Engineering Today No.184 (Issue Jul-Aug 2021)

Page 1










EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

มหาวิทยาลัย-นักวิจยั ไทยเร่งพัฒนานวัตกรรมสูภ้ ยั COVID-19 เน้นพึ่งพาตนเอง-ตอบโจทย์ความมั่นคงด้านสาธารณสุขไทย ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ที่พุ่งสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยแตะระดับ 10,082 ราย เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2564 หลังจากนั้นยอดก็พุ่งสูงขึ้นกว่าหมื่นรายมาตลอด โดยเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2564 ยอดผู้ติดเชื้อพุ่งทะลุ 20,200 คน ท�ำให้มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมแล้วจนถึงวันนี้ 672,385 ราย อีกทั้งยังมียอดผู้เสียชีวิตอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับมาตรการที่ ศบค. ก�ำหนดออกมา นอกจากออกมาตรการล็อกดาวน์ เข้มข้น หวังให้ประชาชนอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ รวมทั้งเร่งฉีดวัคซีนให้ครอบคลุม มากที่สุด โดยเฉพาะผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยง 7 โรค ในห้วงเวลาที่ยาก ล�ำบากนี้ มหาวิทยาลัยและหน่วยงานวิจัยต่างๆ เร่งวิจัยพัฒนาและสร้างนวัตกรรม ขึ้ น ใช้ เ องภายในประเทศ เพื่ อ ตอบโจทย์ ก ารแพร่ ร ะบาดของเชื้ อ COVID-19 โดยเฉพาะเริ่มจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ คณะสัตวแพทยศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ บูรณาการ ความร่วมมือกับ 2 บริษัทเอกชน พัฒนานวัตกรรม “รถดมไว เพื่อน�ำสุนัขดมกลิ่น คัดกรอง COVID-19” ออกปฏิบัติงานภาคสนามคันแรกของไทย พร้อมอุปกรณ์ มาตรฐานตามข้อก�ำหนดของกรมควบคุมโรค ซึ่งจะสร้างความปลอดภัยทั้งผู้ที่มารับ การตรวจและสุนัขที่ปฏิบัติงาน อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองเชิงรุก ในชุมชน และคลัสเตอร์ที่เกิดขึ้นใหม่ในแต่ละวัน ขณะที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ได้เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เป็นครั้งแรก พร้อมระบบ มอนิเตอร์ทางไกล มุง่ ลดอัตราการเสียชีวติ ของผูป้ ว่ ย COVID-19 ให้นอ้ ยลง ลดภาระ งานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออก บริเวณหอผู้ป่วย เพิ่มความปลอดภัยในการท�ำงาน ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า ด้านนักวิจัยจาก ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ประสบความส�ำเร็จในการ พัฒนา “NANO Covid-19 Antigen Rapid Test “ชุดตรวจคัดกรองเชือ้ COVID-19 แบบรวดเร็วด้วยเทคนิค LFA โดยต่อยอดจากแพลตฟอร์มของ NanoFlu หรือชุดตรวจ คัดกรองเชือ้ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชูจดุ เด่นสามารถแสดงผลทีช่ ดั เจนโดยไม่ตอ้ งรอแปลผล ที่ยุ่งยาก ใช้งานง่าย สะดวก รวดเร็ว รู้ผลภายในเวลา 15 นาที สามารถใช้ได้ทุก สถานทีใ่ นการตรวจคัดกรองกับคนจ�ำนวนมาก ลดภาระงานบุคลากรการแพทย์ในช่วง วิกฤต ผ่านการประเมินประสิทธิภาพจาก อย. ส่วนทีมนักวิจัยจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอ เทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้เผยความส�ำเร็จ การสังเคราะห์สารตั้งต้นผลิตยาฟาวิพิราเวียร์ (Favipiravir) ในระดับห้องปฏิบัติการ ซึง่ เป็นสารส�ำคัญทีจ่ ะใช้ในการผลิตยาฟาวิพริ าเวียร์ ล่าสุดได้จดสิทธิบตั รและถ่ายทอด วิ ธี ใ ห้ อ งค์ ก ารเภสั ช กรรมน� ำ ไปผลิ ต ในระดั บ กึ่ ง อุ ต สาหกรรมและอุ ต สาหกรรม ต่อไปแล้ว พร้อมเดินหน้าวิจัยยาตัวใหม่เพื่อจัดการปัญหาเชื้อไวรัส COVID-19 ที่อาจจะดื้อยาได้ เชื่อว่ายังมีนวัตกรรมอีกมากมายที่นักวิจัยไทยก�ำลังเร่งพัฒนา เพื่อต่อกรกับ เจ้าไวรัส COVID-19 นี้ เนือ่ งจากไวรัส COVID-19 น่าจะอยูก่ บั มนุษยชาติไปอีกนาน และกลายเป็นโรคทั่วไปโรคหนึ่ง ถึงบรรทัดนีข้ อให้ผอู้ า่ นและคนไทยทุกคนอยูร่ อดปลอดเชือ้ COVID-19 ครับ


CONTENTS Engineering Today

July • August 2021 Vol.4 No.184

10 E-Talk

มหาวิทยาลัย-นักวิจัยไทยเร่งพัฒนานวัตกรรมสู้ภัย COVID-19 เน้นพึ่งพาตนเอง-ตอบโจทย์ความมั่นคงด้านสาธารณสุขไทย

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

12 Report

DBD จัดประกวด “รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ ประจ�ำปี 2564” น�ำ 3 ผู้ประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ชั้นน�ำ แนะกลยุทธ์ให้ธุรกิจอยู่รอดช่วง COVID-19

• กองบรรณาธิการ

16 AI DPU โชว์ผลวิจัย Soft Skills ช่วยมนุษย์เอาชนะ AI

ชี้มหาวิทยาลัยช่วยให้องค์กรลดต้นทุน Upskill-Reskill

• กองบรรณาธิการ

33 Digital

• VEGA

22 R&D

The Stanford Thailand Research Consortium พัฒนาทักษะแรงงานไทย ด้วยนวัตกรรมการศึกษาและการพัฒนาก�ำลังคน

• กองบรรณาธิการ

24 Industry 4.0

ปลดล็อกการปฏิรูปสู่ Industry 4.0 สร้างศักยภาพด้วย Edge Computing

• เปาโล โคลัมโบ, รัสส์ ซาเกิร์ต

ดีป้าเผยอาคารแสดงประเทศไทย ในงาน World Expo 2020 Dubai โชว์ศักยภาพไทยสู่สายตาชาวโลกบนแนวคิด “Mobility for the Future”

• กองบรรณาธิการ

Innovation 28 สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow”

เป็นครั้งแรก พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล รับมือ COVID ระลอกใหม่

• กองบรรณาธิการ

พัฒนารถชีวนิรภัยเคลื่อนที่ด้วยสุนัขดมกลิ่น คัดกรอง COVID-19 คันแรกของไทย

28

31 คณะวิศวฯ จุฬาฯ บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ

AIS Big Data as a Service บน Cloud เจาะกลุ่มค้าปลีก-โรงพยาบาล-ประกันภัย

• กองบรรณาธิการ

ให้เหมาะสม ในช่วง COVID-19 ระบาด

• ฟาบิโอ ทิวิติ

42 Management Tools Today

27 World Fair

• กองบรรณาธิการ

40 การปรับปรุงประสิทธิภาพคลังสินค้า

สซ จับมือ สดร. สร้าง “เครื่องเคลือบกระจกโทรทรรศน์” ตรวจวัดรังสีแกมมานอกโลก สนับสนุนโครงการไขปริศนาจักรวาล

IT Update 38 Blendata จับมือ AIS ให้บริการแพลตฟอร์ม

Extra safety-in storage and measurement

• ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี

36 Technology

20 Cover Story

ถึงเวลาใช้ระบบอัตโนมัติ ช่วยปิดช่องว่าง ทักษะด้านดิจิทัลในองค์กร

• กองบรรณาธิการ

31

พระพุทธธรรมค�ำสอน : แนวทางเพื่อชีวิต และสังคมในช่วงวิกฤตโรคภัย COVID-19

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล


Report • กองบรรณาธิการ

DBD จัดประกวด

“รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ ประจ�ำปี 2564” น�ำ 3 ผู้ประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ชั้นน�ำ แนะกลยุทธ์ ให้ธุรกิจอยู่รอด ช่วง COVID-19

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า Department of Business Development (DBD) กระทรวงพาณิชย์ ร่วมมือกับ สมาคม แฟรนไชส์และไลเซนส์ ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้า แห่งประเทศไทย (EXIM Bank) และ ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) จัดการประกวด “รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ ประจ�ำปี 2564” หรือ งาน “Thailand Franchise Award 2021 : TFA 2021” โดยปีนี้จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 เพื่อคัดเลือกธุรกิจแฟรนไชส์ไทย ที่ประสบความส�ำเร็จ เป็นที่น่าเชื่อถือและที่รู้จักของคนทั่วไป รวมทัง้ มีระบบการบริหารจัดการธุรกิจทีไ่ ด้มาตรฐาน เข้ารับรางวัล ธุรกิจแฟรนไชส์ ประจ�ำปี 2564 ใน 5 ประเภทธุรกิจแฟรนไชส์ ไทยยอดเยี่ยม รวม 13 รางวัล

DBD เผยตั้งแต่ปี 2544-2563 มีผู้ประกอบการ แฟรนไชส์อบรมแล้ว 1,047 ราย เดินหน้า จัดประกวดรางวัล TFA 2021 เป็นปีที่ 2 ทศพล ทังสุบุตร อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD) กล่าวว่า ปัจจุบันมีผู้ประกอบการที่เป็นแฟรนไชส์ในระบบของ DBD ทั้งสิ้นประมาณ 280,000 แฟรนไชส์ มีอัตราการเติบโต เฉลี่ย 20.2% ต่อปี โดยมีผู้ประกอบการแฟรนไชส์ประมาณ 15,000-20,000 ราย ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจแฟรนไชส์กลุ่มอาหาร กว่า 50% ที่เหลือเป็นแฟรนไชส์เครื่องดื่ม ค้าปลีก สปา และ

12

Engineering Today July • August 2021

การศึกษา เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานการณ์ COVID-19 และประชาชนทั่ ว ไปให้ ค วามสนใจสมั ค รเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ แฟรนไชส์เพิ่มขึ้น ประกอบกับทาง DBD มีนโยบายในการให้การ สนับสนุนและส่งเสริมผู้ประกอบการแฟรนไชส์ไทยต่อเนื่องอย่าง เต็มที่ ซึ่งที่ผ่านมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2563 DBD ได้ด�ำเนิน โครงการสร้างธุร กิจใหม่เข้าสู่แฟรนไชส์ (Franchise B2B) ไปแล้วกว่า 23 รุ่น มีผู้ประกอบการแฟรนไชส์ผ่านการอบรม ไปแล้ ว ทั้ ง สิ้ น 1,047 ราย ในส่ ว นของโครงการแฟรนไชส์ สแตนดาร์ด (Franchise Standard) มีผู้ประกอบการแฟรนไชส์ ผ่านการยกระดับมาตรฐานแฟรนไชส์ 450 ราย เพื่อต่อยอดความส�ำเร็จและเชิดชูเกียรติ สร้างขวัญและ ก�ำลังใจแก่ผู้ประกอบการแฟรนไชส์ที่มีการพัฒนาศักยภาพและ ระบบการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐานจนเป็นที่ยอมรับทั้งในและ ต่างประเทศมากยิ่งขึ้น DBD ร่วมมือกับสมาคมแฟรนไชส์และ ไลเซนส์ ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM Bank) และธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) จัดการ ประกวด “รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ ประจ�ำปี 2564” หรือ งาน “Thailand Franchise Award 2021 : TFA 2021” โดยปีนี้ จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 เพื่อคัดเลือกธุรกิจแฟรนไชส์ไทยที่ประสบความ ส�ำเร็จ เป็นที่น่าเชื่อถือและที่รู้จักของคนทั่วไป รวมทั้งมีระบบ การบริหารจัดการธุรกิจทีไ่ ด้มาตรฐาน เข้ารับรางวัลธุรกิจแฟรนไชส์


