สามารถตัง้ คำ�ถามและท้ายท้ายโครงสร้างอำ�นาจของรัฐเดิมได้อย่างทรง พลัง หลังจากนั้นพวกเขาถูกตอบโต้กลับจากอำ�นาจรัฐอย่างป่าเถื่อน โดยกองทัพได้ปราบปรามคนงานอย่างเป็นระบบด้วยรัฐประหารของ นายพลปิโนเช่ นายพลเผด็จการ ได้พูดว่าเขากำ�ลังต่อสู้กับศัตรูภายใน –ใครก็ตามที่เป็นและสร้างปัญหาให้กับระเบียบเดิมของชนชั้น ปกครองนั่นเอง ในทศวรรษต่อมา มาเกเรท แททเชอร์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษ ได้ใช้ประโยคเดียวกันเพื่อปราบทำ�ลายการนัดหยุดงานของคนงาน เหมืองแร่ ผ่านการระดมกองกำ�ลังของรัฐ เช่นเดียวกัน เมือ่ ประธานาธิบดี บาชา อัลอะสัด ของซีเรีย ออกมาประกาศว่าเขาจะใช้อาวุธเคมีและชีวิ ภาพ เพื่อต่อสู้กับฝ่ายกบฏซึ่ง อัลอะสัด อ้างว่าเป็น “พวกต่างชาติ” มันมีสาระอันเดียวกันอย่างสุดขั้ว

การป้องกันตัวเอง คำ�ถามเกีย่ วกับวิธกี ารทีจ่ ะปกป้องขบวนการอย่างไรเป็นคำ�ถาม ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ถ้าพวกเรารู้ล่วงหน้าว่ารัฐทุนนิยมจะใช้กองกำ�ลังติด อาวุธปรามปรามเรา ทุกวันนีใ้ นซีเรีย ขบวนการเคลือ่ นไหวทีเ่ ริม่ ต้นด้วยความสันติ เพือ่ เรียกร้องให้มกี ารปฏิรปู ได้หนั มาเลือกใช้แนวทางการจับอาวุธเพือ่ ตอบโต้การสังหารโหดของรัฐซีเรีย ซึ่งกำ�ลังเกิดขึ้น นี่ไม่ใช่สูตรที่จะนำ� ไปสู่ความพ้ายแพ้ของมวลชน กองกำ�ลังขนาดใหญ่ของรัฐเต็มไปด้วย อาวุธมหาศาลแต่ไม่ได้หมายความว่ามันจะเป็นเครื่องมือที่ปราบปราม ประชาชนที่กำ�ลังลุกสู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเสมอไป ประวัติศาสตร์ได้เสนอหลายช่วงเหตุการณ์ให้เราศึกษา ที่ ดุลอำ�นาจไม่ได้ไปในทิศทางของรัฐ จาก คอมมูนปารีส 1879 ถึง การ ปฏิวัติรัฐเซีย และ จากการปฏิวัติสเปน 1936 ถึง การลุกขึ้นสู้ของชาว อาหรับ(อาหรับสปริง) ด้วยเหตุผลทีเ่ ฉพาะกับช่วงเวลาหนึง่ ๆ ทีป่ ระชาชน ธรรมดา ปฏิเสธที่จะถูกปกครองด้วยกติกาเดิมๆ ขบวนการมวลชนได้ ผุดขยายขึ้นมา เหมือนกับที่มันได้เกิดขึ้นในช่วงนี้ที่ประเทศซีเรีย ในคอมมูนปารีส ภายในกำ�แพงเมืองพวกเขาได้สร้างรัฐบาล ของชนชั้นกรรมาชีพเป็นครั้งแรกในโลก แต่พวกเขาได้ถูกบังคับให้ ปกป้องตัวเอง จากการบุกเข้ามาของกองทัพปรัสเซียและจากการโจมตี ของรัฐบาลทุนนิยมฝรั่งเศส เพื่อปกป้องตนเองคอมมูนปารีสต้องจัดตั้ง กองกำ�ลังแห่งชาติขึ้นมา ซึ่งมันเป็นอะไรที่มากกว่ากองทัพ เพราะมัน เป็นทั้งกองกำ�ลัง และองค์กรจัดต้องของชนชั้นกรรมาชีพและเป็นรัฐใน เวลาเดียวกัน ปัญหาของคอมมูนปารีสไม่ได้อยู่ที่ว่าพวกเขาจับอาวุธ เร็วเกินไปหรือไม่ คาร์ล มารค ได้กล่าวไว้วา่ “กองกำ�ลังปารีสคือกอง กำ�ลังติดอาวุธแห่งการปฏิวัติ” แต่คอมมูนปารีสมันถูกทำ�ลายไป เพราะพวกเขาไม่ได้ท้าท้ายรัฐทุนนิยมโดยตรงและกองกำ�ลังของรัฐ ทุนนิยมนี้ อีกตัวอย่างหนึง่ คือสงครามกลางเมืองสเปน หัวหน้าเผด็จการ ทหารที่ทำ�รัฐประหารในเดือน กรกฎาคม 1936(๒๔๗๙) มีความมั่นใจ มากว่าจะสามารถเอาชนะต่อรัฐบาลสาธารณรัฐสเปนได้ภายในไม่กี่วนั แต่กลับกลายเป็นว่าเกิดสงครามกลางเมืองยาวนานถึง 3 ปี

กองกำ�ลังประชาชนของกรรมาชีพสเปน การขัดขืนรัฐประหารของกรรมาชีพได้ท�ำ ให้สถานการณ์เปลีย่ น

แปลจาก Arms and the People, edited by Mike Gonzalez and Houman Barekat, looks at popular movements from the Paris Commune to the Arab Spring. It is out on Pluto Press later this year จาก http://www.socialistworker.co.uk/art.php?id=29322 (16/08/2012) 1


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

คนงานมีอาวุธน้อยกว่าฝ่ายกองทัพ แต่แนวคิดทางการเมืองและการ ร่วมกันสู้ คือ สิง่ ทีท่ ำ�ให้กรรมาชีพสามารถยับยัง้ ทหารมืออาชีพได้ พวก เขาไม่ได้ต่อสู้เพื่อปกป้องรัฐบาล แต่เป็นการต่อสู้อย่างต่อเนื่องเพื่อ เปลีย่ นแปลงสังคม มันเป็นการปฏิวตั ทิ อี่ ยูบ่ นพืน้ ฐานประชาธิปไตยของ คนงานและความเป็นธรรมทางสังคม โศกนาฎกรรมของกรรมาชีพสเปน ไม่ได้อยู่ที่ว่าพวกเขาติดอาวุธและต่อสู้กับพวกฟาสซิสต์ แต่มันอยู่ที่ว่า พวกเขาถูกบังคับให้วางอาวุธของพวกเขาลง พรรคคอมมิวนิสต์(สายส ตาลิน)และแนวร่วมของเขาได้บงั คับให้องค์กรมวลชนทีล่ กุ ขึน้ สูท้ า่ มกลาง บรรยากาศประชาธิปไตยต้องวางอาวุธและส่งให้รฐั บาลทีต่ อ้ งการปกป้อง อำ�นาจของรัฐทุนนิยม

9

กองทัพ

บ่อยครั้งฝ่ายซ้ายจะอาศัยการแตกแยกในกองทัพท่ามกลาง การปฏิวัติ และนายทหารรากหญ้าจะหันไปต่อต้านผู้บังคับบัญชาแทน เรื่องแบบนี้มันเกิดขึ้น แต่มันจะไม่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ทุกกองกำ�ลัง ของรัฐจะเต็มไปด้วยชนชัน้ กรรมาชีพทีถ่ กู เกณฑ์ไปเป็นกองกำ�ลัง นาย ทหารชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่ตายในประเทศอัฟกานิสถาน โดย ส่วนใหญ่ก็เป็นชนชั้นกรรมาชีพ ในทางกลับกันการตายของผู้บังคับ บัญชาเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นยาก แต่จะกลายเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญใน ข่าวภาคค่ำ�ทันที แต่การจัดตั้งทหารเกณฑ์ในกองทัพของรัฐไม่ง่ายเหมือนการ จัดตั้งสหภาพแรงงานในสถานที่ทำ�งาน ทหารเกณฑ์จะตกอยู่ภายใต้ อมเกลาเป่าหูให้เชือ่ ฟัง นักปฏิวตั ชิ าวเยอรมัน คาร์ล ตอนนี้ มันมีเสียงเรียกร้องในทำ�นองเดียวกัน กระบวนการการกล่ ไลบนิค ได้เคยพูดว่า ลัทธิทหารสมัยใหม่ คือ “การติดอาวุธให้กับ ในกรณีของซีเรียให้มีการหยุดยิง แต่ในสภาวะ ประชาชนเพือ่ ให้ประชาชนสูก้ นั เอง, กรรมาชีพส่วนหนึง่ ถูกบังคับ ปัจจุบนั และเงือ่ นไขแบบนี้ การปลดอาวุธกองกำ�ลัง ให้กลายเป็นผู้กดขี่” เขากล่าวต่อว่า “ทหารได้กลายเป็นศัตรูและ เป็นฆาตกรต่อชนชั้นของตัวเอง ต่อสหาย เพื่อน พ่อแม่ พี่สาว กบฎ จะเป็นการเปิดทางให้รัฐเผด็จการซีเซียแก้ น้องสาว และเด็กๆ, พวกเขาได้ฆาตกรรม ทั้งอดีตและอนาคต ของตนเอง” หนังฮอลลีวูดได้แสดงให้เราเห็น ทหารเกณฑ์ถูกทำ�ลาย แค้นเอาคืนอย่างเหี้ยมโหดเท่านั้น ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และแปลกแยก ทั้งหัวใจและร่างกาย ถูกจับ แยกออกไปจากโลกของตนเอง จากชนชั้นของตัวเอง พวกเราจะต้องตระหนักว่ารัฐที่ใช้ความรุนแรงภายใต้การถูก ในเรื่องลัทธิความคิด ทหารจะถูกเตรียมเพื่อให้ป้องรัฐให้พ้น ท้าทาย มันคือสัญญานของความอ่อนแอ ของการมีวิกฤติอย่างหนัก และการไร้ประสิทธิภาพของรัฐในการเผชิญหน้ากับความท้าทายจาก จากภัยที่มาจากศัตรูข้างนอก ใบหน้าของพวกศัตรูได้เปลี่ยนไปตาม มวลชน แน่นอนมันไม่ได้หมายความว่าพวกเรากำ�ลังเรียกร้องให้ใช้ กาลเวลาแต่สาระสำ�คัญยังเหมือนเดิม คือ “การเป็นคนอื่น” ไม่ว่าจะ ยุทธศาสตร์การต่อสู้แบบติดอาวุธ การปกป้องการปฏิวัติและความ เป็นกรณีรัสเซียในช่วงสงครามเย็นหรืออาหรับในปัจจุบัน แต่ในทุก ก้าวหน้าของมันคือสาระหลักสำ�คัญ อย่างไรก็ตามอาวุธที่ทรงพลังมาก กองทัพมันมีการเตรียมตัว ถ้ามาถึงจุดหนึ่ง รัฐทุนนิยมพร้อมที่จะใช้ ที่สุดในการต่อสู้ของชนชั้นเรา ไม่ใช่ปืนยาว หรือ การประท้วงบนท้อง กำ�ปั้นเหล็กนั้นเพื่อทำ�ลายประชาชนของตนเอง ถ้าประชาชนเหล่านั้น ถนน แต่มันคือ การร่วมกันควบคุมปัจจัยการผลิต การปฏิวัติ เหนือสิ่ง ลุกขึ้นมาท้าท้ายรัฐและระบบของมัน แต่นี่ไม่ได้หมายความว่ามันไม่มี อืน่ ใดมันคือการเปลีย่ นอำ�นาจทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของชนชัน้ ปกครอง ความหวัง ประเด็นไม่ได้อยูท่ วี่ า่ มวลชนจะเอาชนะกองกำ�ลังทหารในรูป ซึง่ เป็นคนส่วนน้อยไปสูป่ ระชาชนคนส่วนใหญ่ ซึง่ มันไม่ได้หมายถึงแค่ แบบการต่อสู้ทางการ ถ้าเป็นแบบนี้ นักปฏิวัติคงไม่มีทางสำ�เร็จ พวกเรามีอาวุธอย่างอื่น นั่นคือ ความคิด ในการลุกขึ้นสู้ของ การต่อสู้ด้วยอาวุธแต่มันคือการเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจำ�วัน มวลชน พวกเราไม่ต้องการสู้กับทหารทั้งหมดแต่พวกเราต้องการโน้ม การปฏิวัติจะเอาชนะกองทัพได้อย่างไร น้าวพวกเขาให้เปลี่ยนใจ ถ้ากองทัพแตกแยก มันเป็นเพราะว่าองค์กร อย่างที่พวกเราเห็น กองกำ�ลังติดอาวุธคือแนวป้องกันสุดท้าย ทางการเมืองของชนชั้นกรรมาชีพเอาชนะความคิดกระแสหลักในหมู่ ของรัฐทุนนิยมเมือ่ มันถูกท้าทาย ดังนัน้ ประเด็นหลักทีเ่ ราต้องศึกษาคือ ทหาร โดยการเสนออนาคตที่ดีกว่าให้กับพวกเขา


10

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

สังคมใหม่

ลั่นทมขาว

ปลาเล็กๆ ในแม่น้ำ�ใหญ่ พรรคปฏิวัติสังคมนิยมเหมือนปลาตัวเล็กที่ว่ายน้ำ�ในแม่น้ำ� ใหญ่ และปัญหาหลักที่พรรคต้องจัดการเสมอคือ จะรักษาจุดยืนและ ขยายสมาชิกองค์กรอย่างไร พร้อมๆ กันนั้นต้องทำ�งานแนวร่วมและ ขยายสมาชิกแนวร่วมในลักษณะที่ประนีประนอมกับเสียงส่วนใหญ่อีก ด้วย ทั้งสองแนวที่ขัดแย้งกันนี้มีความสำ�คัญเท่ากัน ไม่ใช่ว่าอันหนึ่ง เป็นเรื่องหลักอีกอันเป็นเรื่องรอง คำ�ว่า “พรรคปฏิวัติสังคมนิยม” เป็นศัพท์เฉพาะ และเลนิน เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญสำ�คัญในการสร้างพรรคและการปรับการปฏิบตั กิ ารของ พรรคตามสถานการณ์ที่แตกต่างกัน บางครั้งปลาตัวเล็กของพรรคว่าย น้ำ�ตามกระแสน้ำ�เชี่ยวขนาดใหญ่ บางครั้งต้องทวนกระแส บางครั้ง กระแสน้ำ�เลิกไหล นิ่งและแห้งลง แต่ในทุกสถานการณ์พรรคต้องเป็น จุดรวมศูนย์ของคนก้าวหน้าที่เข้าใจทฤษฏีมาร์คซิสต์จากบทเรียนทั่ว โลกในอดีตและปัจจุบัน เพื่อนำ�มาปฏิบัติ ดังนั้นสมาชิกพรรคต้องเป็น “ศิลปินในการปฏิวัติ” คำ�ว่า “พรรคปฏิวตั สิ งั คมนิยม” ไม่ได้แปลว่าต้องจดทะเบียน และลงสมัครรับเลือกตัง้ ในระบบประชาธิปไตยทุนนิยมทุกครัง้ บางครัง้ อาจทำ�แบบนัน้ แต่สว่ นใหญ่เน้นการสร้างองค์กรด้วยการศึกษาและการ ปฏิบตั ิ ซึง่ ต้องทำ�อย่างต่อเนือ่ งและสม่�ำ เสมอเพือ่ ประสานงานการทำ�งาน บางครั้งพรรคอาจไม่เรียกตัวเองว่าพรรคด้วยซ้ำ� เพราะถ้าเล็กเกินไป การเรียกตัวเองว่าพรรคจะกลายเป็นเรื่องตลก ชาวบ้านจะมองว่าอวด เกินเหตุแต่ไม่วา่ จะเรียกชือ่ ตัวเองว่าอะไรก็ตอ้ งปฏิบตั กิ ารเหมือนพรรค ปฏิวัติสังคมนิยม

พรรคปฏิวัติสังคมนิยมตามแนว มาร์คซิสต์ ตามแนวเลนินและตรอดสกี้ ต้องเน้นหลักการว่า “สังคมนิยมมาจากการสร้างด้วยมือของมวลชนผู้ ทำ�งานเท่านัน้ ” ซึง่ แปลว่าการจับอาวุธลุกขึน้ สูข้ อง คนกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่มวลชนย่อมกระทำ�ไม่ได้ นัน้ คือข้อแตกต่างทีเ่ รามีกบั พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

หรือพรรค สตาลิน-เหมาอืน่ ๆ และมันแปลว่าการไว้วางใจให้ “คนอืน่ ” มาปลดแอกเราจะไม่นำ�ไปสู่สังคมนิยม ไม่ว่าพวกนั้นจะเป็น สส. หรือ กองทัพแดง ด้วยเหตุนเี้ รามองว่าสังคมนิยมต้องสร้างจากรากหญ้า ไม่ใช่ บนลงล่าง หรือแบบ “ท่านให้” หลักการว่า “สังคมนิยมมาจากการสร้างด้วยมือของมวลชน ผูท้ �ำ งานเท่านัน้ ” ไม่ได้หมายความว่าพรรคจะปฏิเสธการเข้าร่วมของ ชนชัน้ กลางหรือเกษตรกรหรือใครก็ได้ เพียงแต่วา่ คนเหล่านัน้ เป็นบุคคล ที่รักสังคมนิยม และเราต้อนรับ ซึ่งแตกต่างจากเรื่องของ “พลัง” ที่ จำ�เป็นในการสร้างการเปลี่ยนแปลง ซึ่งพลังนั้นในสังคมทุนนิยมสมัย ใหม่มาจากชนชั้นกรรมาชีพ หรือชนชั้นผู้ทำ�งาน หรือคนที่เป็นลูกจ้าง จะเรียกอะไรก็ได้ ความหมายเหมือนกันประเด็นคือเขาเป็นผูส้ ร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจทัง้ ปวง ไม่วา่ จะเป็นคนทีท่ �ำ งานในภาคอุตสาหกรรม หรือ ภาคบริการ การทีน่ กั สังคมนิยมเน้นชนชัน้ ผูท้ �ำ งาน ในแง่ของการเป็นพลัง หลักในการเปลี่ยนแปลงหรือต่อสู้ ไม่ได้หมายความว่าองค์กรหลักที่จะ ใช้ในการต่อสู้เพื่อสังคมนิยมจะเป็นสหภาพแรงงาน หรือสภาแรงงาน ทั้งๆ ที่องค์กรแบบนั้นจำ�เป็นอย่างยิ่งในการรวมตัวกันของผู้ทำ�งาน เพื่อต่อรองกับนายทุนหรือรัฐบาล

เราต้องมีองค์กรทางการเมืองด้วย คือต้องมีพรรค ทำ�ไม? ตอนนี้ขบวนการแรงงานไทยขาดนักเคลื่อนไหวสังคมนิยมที่ จะทำ�งานเป็นระบบ ในบางแห่งมีนกั ต่อสูท้ อี่ ยากเห็นแรงงานสูจ้ ริง และ เขาอาจชอบสังคมนิยมด้วย แต่นกั สูแ้ รงงานเหล่านีเ้ ลือกทีจ่ ะหันหลังให้ กับการเมืองภาพกว้างและการสร้างพรรค แนวคิดแบบนี้ ที่เรียกว่า “ลัทธิสหภาพ” (Syndicalism) จะส่งเสริมการนัดหยุดงาน และการ จัดตั้งกลุ่มย่านข้ามรั้วโรงงาน แต่จะไม่เห็นด้วยกับการนำ� “การเมือง ภาพกว้าง” ที่ “ไม่เกี่ยวกับแรงงาน” เข้าสู่ขบวนการแรงงาน เช่น เรื่องสิทธิสตรี สิทธิคนรักเพศเดียวกัน ปัญหาภาคใต้ ปัญหาโลกร้อน ปัญหาในระบบการศึกษา หรือประเด็นการเมืองสากลปัจจุบัน หรือ แม้แต่เรือ่ งการต่อสูข้ องเสือ้ แดงเพือ่ ล้มอำ�มาตย์ หรือวิธกี ารตัง้ พรรคการเมือง อิสระจากเพื่อไทยหรือ นปช. เขาอาจไม่อยากชูเป็นประเด็นสำ�คัญใน ขบวนการแรงงาน ทัง้ นีเ้ พราะเขามองว่าองค์กรหลักทีจ่ �ำ เป็นในการต่อสู้ คือสหภาพหรือสภาแรงงาน