ประจ�ำปี 2564 ใน 5 ประเภทธุรกิจแฟรนไชส์ไทยยอดเยี่ยม รวม 13 รางวัล ได้แก่ • ประเภทที่ 1 รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ ไทยยอดเยี่ยมตาม ขนาด 3 รางวัล ประกอบด้วย 1. Best Small Franchise รางวัล แฟรนไชส์ไทยขนาดย่อมยอดเยี่ยม 2. Best Medium Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทยขนาดกลางยอดเยี่ยม และ 3. Best Large Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทยขนาดใหญ่ยอดเยี่ยม • ประเภทที่ 2 รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ ไทยยอดเยี่ยมราย อุตสาหกรรม 5 รางวัล ประกอบด้วย 1. Best Food Franchise รางวั ล แฟรนไชส์ ไ ทยอาหารยอดเยี่ ย ม 2. Best Beverage Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทยเครื่องดื่มยอดเยี่ยม 3. Best Service Franchise รางวั ล แฟรนไชส์ ไ ทยบริ ก ารยอดเยี่ ย ม 4. Best Retail Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทยค้าปลีกยอดเยีย่ ม และ 5. Best Education Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทย การศึกษายอดเยี่ยม • ประเภทที่ 3 รางวั ล ธุ ร กิ จ แฟรนไชส์ ไทยที่ มี ค วาม โดดเด่นเฉพาะด้าน 2 รางวัล ประกอบด้วย 1. Best Innovation Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทยนวัตกรรมยอดเยีย่ ม และ 2. Best Export Franchise รางวัลแฟรนไชส์ไทยโกอินเตอร์ยอดเยี่ยม • ประเภทที่ 4 รางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ ไทยแห่งปี 2 รางวัล Franchise of the Year รางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ไทย Franchise Shining Star รางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ไทยดาวรุ่ง • ประเภทที่ 5 รางวัลธุรกิจแฟรนไชส์ตา่ งประเทศ 1 รางวัล Best Overseas Franchise รางวัลแฟรนไชส์ตา่ งประเทศยอดเยีย่ ม

แนะผูป้ ระกอบการปรับตัวรับผูบ้ ริโภคในรูปแบบใหม่ๆ ช่วง COVID-19 แพร่ระบาด ชัยรัตน์ ภัทรพิทักษ์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เจ้าของแฟรนไชส์ The Pizza Company กล่าวว่า การปรับตัวของผู้ประกอบการแฟรนไชส์ หลัง COVID-19 นั้น ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเองและปรับตัว

ทศพล ทังสุบุตร อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจ การค้า (DBD)

รับผู้บริโภคในรูปแบบใหม่ๆ เพราะสถานการณ์ COVID-19 เป็น สถานการณ์ทผี่ ปู้ ระกอบการแฟรนไชส์ดา้ นอาหารได้รบั ผลกระทบ มาก โดยเฉพาะผู ้ ป ระกอบการที่ มี ห น้ า ร้ า นเพี ย งอย่ า งเดี ยว ต้องปรับตัวใช้ระบบออนไลน์ ระบบ Delivery มากขึ้น ซึ่งคาดว่า ระบบ Delivery ในหลายๆ บริษัทจะเติบโตขึ้น 100-200% หรือ บางบริษัทจะเติบโตขึ้นมากถึง 1,000% หากมีการจัดระบบการ ให้บริการทีม่ ี Food Safety ทีด่ ที งั้ หน้าร้านและหลังบ้านทีม่ รี ะบบ จัดเก็บข้อมูลลูกค้าที่ดี รวมทั้งไม่ละทิ้งหน้าร้านในการเปิดให้ บริการลูกค้า เชือ่ ว่าในช่วง COVID-19 ยังมีกลุม่ ลูกค้าทีย่ งั ต้องการ นั่งรับประทานในร้านอาหารอยู่ แต่ต้องรอว่าภาครัฐจะประกาศ ให้มีการเปิดให้บริการนั่งรับประทานในร้านช่วงไหน อย่างไร เมื่ อ มี ก ารอนุ ญ าตให้ มี ก ารรั บ ประทานอาหารในร้ า นได้ แ ล้ ว ผู้ประกอบการก็ต้องค�ำนึงถึง Zero Touch ไร้การสัมผัส ป้องกัน การติดเชื้อของการปนเปื้อนอาหารให้น้อยที่สุด เพื่อให้อาหาร มาถึงมือลูกค้า สัม ผัสกันน้อยที่สุด พร้อมทั้งจัดจุดให้บริการ วัดอุณหภูมิก่อนเข้าร้านอาหาร จุดบริการเจลแอลกอฮอล์ และ การจั ด จ� ำ นวนลู ก ค้ า ที่ จ ะเข้ า มาใช้ บ ริ ก ารต้ อ งมี จ� ำ นวนตาม ข้อก�ำหนดอย่างเคร่งครัด “แน่นอนว่าการกระท�ำดังกล่าวจะท�ำให้ผู้ประกอบการ ต้องสูญเสียรายได้ไปจ�ำนวนหนึ่งในระยะเวลากว่าสถานการณ์ COVID-19 จะฟื้นตัวและกลับมาใช้ชีวิตแบบปกติได้ ซึ่งในขณะนี้ ยังไม่มใี ครสามารถทีจ่ ะคาดการณ์ได้แน่ชดั ว่าเมือ่ ใด” ชัยรัตน์ กล่าว ดังนัน้ ในฐานะผูป้ ระกอบการจึงจ�ำเป็นต้องปรับตัว เริม่ จาก 1. Downsizing ลดขนาดในการจัดการธุรกิจ จากที่เคยมีพื้นที่ จ�ำนวนแฟรนไชส์ทมี่ าก ก็จำ� เป็นต้องลดจ�ำนวนพืน้ ทีใ่ ห้สอดคล้อง กับค่าใช้จ่ายและสอดคล้องกับผู้บริโภคที่มาใช้บริการ และเปิดให้ บริการเฉพาะสาขาที่รัฐบาลอนุญาต 2. Sanitization ขนาดของ ธุรกิจต้องมาพร้อมกับสุขอนามัยทีด่ ดี ว้ ย ตัง้ แต่ในครัวยันหน้าร้าน ต้องสะอาด 3. Local Sourcing ต้องพึ่งพาสาขาในพื้นที่ ต่างจังหวัด ดูแลให้บริการลูกค้าให้ดเี หมือนในสาขาแม่ทศี่ นู ย์กลาง รวมทั้งหาแหล่งวัตถุดิบในท้องถิ่นที่น�ำมาทดแทนการประกอบ

ชัยรัตน์ ภัทรพิทักษ์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เจ้าของแฟรนไชส์ The Pizza Company

Engineering Today July • August 2021

13


ธุรกิจไว้บ้าง เพราะสถานการณ์ COVID-19 ส่งผลให้การขนส่ง วัตถุดิบจากส่วนกลางไปสู่พื้นที่อื่นๆ นั้นกระท�ำได้ยากล�ำบากยิ่ง 4. Brandequity สร้างแบรนด์สินค้าให้เป็นที่ยอมรับอยู่เสมอ ทั้งในคุณภาพและการบริการ เชื่อว่าหลัง COVID-19 จะมีธุรกิจ ประเภทอาหารมากมายที่เกิดขึ้นและมีกลุ่มผู้บริโภคจ�ำนวนมาก ให้การยอมรับ แน่นอนว่าธุรกิจอาหารของเราที่ท�ำอยู่ย่อมมีคู่แข่ง แต่ถา้ เราสร้างแบรนด์และคงมาตรฐานทีด่ ไี ว้เชือ่ ว่าผูบ้ ริโภคจะยังคง จงรักภักดีในแบรนด์ของเราอยู่ 5. E-Leaning เรียนรู้และใช้ การสื่อสารใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อรู้เท่าทันโลกยุคใหม่ ผู้ประกอบการ จะต้องเรียนรูผ้ บู้ ริโภคและบริษทั Delivery รวมทัง้ มองหาช่องทาง จ�ำหน่ายใหม่ๆ อยู่เสมอ 6. E-Meeting ควรมีการประชุม ออนไลน์ในสาขาและต่างสาขาร่วมกันบ่อยๆ ภายในองค์กร เพือ่ หาแนวทางในการท�ำงานให้เหมาะสมในการท�ำงานมากทีส่ ดุ ยิง่ ในช่วงทีก่ ลุม่ ผูบ้ ริโภคลดการบริโภคช่วงกลางคืนกว่า 20-30% ควรปรั บ เวลาในการให้ บ ริ ก ารในช่ ว งกลางวั น เพิ่ ม ขึ้ น แล้ ว ลด ช่วงกลางคืน โดยไม่ปรับพนักงานออกแต่ให้สลับกันเข้างาน เหลื่ อ มล�้ ำ เวลากั น นอกจากนี้ ค วรสร้ า งทั ศ นคติ ที่ ดี ใ นวิ ก ฤต ที่เกิดขึ้น เป็นโอกาสที่ดีในการท�ำงานสู่พนักงานทุกๆ คน หากมี ปัญหาต้องรีบแก้และพูดคุยสื่อสารระหว่างกันให้มากขึ้น

5 กลยุทธ์ช่วยให้แฟรนไชส์อยู่รอด ท่ามกลางวิกฤต COVID-19 ชัยรัตน์ ได้แบ่งปัน 5 กลยุทธ์ที่ช่วยให้แฟรนไชส์อยู่รอด ในสถานการณ์ COVID-19 ว่า สิ่งที่ต้องท�ำเป็นเรื่องแรกคือ 1. การวางแผนทางการเงิน ทั้งเรื่องต้นทุนสินค้า ต้นทุนแรงงาน ค่าการตลาดและค่าเช่าพื้นที่ ในการท�ำงานทุกๆ วันควรมีการ จดบันทึกอย่างละเอียด สาขาไหนขายได้มาก สินค้าตัวไหนขายดี เช็ ก สต็ อ กสิ น ค้ า ทุ ก วั น แล้ ว น� ำ มาวิ เ คราะห์ อ ย่ า งเป็ น ระบบ 2. ปรับลดช่วงเวลาการท�ำงานแต่ไม่ลดจ�ำนวนพนักงาน เพราะ พนักงานที่มีความรู้เรื่องงานเฉพาะด้านนั้นค่อนข้างหายาก โดย เฉพาะพนักงานทีท่ ำ� งานขยันและซือ่ สัตย์ ท�ำงานกับบริษทั มานาน ย่ อ มจะรู ้ ร ะบบการท� ำ งานดี อ ยู ่ แ ล้ ว 3.การปรั บ รู ป แบบการ ให้บริการ ยิ่งในสาขาที่อยู่พื้นที่เสี่ยงหากเป็นไปได้ควรปิดเพื่อให้ พนักงานที่อยู่สาขานั้นไปอยู่ในสาขาอื่นซึ่งจะช่วยสร้างความ เชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคอีกทางหนึ่งด้วย นอกจากนี้ ควรมีการแจ้ง ข่าวสารถึงผูบ้ ริโภคอย่างสม�ำ่ เสมอผ่านช่องทางออนไลน์ทมี่ ที กุ ๆ ช่องทาง 4. สร้างแบรนด์ของบริษทั ไม่ให้ดแู ก่หรือล้าสมัย รวมทัง้ หมั่ น ท� ำ โปรโมชั น เจาะกลุ ่ ม ลู ก ค้ า ทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก ๆ อาทิ ต ย์ ห รื อ ทุกเดือน และ 5. พึ่งพาอาศัยกัน เชื่อว่าระหว่างผู้ประกอบการ และผู้บริโภคจะมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันในแต่ละสาขาของ ธุรกิจ การพูดคุยผ่านโทรศัพท์สอบถามในช่วงวิกฤต ให้ก�ำลังใจ ระหว่ า งกั น นั้ น สามารถกระท� ำ ได้ จะยิ่ ง ช่ ว ยสร้ า งมิ ต รภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการและกลุ่มผู้บริโภคได้