turnleftthai.blogspot.com

ในประวัติศาสตร์ของขบวนการแรงงานสากล แนว “ลัทธิ สหภาพ” มีรปู แบบหลากหลายทีซ่ บั ซ้อน มีพวกทีม่ องว่าควรเคลือ่ นไหว ในเรือ่ งปากท้องอย่างเดียวและไม่กล่าวถึงการเมืองเลย นีค่ อื ลัทธิสหภาพ ฝ่ายขวา แต่ในขณะเดียวกันมีลทั ธิสหภาพฝ่ายซ้าย เป็นฝ่ายซ้ายปฏิวตั ิ ด้วย พวกนี้มองว่าการเมืองกับเศรษฐกิจปากท้องแยกออกจากกันไม่ ได้ และเขาต้องการปฏิวัติล้มทุนนิยม อย่างไรก็ตามเขาจะต่างจากแนว มาร์คซิสต์ของ มาร์คซ์ เองเกิลส์ เลนิน และตรอดสกี้ ตรงที่เขาไม่เห็น ด้วยกับการสร้างพรรคปฏิวัติ ในรูปธรรม ทั้งๆ ที่อาจพูดถึงบ้างใน นามธรรม ในการปฏิวัติสเปนปี 1936 พวกลัทธิสหภาพชนิดซ้ายปฏิวัติ ได้รับอิทธิพลจากแนวอนาธิปไตย-สหภาพแรงงาน (AnarchoSyndicalist) เขายึดโรงงานและนำ�มาบริหารภายใต้คนงานเอง และ เขาสร้างกองกำ�ลังสู้กับฟาสซิสต์ แต่เขาไม่ยอมยึดอำ�นาจรัฐ ซึ่งเปิด ช่องทางให้พรรคคอมมิวนิสต์สายสตาลินเข้ามามีอทิ ธิพลแทน และพรรค คอมมิวนิสต์นี้ต้องการประนีประนอมกับฝ่ายทุนตามคำ�สั่งสตาลินใน รัสเซีย บทเรียนที่สำ�คัญคือถ้าไม่สร้างพรรคปฏิวัติสังคมนิยม ถ้าไม่ สนใจปัญหาอำ�นาจรัฐ และถ้าไม่สนใจการเมืองภาพกว้าง พลังของ ชนชั้นกรรมาชีพผู้ทำ�งาน จะไม่ถูกนำ�ไปใช้เพื่อการเปลี่ยนระบบอย่าง แท้จริง ปัญหาของการใช้สหภาพแรงงานเป็นองค์กรต่อสู้อย่างเดียว โดยไม่สร้างพรรค คือในประการแรกเขาไม่สามารถจัดตั้งกลุ่มอื่นๆ ที่ ไม่ใช่คนงาน เช่นนักศึกษา คนกลุ่มน้อย หรือคนที่อยากรณรงค์เรื่อง 112 เป็นต้น มันนำ�ไปสู่การเน้นประเด็นการเมืองปากท้องอย่างเดียว หรือสิ่งที่เขาอ้างว่าแรงงานสนใจอย่างเดียวแต่คนงานก็คือมนุษย์ เขา สนใจเรื่องที่ใหญ่กว่าเรื่องปากท้องได้ และในสมัยนี้ในไทย ประเด็น การเมืองประชาธิปไตยแหลมคมร้อนแรงกว่าเรื่องปากท้อง ในประการที่สององค์กรสหภาพแรงงานต้องการรับทุกคนใน สถานที่ทำ�งานเข้ามาเป็นสมาชิก ซึ่งแน่นอนรวมถึงงคนที่มีความคิด ฝ่ายขวาตามชนชั้นปกครองและคนที่ยังขี้เกียจคิดอีกด้วย และแกนนำ� ของสหภาพจะต้องปกป้องความสามัคคีภายในสหภาพระดับหนึง่ เพราะ กลัวว่าจะแพ้การเลือกตัง้ และหลุดจากตำ�แหน่งในสหภาพ จึงไม่สามารถ

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

11

ถกเถียงแนวคิดอย่างตรงไปตรงมาได้ ไม่เหมือนพรรคหรือกลุม่ การเมือง ทีท่ �ำ งานภายในสหภาพและพร้อมจะเป็นเสียงส่วนน้อยเพือ่ รณรงค์ตาม แนวความคิดตนเอง ในประการทีส่ าม ถ้านักลัทธิสหภาพแบบนีแ้ พ้การเลือกตัง้ เขา จะไม่มอี งค์กรเหลือเลย ประเด็นนีเ้ ป็นปัญหาด้วยเวลาคนงานไม่มคี วาม มัน่ ใจในการต่อสู้ ไม่ยอมนัดหยุดงานในช่วงหนึง่ กิจกรรมทางการเมือง ก็ลดลง ไม่เหมือนพรรค ตัวอย่างทีด่ คี อื องค์กร IWW “กรรมกรสากล ของโลก” ทีเ่ ริม่ นำ�การต่อสูอ้ ย่างดุเดือดในสหรัฐอเมริกาเมือ่ ต้นศตวรรษ 1900 องค์กร IWW สามารถสร้างสหภาพใหญ่สหภาพเดียวสำ�หรับคน งานสหรัฐหลายแสนคน สามารถนำ�การต่อสู้อย่างดุเดือด แต่พอกระ แสลงองค์กรก็สลายไป ตรงกันข้ามกับพรรคของเลนิน ซึ่งปรับตัวตาม กระแสได้ ในช่วงทีก่ ารต่อสูข้ าลง จะเน้นการศึกษาภายในและการรักษา จุดยืนและสมาชิกไม่ให้ท้อ และจะทำ�หน้าที่เป็น “ความทรงจำ�ของ ชนชั้นกรรมาชีพผู้ทำ�งาน” เพื่อถ่ายทอดความทรงจำ�นั้นไปสู่คนรุ่น ใหม่เมื่อถึงเวลาสู้ นอกจากสหภาพแรงงานแล้ว ขบวนการเคลือ่ นไหวทางสังคม เช่นขบวนการเสื้อแดง มักเป็นขบวนการรณรงค์เฉพาะหน้า ซึ่งมีทั้งขา ขึ้นและขาลงของการต่อสู้ มันไม่มีทางที่ขบวนการอย่างคนเสื้อแดงจะ มีรูปแบบถาวรได้ และพรรคต้องพร้อมจะปรับตัวกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงเสมอ แต่ถ้าละลายตัวเองเข้าไปในขบวนการเคลื่อนไหว ทางสังคม พอถึงขาลงก็จะไม่มีอะไรเหลือ ในประการสุดท้ายสหภาพแรงงานไม่สามารถยึดอำ�นาจรัฐได้ เพราะเป็นองค์กรที่สร้างขึ้นมาเพื่อต่อรองกับนายจ้างภายใต้ระบบ ทุนนิยม และที่สำ�คัญคือสหภาพหรือสภาแรงงานไม่สามารถประสาน ทุกซีกทุกส่วนของสังคมทีก่ า้ วหน้าเพือ่ ยึดอำ�นาจรัฐได้ ไม่เหมือนพรรค ปฏิวัติสังคมนิยมที่ทำ�หน้าที่เป็นสะพานเชื่อมมวลชนซีกต่างๆ ในการ ต่อสู้

บทเรียนสากลในยุคปัจจุบัน พรรคหรือองค์กรปฏิวตั ิ ทีเ่ ป็นปลาตัวเล็กๆ ทีพ่ ยายามว่ายไป กับมวลชนกระแสใหญ่ทา่ มกลางการต่อสูใ้ นสมัยนี้ มีหลายตัวอย่าง และ ประสบการณ์ก็หลากหลาย บางครั้งได้ผล บางครั้งล้มเหลว แต่ในทุก (อ่านต่อหน้า 12)


12

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

(ต่อจากหน้า 11)

กรณีมีการสร้างองค์กรของตนเองพร้อมๆ กับการทำ�งานแนวร่วม และ สิ่งที่ชัดเจนคือ ในเรื่องแนวร่วมไม่มีอะไรคงที่ถาวร ในอียปิ ต์องค์กรปฏิวตั สิ งั คมนิยมต้องทำ�งานใต้ดนิ ในยุคเผด็จ การมูบารัก และเอาตัวรอดท่ามกลางความยากลำ�บาก บางครั้งต้องจัด การปราศัยบนท้องถนนในขณะที่ต่อสู้กับตำ�รวจ ผู้ปราศัยต้องขี่คอส หายเวลาพูดเพราะตั้งเวทีถาวรไม่ได้ มีการก่อตั้ง “ศูนย์วิจัย” เพื่อ ทำ�งานเปิดเผย มีการลงไปติดต่อกับสหภาพแรงงานใต้ดนิ ทีไ่ ม่ยอมถูก ควบคุมโดยสหภาพแรงงานของรัฐ และพอมีการนัดหยุดงานใหญ่ใน โรงงานสิ่งทอต่างๆ ที่เมืองมาฮาลา ในปี 2006 สมาชิกกลุ่มก็เข้าไป ติดต่อกับคนงานและสร้างความสัมพันธ์ พอถึงการลุกฮือทีจ่ ตุรสั ทาห์เรีย องค์กรปฏิวัติสังคมนิยมอียิปต์ ไปมีส่วนร่วมแต่แรกและอยู่ท่ามกลาง มวลชนอย่างต่อเนือ่ ง มีการขายหนังสือพิมพ์ขององค์กรด้วย จุดยืนของ องค์กรต่อพรรคมุสลิมต่างจากฝ่ายซ้ายบางกลุม่ เพราะมีการมองว่าต้อง คุยและสร้างแนวร่วมกับสมาชิกรากหญ้าที่เป็นคนหนุ่มสาวของพรรค มุสลิม ไม่ใช่ไปปฏิเสธเหมารวมหมด ต่อมาในยุคของการต่อสู้หนัก พวกเยวชนเชียร์ฟุตบอล์ “อุล ตรา” เข้ามาเป็นสมาชิกองค์กรปฏิวัติสังคมนิยมพอสมควร เยาวชน เหล่านี้เป็นกลุ่มสำ�คัญที่สู้กับตำ�รวจและทหาร แต่ตอนนี้ภารกิจหนัก ขององค์กรฯ คือการชักชวนให้พวกอุลตราร่วมในกลุ่มศึกษาทางการ เมือง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภสพในการวิเคราะห์สถานการณ์ และเป็นสมาชิก เต็มตัว แต่เยาวชน “อุลตรา” หลายคนอยากเคลื่อนไหวอย่างเดียว อย่างไรก็ตามถ้าไม่มีการสร้างการศึกษาในหมู่สมาชิกใหม่เขาจะอยู่ใน องค์กรไม่นานและจะออกเมื่อ “เบื่อ” ในเยอรมันกลุ่ม “มาร์คซ์ 21” เข้าไปร่วมใน “พรรคซ้าย” Die Linke ซึง่ เป็นพรรคแนวร่วมของพรรคคอมมิวนิสต์เก่าและซีกซ้าย ของพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยที่แยกตัวออกเพราะรับนโยบาย เสรีนิยมไม่ได้ สมาชิกบางคนของ “มาร์คซ์ 21” ได้รับเลือกตั้งเป็น สส. ด้วย ปัญหาใหญ่ของสมาชิก “มาร์คซ์ 21” คือเนื่องจากเป็นคน ทำ�งานการเมืองอย่างจริงจัง เขามักถูกใช้งานโดยฝ่ายอื่นจนเกือบจะ ไม่มีเวลาสร้างและขยายองค์กรของตนเอง อีกปัญหาหนึ่งคือ

“พรรคซ้าย” เน้นการเมืองเลือกตัง้ ในรัฐสภา อย่างเดียว บ่อยครัง้ ไม่สนใจสนับสนุนการนัดหยุด งาน ในบางรัฐของเยอรมันพรรคเข้าทำ�แนวร่วม กับพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยและมีการสนับสนุน แนวเสรีนยิ มด้วย และทัง้ หมดนีท้ ำ�ให้คะแนนเสียง พรรคตกต่ำ�ลง คนทีอ่ ยากเห็นการเปลีย่ นแปลงมีแนวโน้มจะไปเลือก “พรรค โจรสลัด” แทน แต่พรรคนี้มีจุดยืนเดียวคือต่อต้านระบบลิขสิทธิ์ไม่ได้ หวังเปลี่ยนสังคมหรือสู้เรือ่ งประเด็นอื่นๆ สมาชิก “มาร์คซ์ 21” เข้าใจ

ดีว่า “พรรคซ้าย” เป็นปรากฏการณ์ชั่วคราวเท่านั้น เป็นโอกาสที่จะ ขยายองค์กร “มาร์คซ์ 21” ในหมู่ฝ่ายซ้าย แต่ในที่สุดแกนนำ� “พรรค ซ้าย” จำ�นวนมากอยากกลับไปอยู่กับพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตย ในฝรั่งเศสองค์กรสายตรอดสกี้และฝ่ายซ้ายอื่นๆ โดยเฉพาะ สากลที่สี่ เคยสร้าง “พรรคใหม่ต้านทุนนิยม” (NPA) ที่มีจุดยืนต้าน ระบบทุนนิยม แต่ปญ ั หาเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เนือ่ งจากพรรคเน้นการเลือกตัง้ ในรัฐสภาเป็นหลัก ไม่ค่อยสนใจการทำ�งานในขบวนการแรงงาน และ มีโครงสร้างที่ไม่รวมศูนย์จึงมี “ก๊ก” ต่างๆ ที่เถียงกันตลอด “พรรค ใหม่ต้านทุนนิยม” เข้าสู่วิกฤตเมื่อ “แนวร่วมซ้าย” ของ จอห์งลุก มะลานชอง ได้คะแนนนิยมสูงขึ้นเรื่อยๆ “แนวร่วมซ้าย” นี้ประกอบ ไปด้วยนักเคลือ่ นไหวปฏิรปู ทีแ่ ยกตัวออกจากพรรคสังคมนิยม บวกกับ สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ แต่เป็นที่น่าเสียดายที่ “พรรคใหม่ต้าน ทุนนิยม” ไม่ยอมหาทางทำ�งานร่วมด้วย ดังนั้นบทบาทของ “พรรค ใหม่ต้านทุนนิยม” ในสังคมฝรั่งเศสก็ลดลง ที่กรีซ องค์กร “พรรคกรรมกรสังคมนิยม” มีสมาชิกเป็น พัน ซึ่งค่อนข้างมากถ้าเทียบกับประชากรของประเทศ พรรคนี้มีฐาน สำ�คัญในขบวนการแรงงานและสร้าง “แนวร่วมต้านทุนนิยม” เพื่อ เป็นเวทีลงสมัครรับเลือกตัง้ แนวร่วมนี้เน้นจุดยืนว่าวิกฤตประเทศกรีซ ต้องแก้ด้วยการไม่ยอมจ่ายหนี้ให้ธนาคารและนายทุน แต่จะนำ�เงินนี้ มาสร้างงานแทน และจะนำ�ธนาคารมาเป็นของรัฐโดยบริหารผ่านสภา คนงาน นอกจากนีจ้ ะต้องนำ�ประเทศกรีซออกจากสกุลเงินยูโร และออก จากการควบคุมนโยบายเศรษฐกิจโดยธนาคารกลางยุโรป ไอเอ็มเอฟ และฝ่ายบริหารยุโรป ในขณะเดียวกันในประเทศกรีซ พรรคแนวร่วมซ้ายอีกพรรค หนึ่งชื่อพรรค “ซิรีซา” เกือบชนะการเลือกตั้งล่าสุด แต่ทั้งๆ ที่พรรคนี้ สร้างความตืน่ เต้นเพราะประกาศว่าจะปฏิเสธการตัดสวัสดิการและการ ขูดรีดประชาชนเพิ่มผ่านการจ่ายหนี้ให้ธนาคารใหญ่ ในรูปธรรมพรรค “ซิรีซา” พยายามเอาใจนายทุนและพูดเป็นประจำ�ว่าจะไม่นำ�ประเทศ ออกจากสกุลเงินยูโรเป็นอันขาด นอกจากนี้พรรคเกือบจะไม่มีฐานใน ขบวนการแรงงานเลย และไม่ค่อยสนใจกิจกรรมนอกรัฐสภา เช่นการ เดินประท้วงหรือนัดหยุดงาน นีค่ อื สาเหตุที่ “พรรคกรรมกรสังคมนิยม” ไม่ยอมร่วมกับ “ซิรซี า” เพือ่ ทีจ่ ะมีพรรคทางเลือกของฝ่ายซ้ายเมือ่ “ซิ รีซา” หักหลังประชาชนในที่สุด ถ้าเปรียบเทียบกรีซกับฝรัง่ เศส จะเห็นว่าปัญหาในฝรัง่ เศส มาจากการไม่ยอมทำ�งานแนวร่วมกว้างเท่าทีค่ วร แต่ในกรีซต้อง ปฏิเสธแนวร่วมกว้าง มันขึน้ อยูก่ บั ระดับการต่อสูแ้ ละสถานการณ์ จะเห็นว่าการว่ายน้ำ�ของปลาตัวเล็กที่เป็น “พรรคปฏิวัติ สังคมนิยม” ในกระแสการต่อสูข้ องมวลชน ทัง้ ในเวทีการเลือกตัง้ และ ในเวทีการชุมนุมและนัดหยุดงานของมวลชน เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งศึกษาอย่าง รอบคอบ สถานการณ์ในแต่ละประเทศอาจกำ�หนดยุทธ์วธิ ที ตี่ า่ งกัน แต่ สิ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลงคือความสำ�คัญในการสร้างพรรคปฏิวัติที่รักษา จุดยืน และความสำ�คัญในการทำ�งานแนวร่วมชั่วคราวกับมวลชนในรูป แบบที่แตกต่างกัน


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

พลวัต

13

ครรชิต พัฒนโภคะ แปล

ที่มา www.socialistworker.co.uk

ความจริง เบื้องหลัง การสังหารหมู่ที่ “มาริกาน่า” คนงานเหมืองในประเทศอาฟริกาใต้ ๓๔ คน ถูกตำ�รวจ ยิงเสียชีวิต อย่างเลือดเย็น โลกตกตะลึงไปกับภาพข่าวทาง ทีวี เมือ่ สัปดาห์ทแี่ ล้ว เมื่อคนงานทำ�เหมืองในอาฟริกาใต้ ขณะกำ�ลังรวมตัวกัน ประท้วงด้วยการหยุดงาน แต่กลับถูก “วางราบ “ ด้วยอาวุธ ปืนจากเจ้าหน้าที่ตำ�รวจ แต่ความจริงที่อยู่เบื้องหลัง การสังหารหมู่อย่างโหด เหี้ยม ครั้งนี้ยิ่งน่าจะทำ�ให้ ช๊อคมากกว่า การฆ่าหมูค่ รัง้ นี้ ไม่ใช่เป็นเรือ่ งเศร้าทีเ่ กิดจากการตัดสิน ใจผิดพลาด ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพราะความตึงเครียด หรือความ กดดัน ในขณะปฏิบัติงานไปตามหน้าที่ แต่มันเป็นความจงใจ กองกำ�ลังของรัฐไม่ได้กำ�ลังปกป้องตนเอง จากกลุ่มคนงานที่ ติดอาวุธ พวกเขาดำ�เนินการไปตามแผนที่ได้มีการเตรียมมา ล่วงหน้าแล้ว และคนงานที่อยู่ระหว่างประท้วงเหล่านั้น ไม่ได้กำ�ลัง คิดจะเข้าปะทะกับตำ�รวจขณะที่ถูกยิงร่วงลงกับพื้น พวกเขา ถูกล้อมเอาไว้อยู่ก่อนแล้ว และกำ�ลังวิ่งหนีเมื่อได้ยินเสียงปืน จากตำ�รวจดังขึ้น ตามหลัง เรือ่ งนีไ้ ด้รบั การเปิดเผย จากคำ�ให้การของพยานบุคคล ที่อยู่ในเหตุการณ์ และจากการตรวจสอบสถานทีเ่ กิดเหตุ โดย คณะนักวิจัยภาคสนาม ที่มีฐานปฏิบัติการที่ โจฮันเนสเบิร์ก หนึ่งในผู้นำ�การประท้วงครั้งนี้ บอกว่า พวกเราถูกยิง คล้ายกับว่าพวกเราเป็นอาชญากรร้าย แต่ว่าพวกเราไม่ได้ไป ขโมยของของใครเลย ทั้งหมดที่เราต้องการคือ สิทธิของเราที่ ต้องการจะมีชีวิตมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกว่านี้ และต้องการจะมี สภาพแวดล้อมในการทำ�งานที่ดีกว่าที่เป็นอยู่ ผูน้ �ำ การประท้วงอีกคนบอกว่า ในการพบปะกับตำ�รวจ ก่อนการสังหารหมู่จะเกิดขึ้นนั้น มีการเจรจากัน และ “ใน

ระหว่างเจรจา ตำ�รวจได้บอกกับเขาว่า รัฐบาลส่งพวกเรามา และตำ�รวจที่มากันนั้น ได้รับอำ�นาจเต็มในการตัดสินใจ ที่จะ ยิง ที่จะฆ่า” ปีเตอร์ อเล๊กซานเดอร์ และคณะตรวจสอบ ได้เขียน รายงานชิ้นนี้ขึ้น โดยเฉพาะให้กับหนังสือพิมพ์ Socialist Worker ขององค์กร SWP หลักฐานที่เขานำ�เสนอมา ยังไม่ ได้ปรากฏในสื่อกระแสหลักใดๆ ปีเตอร์บอกว่า จากการตรวจสอบของพวกเขา “พวก ผู้ประท้วงถูกล้อมด้วยตำ�รวจและทหารที่ติดอาวุธพร้อม รบ และถูกสังหารลงในขณะที่กำ�ลังวิ่งหนี เมื่อมีเสียงปืน ดังขึ้น”