14

Engineering Today July • August 2021

การทีบ่ ริษทั ฯ คว้ารางวัลแฟรนไชส์ไทยขนาดใหญ่ยอดเยีย่ ม Best Large Franchise เมื่อปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมานั้น ถือเป็น รางวัลทีส่ ร้างขวัญและก�ำลังใจในการท�ำงานของพนักงานทุกๆ คน และเป็นเครื่องหมายการันตีรับรองคุณภาพ และการบริการของ สินค้าของบริษัทฯ แก่ผู้บริโภคอีกทางหนึ่งด้วย

แนะควรปรับ เปลี่ยน ประยุกต์ แฟรนไชส์ ในยุคดิจิทัลให้เหมาะสม

“ส�ำหรับวิกฤต COVID-19 ทีเ่ กิดขึน้ อยากให้มองเป็นโอกาส ในการหยุดคิดตริตรองการท�ำธุรกิจ การที่จะขยายธุรกิจและ การสร้างศักยภาพธุรกิจของเราที่มีอยู่ให้ดี มีจุดไหนที่ยังขาด แก้ยากก็หาช่องทางมาเติมเต็ม รักษามาตรฐานและรักษาความ สะอาดของสินค้าและผลิตภัณฑ์ของเรา รักษามาตรฐาน และดูแล ความสะอาดของงานบริการถ่ายทอดสู่พนักงาน สร้างการจดจ�ำ แบรนด์ของบริษัทแก่ลูกค้าอยู่เสมอ เมื่อมีผลิตภัณฑ์ใหม่ควร แนะน�ำให้ลูกค้าทดลองอย่างต่อเนื่อง”

รักษามาตรฐาน-สร้างการจดจ�ำแบรนด์แก่ลูกค้า พร้อมเติมเต็มจุดที่ขาด รับพิษ COVID-19 การั ญ ญา จารุ ธ าณิ น ทร์ กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท พี.โอ.พี. สยามโกลเด้นฟรุ๊ต จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์ Mango Mania กล่ า วว่ า ธุ ร กิ จ แฟรนไชส์ ข องบริ ษั ท ฯ เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ด�ำเนินการที่ต่างประเทศประมาณ 70% มีทั้งประเทศจีน อินเดีย และฮ่องกง และในอนาคตมีแผนทีจ่ ะขยายไปในประเทศยุโรปด้วย โดยธุรกิจในประเทศ 30% จะเป็นสาขาในกรุงเทพฯ และในพื้นที่ ท่องเที่ยวส�ำคัญๆ เช่น ภูเก็ต เชียงใหม่ และพัทยา เป็นต้น ซึ่ง ทุกๆ พื้นที่มีการท�ำธุรกิจแฟรนไชส์เน้นพัฒนาในเชิงคุณภาพ มากกว่าเชิงปริมาณธุรกิจ มีความรูแ้ ละความพร้อมทีจ่ ะถ่ายทอด สู ่ ผู ้ ที่ ซื้ อ แฟรนไชส์ ไ ปประกอบธุ ร กิ จ ในอนาคต แต่ เ มื่ อ เกิ ด สถานการณ์ COVID-19 ท�ำให้บริษัทฯ มีการปรับตัวหลายด้าน โดยเฉพาะเรื่องวัตถุดิบ ที่ต้องให้พื้นที่สาขานั้นๆ ใช้วัตถุดิบ

การัญญา จารุธาณินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พี.โอ.พี. สยาม โกลเด้นฟรุ๊ต จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์ Mango Mania


ท้องถิ่น มีการตรวจสอบย้อนกลับวัตถุดิบที่น�ำมาใช้ผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ได้ เพื่อคงความมั่นใจ สร้างคุณภาพตามสูตรของ บริ ษั ท ฯ การบริ ห ารจั ด การมี ก ารประชุ ม ออนไลน์ กั น ทุ ก วั น สอบถามปริมาณการจ�ำหน่าย ลูกค้าแต่ละสาขามีจ�ำนวนเป็น อย่างไรบ้าง ซึ่งลูกค้าในต่างประเทศจะยังคงทรงตัว ปรับลดลง ไม่มากนัก แต่ในประเทศจะชะลอตัวด้วยขอบเขตการออกกฎ ควบคุมการเปิดปิดสถานที่จ�ำหน่าย ที่ส�ำคัญลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นพนักงานออฟฟิศ เมื่อมีการ Work from Home (WFH) ท�ำให้หลายๆ แห่งยอดขายลดลง จึงต้องปรับตัวด้วยการจ�ำหน่ายผ่าน Delivery ให้สินค้าเข้าไปหา กลุม่ ผูบ้ ริโภคมากขึน้ มีการท�ำโปรโมชันจัดส่งฟรีเมือ่ สัง่ ซือ้ จ�ำนวน และราคาตามที่ก�ำหนด มีคูปองให้ลูกค้าหรือสมาชิกไปสะสมใน ช่องทางออนไลน์ เป็นต้น รวมทั้งมีการลงทุนท�ำการวิจัย (R&D) ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย หน่ ว ยงานวิ จั ย ของรั ฐ บาลในการหา นวัตกรรมที่ยืดอายุวัตถุดิบที่เป็น ผลไม้ของไทยให้นานขึ้น เมื่อ น�ำมาใช้เป็นวัตถุดบิ หลักในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสูต่ ลาด จะได้อยู่ในตลาดได้นาน ขนส่งข้ามจังหวัดหรือจ�ำหน่ายไปยัง ต่างประเทศจะไม่เสียง่าย ตอบโจทย์กลุ่มผู้บริโภค “วิกฤต COVID-19 ทีเ่ กิดขึน้ อยากให้มองเป็นโอกาสในการ หยุดคิดตริตรองการท�ำธุรกิจ การที่จะขยายธุรกิจและการสร้าง ศักยภาพธุรกิจของเราที่มีอยู่ให้ดี มีจุดไหนที่ยังขาด แก้ยากก็หา ช่องทางมาเติมเต็ม รักษามาตรฐานและรักษาความสะอาดของ สินค้าและผลิตภัณฑ์ของเรา รักษามาตรฐานและดูแลความสะอาด ของงานบริการถ่ายทอดสู่พนักงาน สร้างการจดจ�ำแบรนด์ของ บริษัทแก่ลูกค้าอยู่เสมอ เมื่อมีผลิตภัณฑ์ใหม่ควรแนะน�ำให้ลูกค้า ทดลองอย่างต่อเนื่อง” การัญญา กล่าว ในปี พ.ศ. 2563 บริษัทฯ ได้รับรางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ ไทยโกอินเตอร์ยอดเยี่ยม (Best Export Franchise) จากการ ประกวด TFA 2020 ซึ่งจะช่วยยกระดับสร้างภาพลักษณ์ของ แบรนด์ Mango Mania ให้เป็นที่ยอมรับและน่าสนใจในสายตา นั ก ลงทุ น ชาวต่ า งชาติ ม ากขึ้ น ด้ ว ยรางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ การั น ตี โ ดย กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

ภคมน สมบูรณ์เวชชการ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลเด้นครีม จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์ ร้านกาแฟดิโอโร่

คุณภาพ-ความสะอาด-ปรับการให้บริการใหม่ๆ ช่วยฝ่าวิกฤต COVID-19 ภคมน สมบู ร ณ์ เ วชชการ กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท โกลเด้นครีม จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์ร้านกาแฟดิโอโร่ กล่าวว่า ร้ า นกาแฟดิ โ อโร่ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ครอบครั ว ตั้ ง มากว่ า 20 ปี แ ล้ ว ส่ ว นใหญ่ จ ะเปิ ด ร้ า นตามสถานี บ ริ ก ารน�้ ำ มั น ออฟฟิ ศ และ ห้างสรรพสินค้าบางแห่ง รวมกว่า 100 สาขา ส�ำหรับการท�ำ ธุรกิจแฟรนไชส์นั้นเริ่มได้ประมาณ 2 ปี ก่อนเกิดสถานการณ์ COVID-19 โดยได้รับรางวัล Best Medium Franchise รางวัล แฟรนไชส์ไทยขนาดกลางยอดเยีย่ ม ในเวทีประกวด TFA ของกรม พัฒนาธุรกิจการค้าเมือ่ ปี พ.ศ. 2563 ทีผ่ า่ นมา ทัง้ นี้ ทางบริษทั ฯ ได้น�ำประสบการณ์ที่ได้รับจากการประกวดมาปรับใช้ในการ ด�ำเนินธุรกิจในหลายๆ ด้าน และมีทปี่ รึกษาเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญมาให้ ค�ำแนะน�ำที่ดีเพิ่มเติม จุดเด่นของบริษทั ฯ ส�ำคัญทีเ่ มล็ดกาแฟซึง่ น�ำมาเป็นวัตถุดบิ มีการคัดสรรเมล็ดกาแฟคุณภาพจากแหล่งผลิตที่ทางบริษัทฯ เป็น ผู้ส่งเสริมให้เกษตรกรชาวเขาเพาะปลูก ที่อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เพือ่ ให้ได้กาแฟทีม่ คี ณ ุ ภาพแล้วน�ำมาคัว่ ทีโ่ รงงาน ที่ทันสมัยของบริษัทฯ ซึ่งผ่านการรับรองจากมาตรฐานโรงงาน หน่วยงานภาครัฐ มีการพิถพี ถิ นั ในการชงแต่ละสูตร รวมทัง้ มีการ ขยายการปลูกชาสมุนไพรเพิ่ม เติม เพื่อน�ำมาเป็นวัตถุดิบใน ร้านกาแฟดิโอโร่ด้วย นอกจากนี้ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภาครัฐ ในการพัฒนาเมล็ดพันธุ์กาแฟและชาสมุนไพรเพื่อให้ได้วัตถุดิบ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ เหมาะส�ำหรับแต่ละกลุม่ ผูบ้ ริโภค รวมทัง้ การปรับตัว รับคูแ่ ข่งแบรนด์กาแฟอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามาในประเทศไทยมากขึน้ เชือ่ ว่า หากสินค้าของเรามีคุณภาพ มีโปรโมชันส่วนลด มอบให้ลูกค้า ในวันพิเศษอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ ธุรกิจด้านอาหารจะต้องใส่ใจเรือ่ ง ความสะอาดเป็นอันดับแรก การรักษาความสะอาดการบริการ ตั้งแต่การชงกาแฟ บรรจุภัณฑ์ พนักงานทุกคนจะต้องได้รับการ อบรมอย่างสม�่ำเสมอ ส่วนในอนาคตก�ำลังศึกษาช่องทางการท�ำ ธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้านแถบอาเซียน “ส�ำหรับผลกระทบจากวิกฤต COVID-19 นัน้ บริษทั ฯ ได้รบั ผลจากวิกฤตไม่ต่างจากธุร กิจประเภทอื่นๆ แต่ยังโชคดีกว่า หลายๆ ธุรกิจที่พื้นที่ด�ำเนินธุรกิจมีประชาชนมาใช้บริการ และ ภาครัฐไม่ได้สั่งปิด โดยเฉพาะสถานีบริการน�้ำมัน ท�ำให้ธุรกิจ สามารถด� ำ เนิ น กิ จ การต่ อ เนื่ อ งได้ แต่ ก็ มี บ างสาขาที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ เช่น ตึกออฟฟิศทีเ่ ช่าและโรงพยาบาล มีพนักงานลดลง ก็จะขาดรายได้ตรงส่วนนัน้ ก็ทำ� การปรับเปลีย่ นมาให้บริการแบบ Delivery มากขึ้น ท�ำบัญชีรายรับรายจ่ายทุกๆ วัน วิเคราะห์ ยอดขายแต่ละสาขา รวมทั้งอาจจะท�ำแบบสอบถามแก่ลูกค้า ในสาขาต่างๆ เพื่อทราบความต้องการของลูกค้า จะได้น�ำไป ปรับปรุงการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น” ภคมน กล่าว Engineering Today July • August 2021