14

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

มองนอกกรอบ

ยังดี โดมพระจันทร์

เหยื่อ วีรชน กับอุดมการณ์ เรื่องราวสีเทาๆ กับความทรงจำ�ในประวัติศาสตร์ การจัดงานรำ�ลึกถึงวีรชนกรณีกวางจูที่เกาหลีใต้ ในเดือน พฤษภาคมทุกปีมีการจัดงานรำ�ลึกถึงวีรชน เพื่อตอกย้ำ�ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์การลุกขึ้นสู้ของประชาชนเมืองกวางจู กับเผด็จการทหาร (Gwangju People Uprising) ปูมหลังคือในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2523 หลังจากประธานาธิบดี ชอนดูฮวน ขึ้นสู่อำ�นาจได้จับกุมนักการ เมืองหลายคน นักศึกษามหาวิทยาลัยชนนัมจึงจัดชุมนุมคัดค้านและถูก ปราบปรามโดยกำ�ลังติดอาวุธของรัฐ ทำ�ให้ประชาชนกวางจูนับแสน โกรธแค้น เข้ายึดอาวุธจากสถานีต�ำ รวจท้องถิน่ จัดตัง้ กองกำ�ลังติดอาวุธ ต่อสู้กับกำ�ลังทหารทั้งทางบกและทางอากาศของรัฐบาล ประมาณการ ว่ามีผู้เสียชีวิตราว 207 คน และสูญหายกว่า 900 คน เหตุการณ์ผ่าน มา 32 ปี ที่อนุสรณ์วีรชนกวางจู จะมีการประกอบพิธีรลึกโดย นายก รัฐมนตรีมาร่วมงาน รวมทัง้ นักการเมือง นักเคลือ่ นไหวเพือ่ ประชาธิปไตย และญาติวรี ชนเข้าร่วม ขณะทีก่ ลางเมืองกวางจู มีการปิดถนนสายร่วม งานรำ�ลึกกันนับหมื่นคน สิง่ ทีน่ า่ คิดซึง่ สหายจากกลุม่ All Together ซึง่ เป็นกลุม่ ก้าวหน้า ตัง้ ข้อสังเกตคือ ยุคใดทีร่ ฐั บาลเป็นประชาธิปไตย เนือ้ หาการจัดกิจกรรม รำ�ลึกจะเน้นถึงวีรชน และอุดมการณ์ของผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ แต่ หากยุคใดรัฐบาลเป็นแนวปฏิรูป หรือกลุ่มอนุรักษ์นิยมก็จะเรียกผู้เสีย ชีวิตในเหตุการณ์ว่าเป็น “เหยื่อ” ของความรุนแรง รูปธรรมก็คือ การ อธิบายถึงเหตุการณ์โดยไม่ประณามรัฐบาลและกลุ่มนายทหารที่ร่วม มือกันก่ออาชญากรรม โดยเน้นภาพเหยือ่ ผูบ้ ริสทุ ธิเ์ สียชีวติ จากการถูก ลูกหลงแทน เช่น เหยื่อเสียชีวิตในบ้านขณะนั่งกินข้าว หรือไปซื้อของ เสียชิวติ จากเหตุอนื่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่กลุม่ นักศึกษาประชาชนทีเ่ ข้าร่วมจับอาวุธ ต่อสู้ หรือกลุ่มนักศึกษาที่มีองค์กรจัดตั้ง เป็นต้น การเลือกที่จะเสนอ “ความเป็นเหยือ่ ” สร้างภาพ และเรือ่ งราวสีเทาๆ เหล่านีเ้ ป็นการจงใจ บิดเบือนประวัติศาสตร์หรือไม่???

อาชญากรรมรัฐในเหตุการณ์ 6 ตุลา ในความเห็นของนักวิชาการหลาย คน เรื่องของเหตุการณ์นองเลือดไม่มีอะไรลึกลับ และทุกวันนี้ถึงแม้ว่า เราจะขาดข้อมูลบางประการ โดยเฉพาะข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐว่า ใครสั่ง หน่วยอะไรวางแผน และปฏิบัติงานอย่างไร

แต่ขอ้ มูลจากสิง่ ตีพมิ พ์ตา่ งๆ เช่นหนังสือพิมพ์ ในยุคนั้น ตลอดจนบทความในยุคต่อมา รวมกับ ความทรงจำ�ของผู้ที่เกี่ยวข้องก็สามารถประกอบ เป็นภาพรวม ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้สำ�หรับคนรุ่นใหม่ แต่ในทีส่ ดุ คำ�ถามทีว่ า่ ใครสัง่ ฆ่าประชาชนก็ยงั ไม่มี คำ�ตอบ ดร.ธงชัย วินิจจะกูล เสนอเหตุผลประการหนึ่งที่ทำ�ให้เรา ไม่มปี ระวัตศิ าสตร์สาธารณะของเหตุการณ์นวี้ า่ ฝ่ายทีไ่ ด้รบั “ชัยชนะ” ในวันนั้นเป็นฝ่ายที่มีส่วนโดยตรงหรือทางอ้อมในการปราบปราม ล้วน แต่เป็นผูท้ มี่ อี �ำ นาจและอิทธิพลในสังคมไทย ดังนัน้ เขาจึงไม่ได้ประโยชน์ อะไรเลยจากการเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับ 6 ตุลา ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สรุปว่าประวัติศาสตร์ 6 ตุลา เป็น ประวัติศาสตร์ของผู้ชนะ ซึ่งลักษณะนี้ต่างกับประวัติศาสตร์ที่มีความ เจ็บปวดและบาดแผลในประเทศอืน่ บางประเทศทีไ่ ด้รบั การชำ�ระไปแล้ว เนือ่ งจากการชำ�ระดังกล่าวส่งเสริมอุดมการณ์และอำ�นาจของรัฐปัจจุบนั ในประเทศนั้นๆ ที่ต้องขีดเส้นใต้เพราะ เหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 เป็น อีกตัวอย่างหนึ่ง ผ่านมากว่า 35 ปี เราเคยมีรัฐบาลของประชาชนจริง หรือ???

จาก 6 ตุลา 2519 เราเคยมีรัฐบาลของประชาชนหรือไม่??? การปฏิเสธ “แนวทางสังคมนิยม” จาก 6 ตุลาทำ�ให้อดุ มการณ์ ขณะที่เราเห็นใจเหยื่อ เราก็ต้องไม่ลืมวีรชน และอุดมการณ์ พร่าเลือน ของเขา เพราะมิเช่นนั้นพวกนักบิดเบือนประวัติศาสตร์ก็สามารถจะ สร้างเรื่องราว และชุดความคิดอื่นเข้ามาแทนที่ หันมามองสังคมไทย

การเข้าใจเรียนรูถ้ งึ อุดมการณ์ของวีรชนนักสูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง สังคม ถูกปกปิดบิดเบือนไป ให้เป็นเพียงเหยื่อสังหาร และอุบัติเหตุ


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

15

นิยายของคนเมือง ๑

.......................................... ปีสี่เก้า สั่งเสร็จ เผด็จการ

ทางการเมือง โดยเฉพาะการปฏิเสธ “แนวทางสังคมนิยม” ที่เป็นกระแสในหมู่คนหนุ่มสาวขณะนั้น แม้แต่การลอบ สังหารเลขาธิการพรรคสังคมนิยมเมื่อต้นปี 2519 ก็ถูกลืม เลือนจากสังคมไทยไปแล้ว ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ให้ข้อสรุปว่า 6 ตุลา เป็นเรือ่ งของความขัดแย้งทางอุดมการณ์ ยากทีจ่ ะมีผรู้ า้ ย ฝ่ายเดียวที่คนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับว่าเป็นผู้ร้าย ไม่ เหมือนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2519 ที่สังคมโดยรวมยอม สรุปว่าเป็นเพราะความผิดของเผด็จการทหาร ดังนั้น 6 ตุลา จึงถูกทำ�ให้ “ลืม” มากกว่าการจดจำ� เวลาผ่านไป สังคมไทยเปลี่ยนจากการมองว่า นักศึกษาเป็นผูก้ ระทำ�ผิด มาเป็นการมองนักศึกษาว่าเป็น “เหยือ่ ” ทีน่ า่ เห็นใจ แต่กระแสหลักในสังคมกำ�หนดเงือ่ นไข ในการ “ให้อภัย” นักศึกษาว่าจะต้องมีการเลิกตัง้ ข้อสงสัย ต่างๆ พร้อมกันไป เพื่อสิ่งที่ ดร.ธงชัยเรียกว่า “การ หุบปากเหยื่อเพื่อสมานฉันท์สังคม” เมื่อนำ�มาเทียบ กับเหตุการณ์ เมษา-พฤษภา 2553 แล้ว การที่รัฐบาล ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนพยายามเสนอการ ปรองดอง น่าจะกล่าวได้ว่าเป็นการหุบปากเหยื่อเช่นกัน ขบวนการคนเสือ้ แดง และผูร้ กั ประชาธิปไตยคงต้องสำ�รวจ ตรวจสอบ และร่วมกันพิจารณาอย่างจริงจังว่า เราจัก สืบทอด ความเป็นเหยือ่ เชิดชูวรี ชน หรือ ยึดถืออุดมการณ์??? จะให้ความสำ�คัญกับเหตุการณ์นอี้ ย่างไร จะสามารถจดจำ� ความจริงที่เกิดขึ้นได้หรือไม่ ความจริงไม่ใช่เพียงจำ�นวน กระสุนสังหาร จำ�นวนศพ และการลำ�ดับเหตุการณ์ แต่ ความจริงของไพร่กับอำ�มาตย์ อุดมการณ์ที่เราหวงแหน ความขัดแย้งทางชนชั้นที่เป็นจุดเริ่มต้นของการต่อสู้ อาชญากรรมรัฐที่ต้องมีผู้รับผิดชอบ อย่าลืม!! (ข้อมูลจากหนังสือ “อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการ เปลี่ยนแปลง 6 ตุลาคม 2519” เว็บไซต์ www.2519.net)

ริ่มนิยาย เมื่ออุบัติ รัฐประหาร ดอกไม้พิษ กลับบาน เป็นทองคำ�

เมื่อบ้านนอก คอกนา ออกมาเสี่ยง เริ่มทวงสิทธ์ ถามเสียง ที่ถูกย่ำ� จึ่งเมษา ห้าสาม ความระยำ� ได้ตอกย้ำ� ความวิกล ของคนเมือง มีคนยิง คนตาย ตายเป็นหมู่ แต่คนเห็น นอนคู้ ไม่รู้เรื่อง กระสุนเชือด เลือดหลั่ง ลงนองเนือง แม้นนรก ยังแค้นเคือง ในวิญญา ฯ

ช่างหัว พวกคุณเถอะ คนเมือง รู้ดี ถี่ห่าง อย่างมายา

ผู้ฟูเฟื่อง ลุ่มลึก การศึกษา จึงไร้ความ เมตตา ในหัวใจ

ช่างหัว พวกคุณเถอะ ชนชั้นกลาง แถวถั่น ชนชั้นล่าง มีที่ไหน จะรู้ทุกข์ รู้สุข ไปทำ�ไม ประเทศนี้ ตัวใคร ก็ตัวมัน ตัวก็ใหญ่ หัวก็ใหญ่ ไปทุกที่ ผู้ปกครอง ผู้ปกป้อง สถาบัน

เป็นผู้ดี ผู้จัดการ ผู้จัดสรร ผู้อยู่ชั้น นายหัว คนทั่วไป

เห็นรูปนาม คนตัวน้อย มันด้อยค่า อ้างคุณธรรม นำ�หน้า อำ�นาจใหญ่ อยู่กับฟ้า อ้างฟ้า มาครองไฟ กล้าลั่นไก อำ�มหิต ปลิดชีพกัน ฯ

ช่างหัว พวกคุณเถอะ ชนชั้นนำ� ผู้อยู่ล้ำ� ชั้นสูง ชั้นสวรรค์ ปากพร่ำ�บุญ อุ่นน้ำ�ใจ เลิศในธรรม์ เพียงเสกสร้าง แสร้งสรรค์ จรรยา ซาบซึ้ง ถึงความรัก ง่ายและงาม เสรีภาพ ของคนน้อย ด้อยราคา

แต่เย้ยหยาม ความตาย....ควายกับหมา คือนิยาย เหี้ยห่า อันสามานย์.....

โดย วันลา วันวิไล 30 ส.ค. 2555


16

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

ทำ�งานกับความคิด

turnleftthai.blogspot.com

พจนา วลัย

ประเด็นแรงงานในบริบทการเมืองไทยในปัจจุบัน บริบทการเมืองไทยปัจจุบันจะนับตั้งแต่หลังการทำ�รัฐประหาร โค่นล้มรัฐบาลปี 2549 จนถึงปี 2555 โดยยกเหตุการณ์เด่นๆ ในแต่ละ รอบปีควบคูก่ บั ปัญหาด้านเศรษฐกิจแรงงานกับการเคลือ่ นไหวของขบวนการ แรงงานไทย เพื่อวิเคราะห์ว่า ประเด็นแรงงานควรมีประเด็นอะไรบ้างใน บริบทการเมืองขณะนี้

เหตุการณ์ทางการเมืองที่สำ�คัญ มีดังนี้ 1. การต่อสู้ทางการเมืองระหว่างสองฝ่ายที่เรียกตัวเองว่าเป็น ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่คือ คนเสื้อเหลืองกับคนเสื้อ แดง 2. รัฐบาลทีม่ าจากการสนับสนุนของผูก้ อ่ รัฐประหารออกกฎหมาย ควบคุมเสรีภาพประชาชนมากยิ่งขึ้น ได้แก่ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร 2551 พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำ�ผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ 2550 และการใช้กฎหมายที่ขัดต่อเสรีภาพของประชาชนที่เห็นต่าง เห็น แย้งรัฐบาล โดยอ้างเรือ่ งความมัน่ คงภายใน ได้แก่ กฎหมายอาญา มาตรา 112 พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน 2548 เป็นต้น 3. รัฐก่ออาชญากรรม สั่งสลายการชุมนุมของประชาชนคนเสื้อ แดงในเหตุการณ์เมษา-พฤษภา 2553 ซึ่งกลไกด้านสิทธิมนุษยชนไม่ สามารถคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพ และสวัสดิภาพของผูช้ มุ นุมกลุม่ นีไ้ ด้ มีการ จับกุมตัวผูต้ อ้ งหา ในฐานะนักโทษการเมืองจำ�นวนหลายร้อยคนด้วยข้อหา ต่างๆ นานา รวมถึงข้อหาหมิ่นสถาบันกษัตริย์ ที่ไม่ได้รับสิทธิในการ ประกันตัวแต่อย่างใด 4. การแทรกแซงทางการเมืองของศาล/ตุลาการภิวัตน์ เกิด กระบวนการยุตธิ รรมสองมาตรฐานอันเป็นผลจากการเอียงข้างฝ่ายเผด็จการ ที่กำ�ลังอยู่ในอำ�นาจรัฐก่อนปี 2554 เช่น การยุบพรรคการเมือง การ ถอดถอนตำ�แหน่งอดีตนายกรัฐมนตรีนายสมัคร สุนทรเวช เป็นต้น

ผลจากเหตุการณ์ทางการเมืองข้างต้น ประเด็นที่ถูกรณรงค์ ยกขึ้นสู่ระดับสาธารณะ ได้แก่ 1. การปล่อยนักโทษการเมืองและนำ�ผู้สลายการชุมนุมปี 2553 มาลงโทษ 2. อำ�นาจตุลาการต้องมาจากประชาชน 3. การต้านรัฐประหาร รัฐบาลที่มาจากค่ายทหาร สมาชิกรัฐภา ที่มาจากการคัดสรร 4. การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมสองมาตรฐาน 5. การยกเลิก/แก้ไขกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

6. ความเหลื่อมล้ำ�ในการถือครองที่ดิน ความเหลื่อมล้ำ�ทาง เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างคนรวยกับคนจน 7. การยืนยันหลักการประชาธิปไตยที่คนทุกคนต้องเท่าเทียม กัน ประชาชนคือเป็นเจ้าของประเทศ การเคารพความคิดที่แตกต่างกัน และเสรีภาพในการแสดงออก 8. การลดอำ�นาจกองทัพ ลดงบประมาณทหาร

การเคลื่อนไหวของขบวนการสหภาพแรงงาน ในช่วงหลังรัฐประหาร 2549 ข้อเรียกร้องของฝ่ายแรงงานไม่ได้ รับการตอบสนอง ได้แก่ การขอให้รฐั บาลรับรองอนุสญ ั ญาองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ ว่าด้วยเสรีภาพในการรวมตัวของแรงงาน สิทธิในการจัด ตัง้ และเจรจาต่อรองร่วม เพือ่ ทีจ่ ะนำ�ไปสูก่ ารแก้ไขกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518 และเปิดให้มกี ารจัดตัง้ สหภาพแรงงานอย่างกว้างขวาง ไปให้พน้ จาก อุปสรรคด้านกฎหมาย ข้อเรียกร้องอื่นๆ เช่น การแก้ไขกฎหมายประกันสังคม การดูแล บุตรของผูใ้ ช้แรงงานด้วยการจัดตัง้ สถานรับเลีย้ งเด็กใกล้ทที่ �ำ งาน เป็นต้น รวมไปจนถึงการเฝ้าระวังการแปรรูปองค์กรสาธารณะเช่น รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย การค้าเสรีทที่ �ำ ลายสหภาพแรงงาน แทบไม่กลายเป็นประเด็น ในช่วงที่ความขัดแย้งทางการเมืองปะทุ ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจแฮมเบอร์เกอร์ 2551 มีการเลิกจ้างพนักงาน จำ�นวนมาก และการหลีกเลี่ยงกฎหมายของฝ่ายนายจ้างจนกลายเป็น บรรทัดฐานที่ทำ�กันมาตลอด เช่น การเลิกจ้างคนงานไทรอัมพ์จำ�นวนถึง 1,959 คนในช่วงปี 2551 และต่อสู้ยืดเยื้อมาถึงปี 2552 ซ้ำ�คนงานยังเผชิญ กับการถูกเลิกจ้างในช่วงวิกฤตน้ำ�ท่วม 2554 ที่นายจ้างมีอำ�นาจการต่อ รองสูงกว่าลูกจ้างอีกครั้ง มีการทำ�ลายสหภาพแรงงาน แต่ก็มีการจัดตั้ง สหภาพแรงงานอันเนื่องมาจากทนสภาพการจ้างงานที่ต่ำ�กว่ามาตรฐาน ไม่ได้ จวบถึงวันนี้ การขยายจำ�นวนสหภาพแรงงานยังไม่เป็นที่น่า พอใจ คือยังคงอยู่ที่ 1.4% ของกำ�ลังแรงงานทุกภาคส่วนจำ�นวน 39 ล้าน คน ซึ่งดูเหมือนว่า ปัจจัยภายนอกเป็นฝ่ายกระทำ�ต่อขบวนการแรงงาน ไทยมากกว่า แต่กลไกการปกป้องตัวเองนั้นไม่มีประสิทธิภาพพอที่จะ ต้านทานและรักษาสมาชิกของตัวเองไว้ได้ การยื่นข้อเรียกร้องในวันสตรีสากล 2555 รัฐบาลไม่ตอบสนอง ขบวนการแรงงานไทยทีน่ ำ�โดยคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย แต่ อย่างใด สำ�หรับการเดินขบวนในวันกรรมกรสากลได้มกี ารช่วงชิงการเมือง ของฝ่ายแรงงานด้วยอุดมการณ์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด้วยการ