15


AI • กองบรรณาธิการ

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธุ ร กิ จ บัณฑิตย์ (DPU) เผยงานวิจัย “ ทั ก ษ ะ อ น า ค ต ข อ ง ก� ำ ลั ง แรงงานในประเทศไทย” พบว่า มนุ ษ ย์ ต ้ อ งท� ำ งานร่ ว มกั บ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และในอีก 30 ปีข้างหน้า AI จะเก่งกว่า มนุษย์อีกพันเท่า เผยทางรอด คื อ การใช้ Soft Skills เป็ น เครือ่ งมือส�ำคัญช่วยมนุษย์ชนะ AI ได้ ด้ ว ยการสร้ า งโอกาส ใหม่ ๆ ในสายอาชี พ โดย ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ป ็ น เ ส มื อ น ด่านหน้าทีส่ ำ� คัญในการบ่มเพาะ Soft Skills ผลิ ต บุ ค ลากร ตอบสนองตลาดแรงงานใน อนาคต ช่วยองค์กรลดต้นทุน และประหยั ด เวลาในการ Reskill และ Upskill ให้ พนักงาน

ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

16

Engineering Today July • August 2021

DPU โชว์ ผ ลวิ จ ย ั Soft Skills ช่วยมนุษย์เอาชนะ AI ชี้มหาวิทยาลัยช่วยให้องค์กรลดต้นทุน Upskill-Reskill มหาวิทยาลัยต้องผลิตคนตอบโจทย์ความต้องการแรงงาน และผู้ประกอบการ รับการท�ำงานในอนาคต

ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กล่าวว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา มีการพูดถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับมนุษย์ เมื่อ AI สามารถ ท�ำงานบางอย่างแทนมนุษย์ได้ ตามความเก่งของ AI ในแต่ละยุค ดังนั้นมนุษย์จะต้อง มีการปรับตัวเพือ่ ให้อยูร่ อดจากการพัฒนาอย่างล�ำ้ หน้าของ AI ด้วยเหตุนี้ หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนได้ตระหนักถึงการ Reskill และ Upskill ทักษะของบุคลากร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น “มีการคาดการณ์ถึงการท�ำงานในอนาคตว่า AI จะท�ำงานร่วมกับมนุษย์และ ท�ำงานแทนมนุษย์ได้หลากหลายและรวดเร็วกว่าหลายเท่า โดยเฉพาะงานทีม่ รี ปู แบบ ซ�้ำๆ (Routinized) งานที่มีกระบวนการท�ำงานและขั้นตอนที่ตายตัว แต่ทักษะ ด้าน Soft Skills หรือทักษะทางสังคม ยังคงเป็นสิ่งที่ AI ยังพัฒนาได้ไม่เท่าทันมนุษย์ หากมนุษย์จะท�ำงานร่วมกับหรือท�ำงานให้เก่งกว่า AI ต้องพัฒนาทักษะ Soft Skills ที่จ�ำเป็น เช่น ทักษะการวิเคราะห์ในระดับสูง ทักษะทางสังคมในการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างมนุษย์และ AI ในอีกมุมมองหนึ่ง มีงานวิจัยหลายชิ้นพบว่าในหลายประเทศ มีการแย่งชิงแรงงานทักษะที่มีทักษะการวิเคราะห์ในระดับสูง เช่น Data Scientist, Solutions Engineer, UX Designer, Software QA Engineer, Software Developer และ Front End Developer ซึ่งรูปแบบการท�ำงานจะมุ่งเน้นเป็นแบบ Freelance มากขึน้ ดังนัน้ มหาวิทยาลัยจึงจ�ำเป็นจะต้องมีการเรียนการสอนทีส่ ามารถ ตอบสนองความต้องการของแรงงานและผู้ประกอบการ เพื่อสร้างแรงงานที่พร้อม ในการท�ำงานในอนาคต” ดร.ดาริกา กล่าว


ผู้เชี่ยวชาญจึงให้ ความส�ำคัญกับการ พัฒนาทักษะแรงงาน ในช่วงที่ 1 (พัฒนา AI) คือตั้งแต่ปัจจุบัน ไปจนถึงปี 2029 ซึ่ง พบว่าทักษะที่จ�ำเป็น ในอนาคตส�ำหรับ แรงงานในประเทศไทย ส่วนใหญ่จึงเป็นทักษะ ที่มีลักษณะเป็น Soft Skills ทั้งหมด 8 ข้อหลักๆ

DPU ศึกษา “ทักษะอนาคตของก�ำลังแรงงานในประเทศไทย” 3 ช่วงเวลา

ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ท�ำการศึกษาเรื่อง “ทักษะอนาคตของ ก� ำ ลั ง แรงงานในประเทศไทย” เพื่ อ ศึ ก ษาแรงงานในอนาคตว่ า ควรมี ชุ ด ทั ก ษะ (Skill Set) อะไรบ้าง โดยศึกษาใน 3 ช่วงเวลา คือ ช่วงพัฒนา AI (2020-2029) ช่วงท�ำงานร่วมกับ AI (2030-2049) และช่วงอยู่ร่วมกับ AI (2050-2060) จากผลการศึกษาวิจยั พบว่า ช่วงที่ 1 ช่วงพัฒนา AI (Evolving with AI) ตัง้ แต่ ปี 2020-2029 เป็นช่วงที่ AI ยังไม่เก่งเท่ามนุษย์ ยังไม่มีความคิดสร้างสรรค์ ยังคิดและตัดสินใจไม่เก่งเท่ามนุษย์ จึงสามารถท�ำงานบางอย่างแทนมนุษย์ได้เท่านัน้ เช่น งานที่มีการประมวลผลข้อมูลซ�้ำๆ งานมีรูปแบบการค�ำนวณที่เหมือนกัน และ ไม่ต้องใช้การวิเคราะห์เฉพาะสถานการณ์ ดังนั้น ทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับมนุษย์ ในยุคนี้ คือ ทักษะในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) ซึ่งต้องใช้สัญชาตญาณ ความเป็นมนุษย์ในการคิดและตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ทไี่ ม่ตายตัว กระบวนการคิด เชิงออกแบบ (Design Thinking/Design Mindset) ทักษะการคิดปรับเปลี่ยน เชิงประยุกต์ (Adaptive Thinking) ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ทักษะการท�ำงานร่วมกันเป็นทีม (Collaboration) และทักษะในการรับมือกับ วัฒนธรรมที่หลากหลาย (Cross Culture) ช่วงที่ 2 ท�ำงานร่วมกับ AI (Working with AI) ตั้งแต่ปี 2030-2049 เป็น ช่วงทีม่ นุษย์ทำ� งานร่วมกับ AI มากขึน้ ส่งผลให้มกี ารเปลีย่ นแปลงแนวคิดในการท�ำงาน อย่างเต็มรูปแบบ ดังนั้น มนุษย์มีความจ�ำเป็นต้องเพิ่มทักษะและการเรียนรู้ใหม่ๆ ให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทักษะที่จ�ำเป็นในช่วงเวลานี้คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์

Engineering Today July • August 2021

17


(Analytical Skill) และทักษะการสร้างมูลค่าหรือคุณค่าให้กับสินค้าหรือบริการ (Value Creation Skill) ถือเป็นทักษะด้านศิลปะทางความคิดที่ต้องอาศัยปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย ซึ่ง AI จะยังไม่สามารถท�ำแทนมนุษย์ได้แบบ 100% และสุดท้ายคือ ช่วงที่ 3 อยู่ร่วมกับ AI (Living with AI) ตั้งแต่ปี 20502060 ผลวิจัยคาดการณ์ไว้ว่า AI จะมีความสามารถมากกว่ามนุษย์พันเท่า ข้อดี คือ สามารถท�ำงานแทนมนุษย์ได้อย่างเต็มรูปแบบ มนุษย์ไม่ต้องเหนื่อยท�ำงานมาก การใช้ AI มีต้นทุนถูกกว่าการจ้างแรงงานมนุษย์ ส่วนข้อเสียคือ งานบางประเภท จะหายไป มนุษย์ที่มีทักษะเก่าๆ จะตกงาน และจะมีงานประเภทใหม่เข้ามาทดแทน ดังนั้น ทักษะในช่วงเวลานี้ คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ขั้นสูง (Advanced Analytical Skill) เพื่อให้สามารถท�ำอาชีพใหม่ที่ AI ไม่สามารถท�ำแทนได้ อาชีพใหม่ที่คาดหวัง คือ ที่ปรึกษาเชิงปรัชญา (Philosophical Consultant) นักออกแบบเวลาว่าง (Free Time Designer) นักออกแบบอาชีพ (Occupation Designer) และนักออกแบบ ห้องเสมือนจริง (Virtual Room Designer) เป็นต้น

Soft Skills 8 ข้อ ที่แรงงานต้องมีในยุคพัฒนา AI

อย่างไรก็ตาม จากการสัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญในองค์กรทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับการ ใช้ทักษะแรงงานต่างมีความเห็นว่า หากจะมองถึงสถานการณ์ในช่วงที่ 2 (ท�ำงานกับ AI) และช่วงที่ 3 (อยูร่ ว่ มกับ AI) อาจเป็นการคาดการณ์ทไี่ กลเกินไป ประกอบกับการ เปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากขึ้น ผู้เชี่ยวชาญ จึงให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาทักษะแรงงานในช่วงที่ 1 (พัฒนา AI) คือตัง้ แต่ปจั จุบนั ไปจนถึงปี 2029 ซึ่งพบว่าทักษะที่จ�ำเป็นในอนาคตส�ำหรับแรงงานในประเทศไทย ส่วนใหญ่จึงเป็นทักษะที่มีลักษณะเป็น Soft Skills ได้แก่ 1 ทักษะการวิเคราะห์และปรับใช้ขอ้ มูลอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจโครงสร้าง ของข้อมูล และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อน�ำไปต่อยอดเชื่อมโยงได้ เนื่องจากในช่วง เวลานี้ AI จะท�ำหน้าที่รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลใน Big Data ที่มีอยู่มากมาย มนุษย์จ�ำเป็นต้องมีความรู้ในการน�ำข้อมูลมาท�ำการวิเคราะห์ให้เกิดประโยชน์ได้ 2 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ เป็นการน�ำข้อมูลต่างๆ ที่ได้สร้างสรรค์ ต่อยอดในการด�ำเนินธุรกิจ 3 ทักษะการใช้เครื่องมือด้านดิจิทลั ได้อย่างเต็มศักยภาพสูงสุด การใช้ชวี ติ บนโลกแห่งดิจิทัล เช่น การค้นหาข้อมูล การจดบันทึก บนสื่อดิจิทัล เพราะสิ่งเหล่านี้ จะเป็นการทิ้งร่องรอยบนโลกดิจิทัลเพื่อช่วยให้ AI สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมของ มนุษย์ได้มากขึ้น 4 ทักษะการปรับตัว ทั้งวิธีการท�ำงาน กรอบแนวคิด การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม และต้องสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดเวลา (Lifelong Learning) 5 ทักษะการบริหารจัดการคน เนื่องจากในอนาคตการท�ำงานเป็นทีมถือ เป็นปัจจัยส�ำคัญ 6 ทักษะด้านการมีเหตุผลในการคิด เพื่อเสริมสร้างให้เกิดการคิดอย่างเป็น ระบบ สามารถน�ำมาจัดวางเป็นโปรแกรมบนดิจิทัลต่อไปได้ 7 ทักษะความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ในระดับยีนและ DNA เพื่อน�ำมา พัฒนาต่อยอดในอนาคต และ 8 ทักษะด้านภาษา การฝึกฝนทางด้านภาษาที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้ เข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้มากขึ้น

18

Engineering Today July • August 2021


เผยไทยขาดการปลูกฝังวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ท�ำให้บุคลากรไม่สนใจองค์ความรู้ใหม่ๆ

ประเทศไทยขาดการ ปลูกฝังวัฒนธรรม การเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงท�ำให้บุคลากร ขาดการเพิ่มเติม องค์ความรู้ใหม่ๆ ขาดแรงจูงใจด้าน ค่าตอบแทนหรือการ คุ้มครองสิทธิบัตรทาง ปัญญาให้กับผู้สร้าง นวัตกรรม คนที่เก่ง ด้านเทคโนโลยีจึงไป ท�ำงานให้กบั ประเทศอืน่ รวมถึงยังขาดการ ประชาสัมพันธ์ที่ดีว่า AI คือนวัตกรรมที่ จะมาพัฒนาประเทศ ไม่ใช่นวัตกรรมที่จะมา ท�ำให้คนตกงาน

นอกจากนี้ ผลจากการศึกษาวิจยั ยังได้สะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคทีจ่ ะส่งผล ต่อการพัฒนาแรงงานในอนาคตพบว่า องค์กรส่วนใหญ่ยังไม่มีแผนในการพัฒนา ทัง้ ด้านเทคโนโลยีและทักษะของแรงงาน หลายๆ องค์กรต้องการลงทุนเรือ่ งการสร้าง ทักษะให้แก่แรงงาน แต่ยังไม่ได้มีแผนที่ชัดเจน ไม่มีแนวทาง ไม่ทราบว่าควรพัฒนา ทักษะอะไร ไม่มีเครื่องมือในการวัดทักษะเดิมของพนักงาน โดยมีสัดส่วนขององค์กร ที่ยังไม่คิดถึงแผนการพัฒนาทักษะแรงงาน หรือมีแผนบ้างแต่ยังไม่ได้ลงมือท�ำกว่า 48% หรือบางองค์กรที่ได้เริ่มเปลี่ยนแปลงแล้ว ก็พบว่าบุคลากรยังขาดความรู้และ ไม่มีสมรรถนะที่จะเข้าใจเรื่องของ AI จึงไม่สามารถน�ำข้อมูลไปต่อยอดได้ และยัง พบว่าประเทศไทยขาดการปลูกฝังวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงท�ำให้บุคลากร ขาดการเพิ่มเติมองค์ความรู้ใหม่ๆ นอกจากนี้ยังขาดแรงจูงใจด้านค่าตอบแทนหรือ การคุม้ ครองสิทธิบตั รทางปัญญาให้กบั ผูส้ ร้างนวัตกรรม คนทีเ่ ก่งด้านเทคโนโลยีจงึ ไป ท�ำงานให้กับประเทศอื่น รวมถึง ยังขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดีสร้างภาพลักษณ์ ให้ประชาชนมองว่า AI คือนวัตกรรมที่จะมาพัฒนาประเทศ ไม่ใช่นวัตกรรมที่จะมา ท�ำให้คนตกงาน “ผลจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ท�ำให้เราตระหนักได้ว่าความสามารถของมนุษย์ เมื่อท�ำงานร่วมกับ AI นั้น จะเกิดประสิทธิภาพที่เป็นเลิศ องค์กรจึงต้องมีการพัฒนา ทักษะแรงงานอยู่เสมอ แต่เนื่องจากส่วนใหญ่ยังไม่มีความพร้อม การเรียนการสอน ในระดับมหาวิทยาลัยจ�ำเป็นต้องมีการปรับและพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ ความจ�ำเป็นของอนาคต โดยการปลูกฝัง Soft Skills ทีพ่ ร้อมส�ำหรับการท�ำงานให้กบั บุคลากร ซึ่งจะมีส่วนส�ำคัญในการช่วยท�ำให้ปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้ลดน้อยลง เพราะจะสามารถลดต้นทุนในการ Reskill และ Upskill ให้กับองค์กรต่างๆ ได้” ดร.ดาริกา กล่าว

Engineering Today July • August 2021

19


Cover Story • Clemens Hengstler Product Management Radar VEGA

Extra

safety-in storage and measurement The new VEGAPULS 64 enables absolutely reliable level measurement in liquid gas storage.

In some industries, the specific safety requirements go far beyond what is prescribed by TÜV or national laws. Especially great is the need for safety in the petroleum processing industry, for example in storing liquid gas in spherical tanks. Thanks to the powerful signal focusing of the new VEGAPULS 64, new areas of application for non-contact radar measurement technology are now opening up. A little on the technical background: In oil refineries, there are increasingly strict requirements that sensors are generally be mounted through ball valves. This is to ensure that if required, sensors can be exchanged safely and easily, even during operation. Until now VEGA has generally not recommended this kind of installation for radar level sensors because the additional mounting socket and the ball valve itself cause strong interference and false echoes at close range. Especially if a sensor was used to detect overfilling, sometimes the relatively small echoes from the medium could not be reliably detected due to this strong noise generated near the sensor.

20

Engineering Today July • August 2021

New radar level sensor VEGAPULS 64 for liquids: The front-flush antenna of PTFE has very high chemical resistance and needs no seal.

With VEGAPULS 64, the impact of the ball valve is much lower, as the sensor has vastly better signal focusing and the mounting socket and ball valve thus reflect far fewer signals. Thanks to the higher frequency, 80 GHz, there are now considerably more possibilities for mounting sensors on shut-off valves than ever before. Another advantage for the user: the new sensor can be installed on existing shut-off devices-this keeps modification and retrofitting costs to a minimum. The first sensors in the field have shown that the new VEGAPULS 64 qualifies as a truly universal sensor. Besides LPG tanks without standpipe, it can also measure the level reliably in practically any kind of storage or process tank.


LPG and LNG

spherical tank Level and pressure monitoring in liquid gas tanks

LPG tanks are usually only accessible for service and maintenance work every few years during shut-down periods. In addition, the containers are mostly installed underground or covered with earth. The solution is a process independent measuring system that delivers safe and reliable readings despite low dielectric constants and low temperatures.

VEGAPULS 64

Level measurement with radar in spherical tanks Maintenance-free operation thanks to noncontact measuring principle High measuring accuracy even with low dielectric constants Very narrow signal focusing even in large measuring ranges The sensor is simple and easy to replace thanks to cut-off valve and isolation from process

Reliable

High measuring accuracy despite low dielectric constants

Cost effective

Maintenance-free operation

User friendly

Sensor replacement even during operation thanks to cut-off valve

More information available at: www.vega.com/radar

Engineering Today July • August 2021

21


R&D • กองบรรณาธิการ

The Stanford Thailand Research Consortium พัฒนาทักษะแรงงานไทย ด้วยนวัตกรรมการศึกษา และการพัฒนาก�ำลังคน

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

The Stanford Thailand Research Consortium จัด งานสัมมนาออนไลน์ ถ่ายทอดผลการศึกษาเบื้องต้นในโครงการ วิจยั Innovative Teaching Scholars (ITS) พร้อมส�ำรวจมุมมอง ของภาคอุตสาหกรรมในการส่งเสริมการเตรียมความพร้อมของ นักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย เพือ่ รับมือกับการเปลีย่ นแปลงของ ประเทศไทยสู่ระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม งานสัมมนาออนไลน์ดังกล่าว จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ “Future Thailand-Innovation in Education and Workforce Development” โดยมีผู้ร่วมอภิปราย ได้แก่ คณาจารย์และ นักวิจัยในโครงการ ITS จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ร่วมกับ ผูบ้ ริหารจากองค์กรชัน้ น�ำในประเทศไทย มุง่ เน้นการอภิปรายเรือ่ ง กลยุทธ์ในการยกระดับความพร้อมของแรงงานในประเทศไทย ตลอดจนการพัฒนาแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ที สี่ ดุ เพือ่ สนับสนุนบุคลากร ด้านการศึกษาในการสร้างการมีสว่ นร่วมและเตรียมพร้อมเยาวชน ของชาติให้ประสบความส�ำเร็จในการประกอบอาชีพในอนาคต

22

Engineering Today July • August 2021

ด้านมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ได้รับเกียรติผู้ร่วมอธิปราย โดย ศาสตราจารย์แชรี แชพเพิรด์ ริชาร์ด วีลแลนด์ ศาสตราจารย์ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และ ดร.ลาติเซีย บริทอส คาแวคแนโร ศาสตราจารย์พิเศษจาก สถาบั น การออกแบบแฮซโซ่ แพลทเนอร์ ซึ่ ง รั บ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ด�ำเนินรายการด้วย ดร.ลาติเซีย บริทอส คาแวคแนโร กล่าวว่า มหาวิทยาลัย ทั่วโลกต่างก�ำลังเผชิญกับปัญหาด้านความไม่สอดคล้องระหว่าง การเตรี ย มความพร้ อ มของนั ก ศึ ก ษากั บ ทั ก ษะและวิ ธี คิ ด (Mindset) ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ ความส� ำ เร็ จ ในการประกอบอาชี พ ในอนาคต ความพิเศษของโครงการ ITS คือการมุ่งสร้างความ ร่วมมือระหว่างบุคลากรทางการศึกษาไทยที่สนใจปรับมุมมอง สู่การศึกษายุคใหม่ และผู้น�ำเชิงนวัตกรรมจากภาคองค์กรระดับ ประเทศ ซึง่ ก�ำลังมองหาคนรุน่ ใหม่ทพี่ ร้อมจะสร้างความก้าวหน้า ในองค์กรไทยในอนาคต ขณะนี้โครงการวิจัยของ ITS ก�ำลัง


ติดอาวุธให้แก่คณาอาจารย์มหาวิทยาลัยไทยจ�ำนวน 50 ท่าน ด้ ว ยการทดลองน� ำ แนวทางการสอนแบบใหม่ ใ นการเตรี ย ม ความพร้อมนักศึกษาเพื่อมุ่งสร้างความส�ำเร็จในการประกอบ อาชี พ ตลอดจนช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ อ าจารย์ เ หล่ า นั้ น เป็ น ผู ้ น� ำ ที่ ส ามารถสร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ เ พื่ อ นร่ ว มงานและสถาบั น ของพวกเขาได้ท�ำในสิ่งเดียวกัน ศาสตราจารย์แชรี แชพเพิรด์ ผูน้ ำ� ในการวิจยั เพือ่ ท�ำความ เข้ า ใจผลกระทบของโครงการที่ มี ต ่ อ ผู ้ ส อนและวิ ธี ก ารสอน ของอาจารย์ผรู้ ว่ มโครงการ กล่าวว่า ข้อมูลทัง้ จากการส�ำรวจและ การสัมภาษณ์ชี้ให้เห็นว่าอาจารย์กลุ่มแรกที่เข้าร่วมโครงการ ITS ประสบความส� ำ เร็ จ ในการทดลองในการน� ำ กลยุ ท ธ์ แ นวทาง การสอนในรูปแบบใหม่ไปใช้ อาทิ เปิดโอกาสให้นักศึกษามีอิสระ ในการตัดสินใจมากขึ้นในห้องเรียน ซึ่งเป็นความท้าทายส�ำหรับ อาจารย์บางส่วน แต่แนวทางนีก้ ลับเพิม่ การมีสว่ นร่วมในชัน้ เรียน ได้อย่างมีนัยส�ำคัญ ส�ำหรับงานวิจัย ITS ในอนาคตจะมุ่งส�ำรวจ ต่อไปว่าอาจารย์ทเี่ ข้าร่วมโครงการจะยังคงช่วยสนับสนุนกันและกัน ในการยกระดับชั้นเรียนของพวกเขาสู่มิติใหม่หรือไม่ ตลอดจน ส� ำ รวจไปถึ ง ระดั บ ที่ เ ขาเหล่ า นั้ น สามารถสร้ า งแรงบั น ดาลใจ ให้เพือ่ นร่วมงานคนอืน่ ๆ ในสถาบันการศึกษาของตน เพือ่ ลองน�ำ แนวทางการสอนแบบใหม่นี้ไปใช้สอนในวิชาของตนเอง นอกจากนี้ นักวิจัยในโครงการ ITS ก�ำลังท�ำงานร่วมกับ บุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการบุคลากรสายอาชีพเฉพาะทาง (Early-career Professional) และตัวแทนจากภาคอุตสาหกรรม ทีจ่ ะช่วยระบุทกั ษะเฉพาะทีจ่ ำ� เป็นต่อความส�ำเร็จในการประกอบ อาชีพในอนาคต ตลอดจนมุ่งหาแนวทางเพิ่มเติมว่าโครงการ ITS นี้จะสามารถช่วยเหลือเหล่าอาจารย์ในการบูรณาการทักษะ เฉพาะเหล่านั้นให้เข้ากับหลักสูตรของตนเองได้ดียิ่งขึ้นอย่างไร “เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของช่องว่างหรือความทับซ้อนที่ เกิดขึ้นระหว่างวิธีการวางแนวคิดของผู้สอนถึงสิ่งส�ำคัญส�ำหรับ นักเรียนในการเรียนรู้ และทักษะที่บริษัทไทยเห็นความส�ำคัญว่า พนั ก งานในอนาคตควรมี จึ ง เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ในวั น นี้ ที่เราต้องการพันธมิตรจากภาคองค์กรธุรกิจเข้ามามีส่วนในการ ร่วมหารือด้วยกัน” ดร.ลาติเซีย กล่าว งานในครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก กานติมา เลอเลิศยุติธรรม หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านทรัพยากรบุคคล บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) (เอไอเอส) และกลุ่มอินทัช วิทการ จันทวิมล รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ สายงานกลยุทธ์ องค์กรและการสร้างสรรค์ บริษัท เอพี (ไทยแลนด์) จ�ำกัด (มหาชน) และ เรืองโรจน์ พูนผล ประธาน กสิกร บิซิเนสเทคโนโลยี กรุ๊ป ร่วมแบ่งปันมุมมองจากภาคธุรกิจในเรื่องทักษะ ที่จ�ำเป็นในการประกอบอาชีพในอนาคตและการพัฒนาก�ำลังคน ในด้านความสามารถทางการเรียนรูแ้ ละความสามารถเชิงนวัตกรรม ในประเทศไทย ที่ก�ำลังเป็นที่ต้องการในวงกว้าง