turnleftthai.blogspot.com

ขอให้สภาแรงงานทุกแห่งและสหพันธ์แรงงานทุกที่น้อมใจเทิดไท้องค์ ราชันย์ ราชวงศ์จกั รีตดิ ต่อกัน 2-3 ปีในช่วงรัฐบาลทีน่ �ำ โดยพรรคประชาธิปตั ย์ และพรรคเพื่อไทย (คู่แข่งกัน) ทำ�ให้ข้อเรียกร้องจำ�นวนหลายข้อถูกแช่ แข็ง อีกด้านหนึง่ ในปัจจุบนั รัฐบาลทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากขบวนการ เคลื่อนไหวของคนเสื้อแดง โดยเฉพาะแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้าน เผด็จการแห่งชาติ (นปช.) พูดถึงปัญหาทางเศรษฐกิจน้อย โดยเฉพาะ ประเด็นโครงสร้างความเหลื่อมล้ำ�ระหว่างคนรวยกับคนจน ทั้งนี้มีผลมา จากปัญหาทางการเมืองที่ยังคงร้อนแรง เช่น ผลกระทบจากการปราบ ปรามผู้ชุมนุมปี 2553 การละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนที่คิดต่าง วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ และขับเคีย่ วกับขบวนการพันธมิตรและกลุม่ พลัง อนุรกั ษ์นยิ มอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตาม มีการถกเถียงเรือ่ งนโยบายประชา นิยมมากขึ้นในช่วงหาเสียงเลือกตั้ง ซึ่งเป็นยุทธวิธีช่วยลดกระแสความ กังวลด้านเศรษฐกิจได้ เช่น การขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ�เป็น 300 บาท การขึ้น เงินเดือนผู้ที่จบปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท ซึ่งเป็นประเด็นที่ขบวนการ แรงงานนำ�ไปขับเคลื่อนต่อ ตั้งแต่หลังการเลือกตั้งรัฐบาลปี 2554 เป็นต้น มา จากปรากฏการณ์ขา้ งต้น ซึง่ ปรากฏตามสือ่ มวลชนและประสบการณ์ การเคลื่อนไหวของผู้เขียนเอง ทำ�ให้เห็นว่า ขบวนการสองขบวนการ เคลื่อนไหวประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจ แต่ขาดการเชื่อมร้อยประเด็น ให้เป็นเรื่องเดียวกันอย่างเป็นระบบ ประเด็นแรงงานไม่เป็นที่สนใจในหมู่ ขบวนการเสื้อแดงเท่าใดนัก ในขณะที่ประเด็นการเมืองข้างต้นถูกละเลย ไม่พูดถึงในหมู่นักสหภาพแรงงานอย่างเป็นทางการ เราสามารถกล่าวได้วา่ ขบวนการเคลือ่ นไหวของคนเสือ้ แดงเป็น ขบวนการที่สะท้อนความก้าวหน้าของสำ�นึกทางการเมือง แต่อยู่ในระดับ ชาติ ซึ่งทำ�ให้เห็นร่องรอยของปัญหาทางชนชั้นระหว่างกลุ่มอภิสิทธิชน กับประชาชนธรรมดา แต่ยังไปไม่ถึงสำ�นึกทางชนชั้นแบบมาร์คซิสต์ใน เรื่องว่า "ทุน คนรวยเอาเปรียบ แย่งชิงผลประโยชน์ของตัวเองไป" ดังนัน้ ในการแสดงออกในระดับจุลภาค (ระดับสถานทีท่ �ำ งานและท้องถิน่ ) จึงไม่คอ่ ยแสดงออกมาแบบนี้ ในส่วนของนักสหภาพแรงงาน ผูท้ ถี่ กู ระบบ ราชการจำ�กัดการแสดงออกทางการเมืองในระดับมหภาค ก็จะเน้นแต่เรือ่ ง ปากท้อง การต่อสู้ในชีวิตประจำ�วันที่เข้มข้น การเจรจาต่อรองในระดับ สถานประกอบการ และการยื่นข้อเรียกร้อง เสนอกฎหมายด้านแรงงาน ต่อหน่วยงานรัฐ แม้ขบวนการแรงงานซีกหนึง่ ทีน่ ำ�โดยสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ์ นักพัฒนาเอกชน จะเคยแสดงออกทางการเมืองในยุคของการ เกิดขบวนการพันธมิตรฯ แต่ถือว่าเป็นการแสดงออกที่หลงทิศผิดทาง เพราะยึดแนวอุดมการณ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และการสนับสนุนทหารใช้ กำ�ลังโค่นล้มรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ที่ในที่สุดก็ไม่ช่วยแก้ปัญหาที่ เคยรณรงค์มาก่อนหน้าการทำ�รัฐประหาร ได้แก่ ประเด็นปัญหาความ เหลือ่ มล้�ำ ทางเศรษฐกิจ ความยากจน ด้อยโอกาสของพลเมืองชัน้ สอง การ ละเมิดสิทธิมนุษยชนของคนภาคใต้ การค้าเสรี การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การนำ�มหาวิทยาลัยออกนอกระบบ เพราะผลประโยชน์ของชนชัน้ แรงงาน ไม่ได้สอดรับกับผลประโยชน์ของกลุม่ ชนชัน้ กลางทีเ่ ป็นผูป้ ระกอบการ นัก ธุรกิจขนาดกลาง และนายทุน ข้าราชการระดับสูง กลางแต่อย่างใด เพราะ

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

17

ถูกกลบด้วยข้อเสนอการถวายคืนพระราชอำ�นาจในมาตรา 7 ของกฎหมาย รัฐธรรมนูญ ทีน่ �ำ ระบบการเมืองไทยถอยห่างไปจากระบอบประชาธิปไตย ที่อำ�นาจอธิปไตยต้องเป็นของประชาชน ข้อเสนอของขบวนการพันธมิตรฯ จึงไม่ได้ช่วยแก้ไขปัญหา แรงงานและภาคประชาชนคนชนบท เพราะมีการถอนตัวของภาคประชาชน บางส่วน เพราะนั่นหมายถึงขบวนการนี้ถูกควบคุมโดยผู้นำ�คือ สนธิ ลิ้ม ทองกุล ตัวแทนคนหนึ่งของชนชั้นนายทุนไปเสียแล้ว ในมุมมองของชาวมาร์คซิสต์ที่เสนอทางแก้ไขปัญหาอย่างเป็น ระบบมากขึน้ คือการสร้างรัฐสวัสดิการต่อยอดประชานิยมของรัฐบาล และ ประชาธิปไตยที่ประชาชนมีอำ�นาจอธิปไตย มองว่า ประเด็นแรงงานที่ ควรจะนำ�ไปสู่การแลกเปลี่ยนถกเถียงกันมากขึ้นในบริบทการเมืองไทย ปัจจุบัน มีดังนี้ 1. ระบบทุนนิยมเสรีกับระบบราชการสมัยใหม่มีอิทธิพลต่อการ โครงสร้าง/การทำ�งานของสหภาพแรงงานอย่างไร หากเทียบกับอดีตที่ แรงงานมีจุดมุ่งหมายการเปลี่ยนแปลงระบบการเมือง และดูผลจากการ รวมตัวจัดตั้งของสหภาพแรงงานที่ยังไม่ขยายจำ�นวนเป็นที่น่าพอใจนัก 2. วิธีการเคลื่อนไหวโดยการทำ�แนวร่วมข้ามชนชั้น คือระหว่าง ชนชัน้ แรงงาน/ภาคประชาชนกับชนชัน้ กลางและนายทุน ซึง่ พิสจู น์ให้เห็น ว่า ผลประโยชน์ของแรงงานสวนทางกับของชนชัน้ กลางและนายทุน และ ความไม่ชอบธรรมของวาทกรรมชาติ ศาสน์ กษัตริยท์ เี่ ป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาประชาธิปไตย เสรีภาพและความเสมอภาค 3. ความมั่นคงของรัฐสวนทางกับเสรีภาพในการรวมกลุ่ม จัดตั้ง เคลื่อนไหวของขบวนการแรงงาน อย่างไร 4. การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นองค์รวมควรถูกแทนที่การแก้ไข แบบประเด็นเดียว สิทธิแรงงานต้องถูกนำ�เอาไปรวมกับสิทธิพลเมืองด้าน อื่นๆ เพื่อเพิ่มบทบาทของสหภาพแรงงานในการปกป้องประชาธิปไตย และความเป็นอยู่ของผู้ใช้แรงงานทุกภาคส่วนทั่วประเทศ 5. การไปให้พน้ จากข้อจำ�กัดทางกฎหมายทีไ่ ม่ให้สหภาพแรงงาน มีบทบาททางการเมือง การนำ�เสนอปัญหาด้านการเมือง ความไม่ยตุ ธิ รรม ในสังคมในทีป่ ระชุมของสหภาพแรงงาน ซึง่ แรงงานเคยมีประสบการณ์มา ตัง้ แต่อดีต เช่น ระบบยุตธิ รรมสองมาตรฐาน ศาลเอียงข้างฝ่ายทุน เป็นต้น 6. การปรับปรุงขบวนการแรงงานให้เคลื่อนไหวอย่างถูกทาง ที่ ควรคำ�นึงถึงรากเหง้าประวัติศาสตร์ของชนชั้นตัวเอง เนื้อหาที่ควรปรับ เปลี่ยน ได้แก่ การสร้างผู้นำ�แรงงานรุ่นใหม่ การปรับโครงสร้าง รูปแบบ องค์กรทีเ่ หมาะสม องค์ความรูส้ �ำ หรับให้การศึกษา ข้อเรียกร้องทีส่ ามารถ รองรับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกและความเหลื่อมล้ำ�ในไทย การเน้น เคลื่อนไหวกับแรงงานระดับรากฐานมากขึ้น ประเด็นข้างต้นควรถกเถียงมากขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะทำ�ให้ขบวนการของ ภาคประชาชนเติบโตและเป็นประชาธิปไตย โดยไม่ให้กลุ่มทุนอนุรักษ์ และกลุม่ ทุนเสรีนยิ มเข้ามาช่วงชิง เด็ดยอดการเติบโตนีไ้ ปเป็นของตัวเอง ได้ และเพื่อให้หลุดออกจากกรอบการควบคุมทางความคิด การรวมกลุ่ม และหน่ออ่อนของความก้าวหน้าทัง้ หลาย เชือ่ ว่าข้อสรุปทีไ่ ด้จะนำ�ไปสูก่ าร แก้ไขปัญหาแรงงานและความไม่เท่าเทียมอย่างเป็นระบบขึ้น


18

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

turnleftthai.blogspot.com

ว่าด้วยทุน

กองบรรณาธิการ

เล่ม 2

ภาค 2 รอบของการหมุนเวียนของทุน(บทที่7-9) บทที่ 7: เวลาทีใ่ ช้ในวงจรของทุน และจำ�นวนรอบทีห่ มุนเวียน เวลาทีใ่ ช้ในวงจรของทุน คือเวลาทีท่ นุ ต้องหมุนเวียนหนึง่ รอบ ในกระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อกลับมาสู่จุดเริ่มต้น ส่วนใหญ่นับ เป็นปี สำ�หรับนายทุนแต่ละคน มันคือเวลาที่ต้องลงทุนไป ก่อนที่จะได้ ทุนและกำ�ไรกลับมา

บทที่ 8: “ทุนอยู่กับที่” กับ “ทุนไหลเวียน”

ทุนการผลิต(P) แบ่งเป็น ทุนอยู่กับที่ และ ทุนไหลเวียน “ทุนอยู่กับที่” คือทุนที่นายทุนต้องลงทุนเป็นก้อนใหญ่ เมื่อ เริ่มกระบวนการผลิต เช่นตึกโรงงาน เครื่องจักร ทางรถไฟ ฯลฯ • “ทุนอยู่กับที่” ไม่เหมือน “ทุนคงที่” เพราะ “ทุนคงที่” คือ ทุนการผลิตทัง้ หมดทีไ่ ม่ได้สร้างมูลค่า(หรือทีไ่ ม่ใช้ในการจ้างงาน) “ทุน คงที่”มันรวมวัตถุดิบที่ไม่ได้อยู่กับที่ แต่จะเคลื่อนไปในระบบการผลิต • มูลค่าของ “ทุนอยู่กับที่” จะค่อยๆ ละลายไปเป็นส่วนของ มูลค่าของผลผลิตทีละนิดทีละหน่อยตลอดอายุงานของทุนนี้ โดยที่ตัว ตนของมันในฐานะวัตถุจะอยู่ที่จุดการผลิตเดิมเสมอ • ทุนทุกชนิดเป็นทุนที่ต้องหมุนเวียนในที่สุด แต่ “ทุนอยู่กับ ที่” มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจาก “ทุนไหลเวียน” “ทุนไหลเวียน” ประกอบไปด้วย (1)ทุนคงทีใ่ นรูปแบบวัตถุดบิ ทีผ่ า่ นไปในระบบการผลิต และ (2)ทุนแปรผันในรูปแบบพลังการทำ�งาน ซึง่ ทัง้ สองส่วนจะผ่านเข้าสูผ่ ลผลิตและหมดไป จึงต้องมีการซือ้ ใหม่อย่าง ต่อเนื่อง • ทุนแปรผันที่หมุนเวียนในวงจรทุนการผลิตนี้คือ “พลังการ ทำ�งาน” ของกรรมาชีพ ส่วนมูลค่าพืน้ ฐานในการเลีย้ งชีพของกรรมาชีพ ที่ถูกจ้างมา(ค่าจ้างนั้นเอง) จะไม่หมุนเวียนในวงจรนี้ แต่จะหมุนเวียน ในอีกวงจรหนึ่ง-เวลากรรมาชีพซื้อสินค้าเพื่อยังชีพ • กว่า “ทุนอยู่กับที่” จะหมุนเวียนได้รอบหนึ่ง มันต้องหมด อายุการทำ�งาน ดังนัน้ นายทุนจะค่อยๆ สะสมส่วนทีเ่ ป็นเงินทีต่ กตะกอน มาจากทุนนีจ้ ากการขายสินค้า จนมีเพียงพอทีจ่ ะซือ้ “ทุนอยูก่ บั ที”่ ชุด ใหม่เป็นก้อนใหญ่อกี ครัง้ จะเห็นว่ามูลค่าของ “ทุนอยูก่ บั ที”่ จะปรากฏ ในสองรูปแบบพร้อมกันคือ ในรูปแบบ “ทุนการผลิต”(ทีค่ อ่ ยๆลดมูลค่า ลง) และรูปแบบ “ทุนเงิน”(ที่กำ�ลังสะสมออมไว้)

• “ทุนคงที่” ในส่วนที่เป็น “ทุนไหลเวียน” (วัตถุดิบ) จะเป็น ส่วนหนึ่งของสภาพทางวัตถุของผลผลิตใหม่ • “ทุนคงที่” ที่เป็น “ทุนอยู่กับที่” จะไม่เป็นส่วนหนึ่งของ สภาพทางวัตถุของผลผลิตใหม่ • “ทุนคงที”่ อีกชนิดหนึ่งทีเ่ ป็น “ทุนไหลเวียน” เช่นเชือ้ เพลิง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าผลผลิตใหม่ ก็จะไม่กลายสภาพไปเป็นส่วน หนึง่ ของสภาพวัตถุของผลผลิตใหม่ เพราะถูกใช้จนหมดในกระบวนการ ผลิต • “ทุนอยู่กับที่” ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ “ทุนการผลิต” (P) เท่านั้น ดังนั้นในการเป็นสินค้ามันถูกบริโภคโดยปัจเจกไม่ได้ แต่การ จำ�แนกว่าเป็น “ทุนอยู่กับที่” หรือไม่ จำ�แนกตามบทบาทของมันใน กระบวนการผลิต ไม่ได้จ�ำ แนกตามลักษณะทางวัตถุของมัน (วัตถุแบบ นี้ในกรณีที่ไม่ใช้ในการผลิต อาจถูกบริโภคโดยปัจเจกได้ เช่นตึก) • ระบบการขนส่ง เป็นกรณีพิเศษ เพราะ “รถคันเดียวกัน” อาจใช้เป็นทุนการผลิต และใช้เพื่อขนส่ง(บริโภค)ของปัจเจกได้ • เส้นแบ่งระหว่าง “ทุนอยู่กับที่” กับ “ทุนไหลเวียน” อาจไม่ ชัดเจนในกรณี ปุ๋ย ที่ใช้ในการเกษตร คือมันคงอยู่ในดินเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพส่วนหนึง่ และถูกดูดขึน้ ไปเป็นส่วนหนึง่ ของพืชผลผลิตได้ • การเป็น “ทุนอยู่กับที่” ไม่ได้แปลว่าเคลื่อนไหวไม่ได้ เรือ ขนสินค้า เป็น “ทุนอยู่กับที่” เพราะมันไม่หมุนเวียนหมดไปทันทีใน ระบบ • วัวที่ลากเกวียน เป็น “ทุนอยู่กับที่” แต่ถ้าถูกกิน จะเป็น ผลผลิต!! • ทุนที่แค่เก็บไว้นานๆ ไม่ใช่ “ทุนอยู่กับที่” • ระยะเวลาที่ “ทุนอยู่กับที่” ใช้ในการหมุนเวียนจะแตกต่าง กันไปแล้วแต่คุณสมบัติของมัน รางรถไฟ ท่อนไม้ยึดราง และตึกสถานี มีอายุงานต่างกัน และการซ่อมแซม และการซือ้ ใหม่ของ “ทุนอยูก่ บั ที”่ ไม่เหมือนกัน ทำ�ให้ซับซ้อนมากขึ้น • “ทุนอยู่กับที่” บางชนิด มีผลต่อเศรษฐกิจชาติในแง่ที่ถูก โยกย้ายไปหมุนเวียนที่อื่นไม่ได้ แต่เปลี่ยนเจ้าของได้ เช่นท่าเรือ ที่ดิน ทางรถไฟ • วงจรของทุน “ทุนไหลเวียน” จะหมุนเวียนบ่อยกว่า “ทุน


turnleftthai.blogspot.com

อยู่กับที่” • ความเสื่อมของ “ทุนอยู่กับที่” มีสองชนิด 1. เสือ่ มทางราคา เพราะของใหม่ผลิตในราคาถูกกว่าเนือ่ งจาก มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เสื่อมจากการสึกหรอ • การทีน่ ายทุนต้องซ่อมแซมและซือ้ ใหม่บางชิน้ ส่วนของ “ทุน อยู่กับที่” อาจทำ�ให้ - ต้องจ้างคนงานชุดพิเศษเพือ่ ทำ�หน้าทีซ่ อ่ มแซม ตรงนีถ้ อื ว่า เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าการผลิต เฉลี่ยตามอายุงานของเครื่องจักร แรง งานี้เป็นส่วนหนึ่งของแรงงานการผลิต - ต้องออมเงินไว้เพือ่ ซ่อมแซม หรือยืมเงินคนอืน่ จากธนาคาร การจำ�แนกระหว่างการซ่อมแซมหรือการซือ้ ใหม่ของนักบัญชี ในธุรกิจต่างๆ บ่อยครั้งไม่เป็นไปตามสภาพความจริง

สรุปทุนชนิดต่างๆ ที่พิจารณามาถึงจุดนี้ ทุนคงที่ (Constant Capital)=ทุนวัตถุดบิ เชือ้ เพลิง และปัจจัย การผลิตอื่นๆ เช่นเครื่องจักร ตึก ทุนแปรผัน (Variable Capital)=ทุนที่สร้างมูลค่าเพราะใช้ซื้ อพลังการทำ�งานของกรรมาชีพ ทุนอุตสาหกรรม (Industrial Capital) อันประกอบไปด้วย ทุนเงิน M (Money Capital), ทุนการผลิต P (Productive Capital), ทุนสินค้า C (Commodity Capital) ทุนอยู่กับที่ (Fixed Capital)=ทุนที่ใช้เวลาหมุนเวียนช้าเพร าะเป็นตึกหรือเครื่องจักร ทุนไหลเวียน (Circulating Capital)=ทุนทีห่ มุนเวียนเร็ว และ ต้องหาเพิม่ ตลอด เพราะเคลือ่ นไปหมดกับการผลิต เช่นทุนแปรผันหรือ วัตถุดิบ

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 กันยายน 55

19

บทที่ 9: วงจรของการลงทุน เราสามารถคำ�นวณระยะเวลาในการโคจรของทุนหนึ่งรอบได้ ในลักษณะที่เป็นค่าการลงทุนเฉลี่ยต่อปี และระยะเวลาเฉลี่ยในการ หมุนเวียนของทุน ดังนี้... • สมมุตวิ า่ นายทุนลงทุน $25,000 ในทุนอยูก่ บั ที่ (ตึก เครือ่ งจักร) ซึ่งมีอายุงาน 10 ปี และ $12,500 ในทุนอยู่กับที่ประเภทเครื่องมือ ที่ มีอายุงาน 2 ปี และทุนไหลเวียน (จ้างงาน วัตถุดิบ) $ 12,500 ที่ต้อง ลงทุนใหม่ทุก 6 เดือน คือจะใช้ทุนทั้งหมด $50,000 • ตามคำ�อธิบายของ Scrope นักเศรษฐศาสตร์สหรัฐ ค่าลงทุน เฉลี่ยต่อปีคือ o $25,000÷ 10 = $2,500 o $12,500 ÷ 2 = $6,250 o $12,500 x 2 = $25,000 รวม = $33,750 และเวลาเฉลี่ยที่ทุน $50,000 จะใช้ในการหมุนเวียนหนึ่งรอบ คือ 18 เดือน • จะเห็นว่าความรวดเร็วของการหมุนเวียนของทุนชนิดต่างๆ จะไม่เหมือนกัน แล้วแต่คุณสมบัติ • ถึงแม้วา่ การลงทุนใน “ทุนอยูก่ บั ที”่ จะเป็นก้อนใหญ่สดุ แต่ “ทุนไหลเวียน” จะหมุนหลายรอบจนมูลค่าของทุนส่วนนีท้ หี่ มุนในหนึง่ ปี อาจมากกว่า “ทุนอยู่กับที่” ได้ • แนวโน้มที่มากับการพัฒนาระบบทุนนิยมคือ เครื่องจักรจะ ทนทานกว่าเดิม อายุงานจะยาวขึน้ แต่ในขณะเดียวกัน เนือ่ งจากมีการ พัฒนาเทคโนโลจีทา่ มกลางการแข่งขัน อายุงานทีใ่ ช้จริงอาจสัน้ ลง เพราะ นายทุนต้องซื้อเครื่องจักรสมัยใหม่บ่อยขึ้นเพื่อแข่งกับคู่แข่ง


ร่วมกันสร้างองค์กรสังคมนิยม

เพื่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และประชาธิปไตย - สังคมนิยมเป็นระบบที่ตอบสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ผ่านการวางแผนร่วมกัน ในรูปแบบประชาธิปไตย - สังคมนิยมต้องสร้างโดยมวลชนกรรมาชีพ จากล่างสู่บน สร้างโดยอภิสิทธิ์ชนไม่ได้ - เรางต้องมีพรรคการเมืองของกรรมาชีพและคนจน เพื่อเคลื่อนไหวทางการเมือง - สมาชิกทุกคนต้องจ่ายค่าบำ�รุง 1 % ของรายได้ (50 บาท / เดือนขั้นต่ำ�) - สมาชิกต้องอ่านและช่วยกันขายหนังสือพิมพ์ของพรรคเพื่อขยายสมาชิก และอิทธิพลทางความคิด - สมาชิกต้องเข้าร่วมกิจกรรม “กลุ่มศึกษา” อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

“ถ้าเห็นด้วยกับแนวทางของเรา เชิญสมัครเป็นสมาชิก” รายละเอียดเพิ่มเติม : อีเมล : pcpthai@gmail.com ติดต่อกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ : turnleft2008@gmail.com เวปไซต์ www.turnleftthai.blogspot.com เฟซบุ๊ค www.facebook.com/turnleftthai ที่อยู่ไปรษณีย์ : ตู้ ป.ณ. 123 ไปรษณีย์คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.