กานติมา เลอเลิศยุติธรรม จากเอไอเอส ให้ความเห็นว่า ในบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง ส่งผลกระทบ ในทุกมิตอิ ย่างรวดเร็วและรุนแรง สิง่ ส�ำคัญอย่างยิง่ คือการพัฒนา ศักยภาพใหม่ๆ ให้กับคนไทย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ ประเทศให้กา้ วหน้าและแข่งขันได้ในเวทีดจิ ทิ ลั ระดับโลก และนีค่ อื “พันธสัญญาที่ส�ำคัญยิ่ง (Vital Obligation)” ในการร่วมกันสร้าง โอกาสเพื่อส่งเสริมความแข็งแกร่งของคนไทย และความร่วมมือ ในการท� ำ งานร่ ว มกั น ระหว่ า งภาครั ฐ องค์ ก รภาคการศึ ก ษา ตลอดจนภาคเอกชน คือสิ่งที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง งานวิจัยภายใต้ The Stanford Thailand Research Consortium โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ระดั บ โลกจากมหาวิ ท ยาสแตนฟอร์ ด ซึ่ ง ท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ ศูนย์พฒ ั นาและส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ แห่งภูมภิ าคอาเซียน (Southeast Asia Center หรือ SEAC) ในประเทศไทย ถือเป็น ก้าวส�ำคัญในการวางรากฐานเพือ่ ยกระดับความรูข้ องคนไทยอย่าง เป็นรูปธรรม เพิ่มขีดความสามารถของคนไทยและขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศต่อไปในอนาคต เรืองโรจน์ พูนผล ประธาน กสิกร บิซเิ นส-เทคโนโลยี กรุป๊ กล่าวถึงการสนับสนุนงานวิจยั ครัง้ นีว้ า่ จากการส่งเสริมการท�ำงาน ร่วมกันกับสถาบันศึกษาและองค์กรวิจัยชั้นน�ำระดับประเทศ ทางกสิกร บิซิเนส-เทคโนโลยี กรุ๊ป สามารถช่วยสนับสนุนด้าน การสร้างนวัตกรรมแบบครบวงจร ตั้งแต่ขั้นตอนการวิจัยจนถึง การผลิต ตลอดจนการรวบรวมองค์ความรู้ความเชี่ยวชาญเข้ามา ช่วยพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยียุคใหม่ให้มีทักษะที่ส�ำคัญ ในงานด้าน Data Science, AI, OCR, และ Blockchain การสนับสนุนแรงงานรุ่นใหม่นั้น มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องสร้างพลังและส่งเสริมนวัตกรรมให้กับผู้สอน ซึ่งเป็นผู้สร้าง ประสบการณ์ทเ่ี ชือ่ มโยงส�ำหรับนักเรียนและผูเ้ รียนรู้ เช่น การสร้าง ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง อันเป็นหัวใจ ส�ำคัญของโครงการ ITS ที่ The Stanford Thailand Research Consortium มุ่งหวังจะสร้างให้เกิดขึ้นผ่านงานวิจัยเชิงวิชาการ วิทการ จันทวิมล จากเอพี ไทยแลนด์ แสดงความเห็นว่า การเตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมในการท�ำงานในยุคปัจจุบัน นั้น นอกจากนักศึกษาเองจะต้องเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพของ ตนเองแล้ว พวกเขายังต้องมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การ แก้ปัญหา การสื่อสาร และการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น โดยสามารถ ที่จะหาข้อมูลที่ดีได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงมีความสามารถในการ ปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการ สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น และการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ถื อ เป็ น พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ที่ จ ะท� ำ ให้ บั ณ ฑิ ต ผู ้ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา ประสบความส�ำเร็จได้ในยุคทีเ่ ศรษฐกิจโลกขับเคลือ่ นอย่างรวดเร็ว โดยมีโครงการ AP Open House ช่วยเสริมสร้างแนวทาง ที่เปิดโอกาสให้นิสิตนักศึกษาได้พัฒนาทักษะดังกล่าว Engineering Today July • August 2021

23


Industry 4.0 • *เปาโล โคลัมโบ **รัสส์ ซาเกิร์ต

ปลดล็อกการปฏิรูป

สู่ Industry 4.0 สร้างศักยภาพด้วย Edge Computing

อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) คือ การปฏิวตั คิ รัง้ ถัดไป ของภาคอุตสาหกรรมการผลิต ที่ให้ค�ำมั่นสัญญาในการน�ำเสนอ การบูรณาการอย่างแท้จริงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ IT และเทคโนโลยี ก ารด� ำ เนิ น งานหรื อ OT (Operational Technology) เพือ่ มอบศักยภาพทีช่ ว่ ยปรับปรุงประสิทธิภาพการ ท�ำงานมากมายได้อย่างน่าทึ่ง อีกทั้งช่วยลดต้นทุน อย่างไรก็ตาม การจะบรรลุเรือ่ งดังกล่าว บริษทั จะต้องคิดทบทวนว่าได้ขอ้ มูลมา จากไหน อย่างไร รวมถึงมีกระบวนการด�ำเนินงานและการจัดเก็บ ที่ไหน อย่างไร ซึ่งเอดจ์คอมพิวติ้งส�ำหรับอุตสาหกรรมจะมี บทบาทส�ำคัญที่ช่วยในเรื่องดังกล่าว ส�ำหรับอุตสาหกรรม 3.0 ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ระบบออโตเมชัน การเชือ่ มต่ออุปกรณ์ และการก�ำหนดถึงสิง่ ทีเ่ รา สามารถเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น งานด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ด้านธุรกิจ ส่วนอุตสาหกรรม 4.0 ก็จะเกีย่ วข้องกับการน�ำรูปแบบ การประมวลผลขั้ น สู ง มาใช้ เ พื่ อ ให้ มี ข ้ อ มู ล ช่ ว ยสนั บ สนุ น การ ตัดสินใจได้มากขึ้น บางมุมจะอยู่ที่ความเข้าใจพฤติกรรมและ ลักษณะการท�ำงานของเครือ่ งจักรแต่ละเครือ่ ง แต่สว่ นใหญ่จะอยู่ ที่ความเข้าใจเรื่องการท�ำงานพึ่งพากันในส่วนต่างๆ ทั้งสาเหตุ และผลกระทบของสายการผลิตที่ซับซ้อนทั้งหมด รวมถึงการ ด�ำเนินการในโรงงาน กระทั่งที่เป็นเรื่องของตัวโรงงานก็ตาม การจะเข้าใจเรือ่ งของการท�ำงานพึง่ พากันในส่วนต่างๆ ต้องอาศัย ข้อมูล ซึ่งเป็นข้อมูลจ�ำนวนมาก ข้อมูลดังกล่าวได้จากเซนเซอร์ ต่างๆ จากอุปกรณ์และเครือ่ งจักร และในหลายๆ กรณีตอ้ งอาศัย การจัดการข้อมูลจากในพื้นที่ มากกว่าในดาต้าเซนเตอร์บน คลาวด์ เนื่องจากเป็นข้อมูลปริมาณมากที่ได้มาแบบเรียลไทม์

* ผู้อ�ำนวยการแผนกพัฒนาการตลาด เพื่อผู้ประกอบการด้านการผลิตเครื่องจักรและผู้วางระบบ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค **ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ด้านโซลูชัน IoT ส�ำหรับเอดจ์ NetApp

24

Engineering Today July • August 2021


๏ การด�ำเนินการได้อย่างถูกต้องสามารถให้ ประโยชน์มากมายแก่ธุรกิจ ช่วยบริษัทในภาค อุตสาหกรรมได้หลายประเด็น ดังต่อไปนี้

• ลดต้นทุนการด�ำเนินงาน • ปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน • ได้ปริมาณงานมากขึ้น • ลดเวลาที่ต้องเสียไปโดยไม่เกิดประสิทธิผลหรือ การดาวน์ไทม์ที่ไม่ได้วางแผน • ลดค่าใช้จ่ายและลดความถี่ในการบ�ำรุงรักษา • ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ • ลดปัญหาด้านสุขภาพของคนท�ำงาน และปัญหา เรื่องความปลอดภัย • เพิ่มประสิทธิภาพให้กับซัพพลายเชน และลดสินค้าคงคลัง

๏ ความท้าทายที่มาพร้อมกับการก้าวสู่ อุตสาหกรรม 4.0

โดยทั่วไปลูกค้าจะเข้าใจดีถึงประโยชน์มากมายที่ได้จาก อุตสาหกรรม 4.0 นอกจากนี้ ลูกค้าในเกือบทุกอุตสาหกรรม ต่างพยายามขวนขวายเป็นอย่างมาก เพื่อด�ำเนินการสู่การปฏิรูป จากการทีไ่ ด้รว่ มงานกับลูกค้าบางราย ท�ำให้เราได้ทราบถึงเหตุผล ที่หลากหลายในเรื่องดังกล่าว ไซต์การผลิตของลูกค้าส่วนใหญ่จะด�ำเนินงานตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ใน 365 วัน ซึ่งเป็นอุปสรรคในการวางแผนเพื่อ ปรับเปลี่ยนระบบโครงสร้าง เมื่อมีการดาวน์ไทม์เกิดขึ้นจะส่งผล กระทบโดยตรงต่ อ การด� ำ เนิ น งานและกระทบถึ ง รายได้ จ าก สายการผลิต การน�ำทักษะ IT มาใช้ในสาย OT ถือเป็นอีกหนึ่งความ ท้าทายเช่นกัน ผู้เชี่ยวชาญด้าน OT ล้วนคุ้นเคยกับเครือข่าย โปรโตคอล และเครื่องมือต่างๆ เฉพาะส�ำหรับสายการผลิตที่ใช้ มานานหลายปี แต่อุตสาหกรรม 4.0 คือการขอให้คนเหล่านั้นน�ำ เทคโนโลยีทอี่ ยูใ่ นโลกของดาต้าเซ็นเตอร์มาใช้ เช่น การสร้างความ ยืดหยุ่น การทนทานหรือรองรับในกรณีที่เกิดความผิดพลาด (Fault-tolerance) และขีดความสามารถที่ก�ำหนดโดยซอฟต์แวร์ ทั้งนี้ ในลักษณะเดียวกัน ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีก็จะเจอกับความ ท้าทายในการน�ำแนวคิดของดาต้าเซนเตอร์เหล่านั้นไปปรับใช้ ในสภาพแวดล้อมด้านอุตสาหกรรม เพื่อน�ำเสนอโซลูชันเอดจ์ คอมพิวติง้ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับดาต้าเซนเตอร์ ในแง่ของความน่าเชือ่ ถือ ประสิทธิภาพ และการรักษาความปลอดภัย โซลูชันส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ใช้ ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเซนเซอร์ระบบโครงสร้างในการ ประมวลผลไอทีและสตอเรจ และการเชื่อมต่อเครือข่าย ซึ่งต้อง

อาศัยความเชี่ยวชาญในการติดตั้งเพื่อให้บริการและช่วยในการ ปฏิรปู ธุรกิจ แต่ทว่ายังไม่มผี จู้ ำ� หน่ายรายใดทีส่ ามารถจัดหาโซลูชนั ทีค่ รบวงจรส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 ได้ในคราวเดียว ดังนัน้ ลูกค้า จึงต้องรับหน้าที่เปรียบเสมือนผู้รับเหมาที่จัดหาระบบโครงสร้าง และความเชี่ยวชาญทั้งหมดที่ต้องการและท�ำให้ระบบทั้งหมด ท�ำงานร่วมกันได้ หรือไม่ก็ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้จ�ำหน่าย หรือที่ปรึกษาที่น่าจะช่วยในเรื่องดังกล่าวได้ เรายังคงเห็นว่ามีการทดสอบความเป็นไปได้ของแนวคิด (POC) อยู่มากมายที่ยังใช้การไม่ได้ หลายบริษัทเริ่มทดสอบ โซลู ชั น แต่ ก็ ยั ง เห็ นว่ า เทคโนโลยี ทั้ ง หมดที่ อ ยู ่ ร อบตั ว มี ก าร เปลีย่ นแปลงอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ตดั สินใจได้ยากว่าจะเลือกไป ในแนวทางไหน เพราะกลัวว่าผู้จ�ำหน่ายจะยึดติดและสนับสนุน เทคโนโลยีหรือแนวทางที่ไม่ถูกต้อง ในส่วนของข้อมูล IDC (International Data Corporation) ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะมีข้อมูลถึง 79 เซตต้าไบต์ ที่มาจากอุปกรณ์ IoT (Internet of Things) จ�ำนวน 1 พันล้านเครื่อง ภายในปี ค.ศ. 2025 นอกจากนี้ มีหลายกรณีที่ข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูล แบบไซโล และไม่สามารถเข้าถึงระบบวิเคราะห์ทจี่ ำ� เป็นต่อการน�ำ ข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ องค์กรจึงต้องพัฒนาแผนงาน ในการจัดการข้อมูลทั้งหมด รวมถึงน�ำแผนมาใช้ในการปรับปรุง การด�ำเนินงาน

๏ สร้างการบูรณาการ IT/OT บนมาตรฐานระบบเปิด

การจะผสานรวมการท�ำงาน IT/OT ได้ส�ำเร็จตามบัญญัติ ของอุตสาหกรรม 4.0 นั้น ลูกค้าต้องทลายระบบไซโลที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน พร้อมสร้างรากฐานใหม่ในการท�ำงานบนแพลตฟอร์ม มาตรฐานระบบเปิดส�ำหรับเอ็นเตอร์ไพรส์ แพลตฟอร์มมาตรฐาน ระบบเปิดจะช่วยให้ลกู ค้าด�ำเนินการเรือ่ งต่างๆ เหล่านี้ ได้ดยี งิ่ ขึน้ 1. บริหารจัดการปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ที่เอดจ์ได้ 2. ใช้ระบบวิเคราะห์แบบใหม่ เพื่อให้ได้มา ซึ่งข้อมูลเชิงลึกในการด�ำเนินงาน 3. เพิ่มความยืดหยุ่น ความปลอดภัยของข้อมูล และความน่าเชื่อถือ 4. เป็นระบบเปิด และมีความยืดหยุ่น สามารถปรับ ขยายขีดความสามารถในการท�ำงานได้ในตัวเอง 5. ท�ำงานร่วมกับผลิตภัณฑ์จากผู้จ�ำหน่าย ที่หลากหลายได้ 6. ใช้แนวทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร ตั้งแต่เริ่มติดตั้ง 7. แสดงให้เห็นถึงผลกระทบเชิงบวกต่อธุรกิจ ให้ความยั่งยืนในระยะยาว

Engineering Today July • August 2021

25


โซลูชันส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ใช้ใน ภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเซนเซอร์ ระบบโครงสร้างในการประมวลผลไอที และสตอเรจ และการเชื่อมต่อเครือข่าย ซึ่งต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในการติดตั้ง เพื่อให้บริการและช่วยในการปฏิรูปธุรกิจ แต่ทว่ายังไม่มีผู้จ�ำหน่ายรายใดที่สามารถ จัดหาโซลูชันที่ครบวงจรส�ำหรับ อุตสาหกรรม 4.0 ได้ในคราวเดียว

26

Engineering Today July • August 2021

แพลตฟอร์มใหม่ใดๆ ก็ตามที่จะน�ำมาใช้ ต้องบ�ำรุงรักษา ง่าย และไม่สร้างความซับซ้อน อีกทั้งสามารถให้ความยืดหยุ่น ในการด�ำเนินงานแก่ลูกค้าหรือลดความเสี่ยงในการด�ำเนินงาน ได้มากขึ้น และสามารถติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยไม่กระทบต่อ การด�ำเนินงานที่ท�ำอยู่ในปัจจุบัน

๏ ความร่วมมือส�ำหรับโซลูชันอุตสาหกรรม 4.0

ตามที่กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ ไม่มีผู้จ�ำหน่ายรายใดที่มอบ ทุกองค์ประกอบที่จ�ำเป็นส�ำหรับโซลูชัน Industry 4.0 ได้ทั้งหมด และจะต้องส่งมอบผ่านการประสานความร่วมมือกับพันธมิตร ทีเ่ ป็นผูจ้ ำ� หน่าย ซึง่ แต่ละรายก็จะให้ทกั ษะ ผลิตภัณฑ์ และบริการ ของตน ท�ำให้ลูกค้าไม่ต้องรับบทเป็นผู้รับเหมาอีกต่อไป ด้ ว ยเหตุ นี้ ชไนเดอร์ อิ เ ล็ ค ทริ ค ร่ ว มมื อ กั บ เน็ ต แอพ (NetApp) เพื่อส่งมอบโซลูชันไอทีที่ครบวงจร ช่วยสนับสนุนการ เปลี่ยนผ่านสู่อุตสาหกรรม 4.0 ชไนเดอร์ อิเล็คทริค น�ำเสนอการสนับสนุนอย่างเต็มรูปแบบ ในเรื่องระบบโครงสร้างส�ำหรับสภาพแวดล้อมเอจด์ รวมถึงตู้แรค พลังงาน ระบบท�ำความเย็น และระบบรักษาความปลอดภัยทาง กายภาพทีเ่ หมาะส�ำหรับสภาพแวดล้อมต่างๆ ตลอดจนกรณีการ ใช้งานในภาคอุตสาหกรรมที่มีการใช้งานแบบสมบุกสมบัน โดยมี ลูกค้าจ�ำนวนมากทีอ่ าจใช้ซอฟต์แวร์ดา้ นการวิเคราะห์ และบริการ ในส่วน EcoStruxure ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค กันอยู่แล้ว รวมถึง โซลูชันด้านการบริหารจัดการระบบไอทีจากระยะไกล ส่วนเน็ตแอพ จะช่วยจัดการข้อมูลที่เกิดจากการใช้โซลูชัน IIoT (Industrial Internet of Things) ด้วยการน�ำเสนอ Data Fabric พร้อมระบบบริหารจัดการที่ครอบคลุมตั้งแต่เอดจ์ ไปยัง ดาต้าเซนเตอร์ ตลอดจนคลาวด์ ทั้งนี้ สภาพแวดล้อมที่ก�ำหนด การท�ำงานด้วยซอฟต์แวร์ ช่วยให้บริหารจัดการข้อมูลได้ง่าย มีประสิทธิภาพและปลอดภัย คุณสามารถเข้าถึงข้อมูลทีต่ อ้ งการได้ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนหรือในเวลาใดก็ตาม ทั้ง 2 บริษัท ต่างมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เล่นรายส�ำคัญ ในระบบนิเวศของอุตสาหกรรม 4.0 ไม่วา่ จะเป็นผูใ้ ห้บริการโซลูชนั ไอที ผู้วางระบบอุตสาหกรรม และผู้ให้บริการระบบสารสนเทศ ส�ำหรับโรงงาน พร้อมด้วยการออกแบบที่ใช้ในการอ้างอิง ซึ่งเป็น ตัวก�ำหนดว่าทุกอย่างจะท�ำงานร่วมกันได้อย่างไร โดยความ ร่วมมือระหว่างพันธมิตรทั้ง 2 รายนี้ จะช่วยน�ำเสนอโซลูชัน ที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งช่วยให้ธุรกิจได้ประโยชน์เร็วยิ่งขึ้น


World Fair • กองบรรณาธิการ

ดีป้าเผยอาคารแสดงประเทศไทย ในงาน

ร์ ินท าน ) ัชร ักง pa นพ �ำน (de มา ่ ส ัล นิม รใหญ ดิจิท พล กา ฐกิจ ณัฐ �ำนวย เศรษ ผู้อ เสริม ส่ง

อี ก ไม่ กี่ เ ดื อ น นานาประเทศจะได้ รู้จักประเทศไทยมากขึ้น ผ่าน อาคารแสดง ประเทศไทย (Thailand Pavilion) ใน นิทรรศการระดับโลก World Expo 2020 Dubai ซึ่งจะจัดขึ้น ณ ประเทศสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 31 มีนาคม 2565 แต่ผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กลับท�ำให้ส�ำนักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล (depa) หน่วยงานภายใต้ กระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม ในฐานะผู้ได้รับมอบหมายด�ำเนินงานก�ำลัง ประสบปัญหาครั้งใหญ่ด้านงบประมาณ ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการ ใหญ่ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล (depa) กล่าวว่า การที่คณะรัฐมนตรีเล็งเห็น ความส� ำ คั ญ และมอบหมายให้ depa

World Expo 2020 Dubai

โชว์ศักยภาพไทยสู่สายตาชาวโลกบนแนวคิด

“Mobility for the Future”

รับผิดชอบงานระดับโลกอย่าง World Expo นั้นนับเป็นเกียรติและความท้าทาย อย่างมาก โดยเฉพาะเมื่ออาคารแสดงประเทศไทยได้รับความนิยมจากบุคคลส�ำคัญ ระดับประเทศ รวมถึงบรรดาผู้เข้าชมงานเป็นอันดับต้นๆ ทุกครั้งของการจัดงาน ความท้าทายแรกของการจัดงานครั้งนี้คือ งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร อย่างจ�ำกัด และเมื่อการระบาดของ COVID-19 ส่งผลให้การจัดงานต้องเลื่อน จากก�ำหนดการเดิมถึง 1 ปีเต็ม เกิดค่าใช้จ่ายจ�ำเป็นเพิ่มกว่า 12 ล้านบาท ไม่ว่า จะเป็นค่าน�้ำประปา ค่าไฟฟ้า ค่าตรวจสอบดูแลอาคารและระบบ ค่าดูแลโครงสร้าง และอุปกรณ์รักษาความปลอดภัย/ความสะอาด ค่าเช่าโกดังเก็บอุปกรณ์และชิ้นงาน รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านมาตรการสาธารณสุขตามระเบียบของประเทศเจ้าภาพ “เราเข้าใจดีว่าสถานการณ์ของประเทศมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนหลายประการ ท�ำให้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นไม่ได้รับการจัดสรรอย่างที่ควรจะเป็นในเวลาปกติ แต่ความ ท้าทายนั้นไม่ท�ำให้สั่นคลอน depa ยังมุ่งเตรียมงาน เพื่อเนรมิต Thailand Pavilion ให้ มี ค วามพร้ อ มในการแสดงศั ก ยภาพของไทยสู ่ ส ายตาชาวโลกไปกั บ แนวคิ ด ‘Mobility for the Future การขับเคลื่อนสู่อนาคต’ ควบคู่การหาพันธมิตรและผู้มี ความประสงค์ ร ่ ว มสนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรม ด้ ว ยความหวั ง ที่ จ ะจั บ มื อ น� ำ พา ประเทศไทยไปสูโ่ อกาสในการฟืน้ ฟูและต่อยอดเศรษฐกิจในยุคดิจทิ ลั จากงานดังกล่าว” ผู้อ�ำนวยการใหญ่ depa กล่าว Engineering Today July • August 2021

27


Innovation • กองบรรณาธิการ

สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เป็นครั้งแรก พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล รับมือ COVID ระลอกใหม่ เครื่องจ่ายออกซิเจน ในอัตราการไหลสูง น�ำเทคโนโลยี IoT ช่วยให้บคุ ลากร ทางการแพทย์ควบคุม และ ติดตามการเปลี่ยนแปลง ของผู้ป่วยทางไกล ได้ตลอดเวลา

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ประสบผลส�ำเร็จในการพัฒนางานวิจยั ด้านการแพทย์ โดยเปิดตัวต้นแบบ “เครือ่ งจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครือ่ งจ่ายออกซิเจนในอัตรา การไหลสูงเป็นครั้งแรก มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการ ออกแบบมาเพื่อรับมือ COVID-19 ระลอกใหม่โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคา ถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดแี สดงข้อมูลส�ำคัญ ของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของ อากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึง่ นอกจากจะมีประสิทธิภาพ ในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจ บกพร่องแล้ว ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ ตลอดเวลา สามารถปรับการท�ำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดู ผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการท�ำงาน ลดความเสี่ยง ในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์

28

Engineering Today July • August 2021

ส�ำหรับเครือ่ งดังกล่าวมีตน้ ทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท ปัจจุบนั มีความพร้อมในการถ่ายทอด เทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการ ยืน่ จดสิทธิบตั รสูเ่ ชิงพาณิชย์กบั ส�ำนักบริหารงานวิจยั และนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ศ. ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ อธิ ก ารบดี สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า สจล. ได้เดินหน้า พัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤต COVID-19 นั บ ตั้ ง แต่ ร ะลอกแรกจนถึ ง ปั จ จุ บั น โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วย


หายใจ” ทีม่ คี วามจ�ำเป็นอย่างยิง่ ในผูป้ ว่ ยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรูท้ างการแพทย์และ วิ ศ วกรรม โดยเริ่ ม ที่ เ ครื่ อ งช่ ว ยหายใจในภาวะ ฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับ ผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่าง การส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วย หายใจของโรงพยาบาล และต่ อ เนื่ อ งกั บเครื่ อ ง ช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator-KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยัง รองรับการท�ำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้ พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและ หน่วยงานสาธารณสุขทัว่ ประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจ�ำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนา ต้นแบบ “เครือ่ งจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครือ่ งจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครัง้ แรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตรา การเสี ย ชี วิ ต ของผู ้ ป ่ ว ย COVID-19 ให้ น ้ อ ยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของ บุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณ หอผูป้ ว่ ย ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นส่วนอืน่ ได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ “ในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู ้ เ ก็ บ วั ค ซี น ” ที่ ส ามารถควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ละ คงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยทีบ่ คุ ลากรทางการแพทย์ หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ส ามารถติ ด ตามอุ ณ หภู มิ ภ ายในตู ้ ได้ 24 ชั่วโมง นับเป็นการตอกย�้ำวิสัยทัศน์ของ สถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สูก่ ารขับเคลือ่ นระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยท�ำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้ คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้น ใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน” ศ. ดร.สุชัชวีร์ กล่าว นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะ แพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง (สจล.) นั ก วิ จั ย ร่ ว ม “เครื่ อ งจ่ า ยออกซิ เ จน KMITL High Flow” กล่าวว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุง การหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะก�ำหนดอัตรา ไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนทีต่ อ้ งการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทาง

> เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือ COVID-19 ระลอกใหม่โดยเฉพาะ

> ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)

> นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และนักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow”

> รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิ ไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. Engineering Today July • August 2021

29


> รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์ และเทคโนโลยีสุขภาพ สจล. และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร (KMCH)

จมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม�่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับ อากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ�้ำ จากอากาศที่ ค ้ า งอยู ่ ใ นทางเดิ น หายใจส่ ว นบน ซึ่ ง เป็ น ไปตามมาตรฐาน เครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เข้ามาท�ำงานร่วม ซึ่งช่วยให้ บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุมและติดตามการเปลี่ยนแปลงของ ผูป้ ว่ ยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลีย่ นการช่วยการหายใจได้ทนั ที ผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วย ได้ตลอดเวลาแล้ว ยังลดการใช้ชดุ PPE และลดความเสีย่ งของบุคลากรต่อการ ติ ด เชื้ อ ทางอากาศเมื่ อ เดิ น เข้ า หอผู ้ ป ่ ว ยด้ ว ย นอกจากนี้ เครื่ อ งดั ง กล่ า ว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต�่ำเกินไป “ในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าวให้สามารถ วิ เ คราะห์ ห รื อ ปรั บ ความเข้ ม ข้ น ของออกซิ เ จนได้ ตามการเปลี่ ย นแปลง ของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” นพ.อนวัช กล่าว รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ตอบโจทย์ การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลัก การน�ำอากาศจากแหล่งก�ำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อน�ำออกซิเจนหรือ แทงก์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกัน ได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) หากใช้อากาศจาก ในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนทีถ่ กู ควบคุมแบบป้อนกลับเพือ่ ควบคุม ให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูก ควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว

30

Engineering Today July • August 2021

สามารถตั้ ง ค่ า ได้ ทั้ ง ทางหน้ า จอแอลซี ดี (LCD) แบบสัม ผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่าน การเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้ ง นี้ เครื่ อ งดั ง กล่ า วมี ต ้ น ทุ น การพั ฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือ ประมาณ 200,000-300,000 บาท โดยปัจจุบัน มี ค วามพร้ อ มในการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เ ป็ น ที่ เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตร สูเ่ ชิงพาณิชย์กบั ส�ำนักบริหารงานวิจยั และนวัตกรรม พระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวจิ ติ รศิลป์ รองอธิการบดี ฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบัน เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผูอ้ าํ นวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวว่า จากรายงานตัวเลข ผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็น ผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่อง ช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุกๆ 1 พันรายจะมีการ ใช้ เ ครื่ อ งช่ ว ยหายใจ 30 ราย ท� ำ ให้ ต ้ อ งการใช้ เครื่ อ งช่ ว ยหายใจและเตี ย งผู ้ ป ่ ว ยวิ ก ฤตจ� ำ นวน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความ ขาดแคลนอย่างหนัก อี ก ทั้ ง การใช้ เ ครื่ อ งจ่ า ยออกซิ เ จนในอั ต รา การไหลสูงส�ำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม ซึ่ ง เสี่ ย งต่ อ การหายใจล้ ม เหลวจนต้ อ งใช้ เ ครื่ อ ง ช่วยหายใจ ที่สามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วย สามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพ ปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบ ของหน้ า กากหรื อ ท่ อจมู กตามปกติ ซึ่ ง ลดความ จ�ำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดั ง นั้ น หากผลงานวิ จั ย หรื อ นวั ต กรรม ทางการแพทย์ที่คิดค้นและพัฒนาโดยนักวิจัยจาก ภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุน จากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อด�ำเนินการผลิตและ กระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุข ที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการ นําเข้าได้จ�ำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการ เข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต


Innovation • กองบรรณาธิการ

คณะวิศวฯ จุฬาฯ บูรณาการความร่วมมือ กับหน่วยงานต่างๆ

พัฒนารถชีวนิรภัย เคลื่อนที่ด้วยสุนัขดมกลิ่น คัดกรองCOVID-19 คันแรกของไทย

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น�ำโดย ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี ร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บูรณาการความร่วมมือกับบริษทั เชฟรอนประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด และบริษัท พีคิวเอ แอสโซซิเอส จ�ำกัด พัฒนานวัตกรรม “รถดมไว เพื่อน�ำสุนัขดมกลิ่นคัดกรอง COVID-19 ออกปฏิบัติงานภาคสนามคันแรกของไทย การที่ผู้ป่วย COVID-19 มีกระบวนการเผาผลาญในร่างกายที่แตกต่าง ออกไปจากก่อนทีจ่ ะได้รบั เชือ้ ท�ำให้มสี ารเคมีจากต่อมทัง้ 3 ชนิดเปลีย่ นแปลงไป ทั้งชนิดและปริมาณ จึงถูกตรวจจับโดยสุนัขได้ โดยสารเคมีระเหยง่ายที่เก็บ

เจ้าตูบเพื่อนแสนรู้ ของมนุษย์กับภารกิจ ดมกลิ่นคัดกรองผู้ป่วย COVID-19

โฉมหน้ารถปฏิบัติงานชีวนิรภัยเคลื่อนที่ด้วยสุนัขดมกลิ่น คัดกรอง COVID-19 คันแรกของไทย

Engineering Today July • August 2021

31


มาจากผิวหนังมนุษย์ อาจมาจากแหล่งก�ำเนิดหลายแหล่ง ได้แก่ ต่อมใต้ผิวหนังชนิด Eccrine, Sebaceous และ Apocrine โดย ต่ อ มา Apocrine นี้จะเป็น ต่อ มส�ำคัญที่ผลิตสารระเหยง่าย เป็นกลิน่ ตัวเฉพาะของมนุษย์ ส่วนต่อมอีก 2 ชนิดจะผลิตสารเคมี ทีไ่ ม่ระเหยง่ายเป็นส่วนใหญ่ซงึ่ ไม่มผี ลต่อกลิน่ ตัวโดยตรง อย่างไร ก็ ต าม สารพวกนี้ จ ะถู ก น� ำ ไปใช้ ต ่ อ โดยแบคที เ รี ย ที่ อ าศั ย อยู ่ ใต้ผิวหนังมนุษย์ แล้วเปลี่ยนเป็นสารระเหยง่าย ให้กลิ่นไปปน อยูก่ บั กลิน่ ตัวมนุษย์ ดังนัน้ กลิน่ โดยรวมของตัวอย่างเหงือ่ ทีด่ ดู ซับ โดยแท่งส�ำลี แล้วเก็บมาให้สุนัขดม จะมีคุณสมบัติแตกต่างกัน ขึ้นกับชนิดและปริมาณของต่อมในแต่ละอวัยวะ ภายหลังจากความส�ำเร็จของโครงการวิจัย “การใช้สุนัข ดมกลิน่ ตรวจหาผูป้ ว่ ยติดเชือ้ COVID-19 ทีไ่ ม่แสดงอาการ” ซึง่ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากบริษัท เชฟรอนประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด สุนขั ดมกลิน่ ได้ให้บริการตรวจคัดกรองแก่ พนักงานบริษัทเชฟรอนฯ และส�ำนักงานป้องกันและควบคุมโรค ที่ 12 จังหวัดสงขลา แล้วจ�ำนวนกว่า 500 ราย เมื่อมีการระบาด ของโรคในกรุงเทพฯ สุนขั ดมกลิน่ จึงได้เดินทางจากจังหวัดสงขลา มาตัง้ จุดตรวจทีค่ ณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้บริการตรวจคัดกรองแก่บุคลากรจุฬาฯ และผู้ป่วยติดเตียง โดยความร่ ว มมื อ กั บ กระทรวงพั ฒนาสั ง คมและความมั่ น คง ของมนุษย์ มีอาสา พม. ลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเหงื่อมาส่งตรวจแล้ว จ�ำนวนทั้งสิ้นกว่า 1,500 ราย เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อไวรัสจากสิ่งแวดล้อมไป บนตัวสุนขั ในระหว่างลงพืน้ ทีค่ ลัสเตอร์ตา่ งๆ จึงได้มกี ารออกแบบ ห้องปฏิบัติงานเคลื่อนที่ “รถดมไว” พร้อมอุปกรณ์มาตรฐานตาม ข้อก�ำหนดของกรมควบคุมโรค ซึง่ จะสร้างความปลอดภัยทัง้ ผูท้ มี่ า รับการตรวจและสุนขั ทีป่ ฏิบตั งิ าน อีกทัง้ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพ

32

Engineering Today July • August 2021

การคัดกรองเชิงรุกในชุมชน และคลัสเตอร์ทเี่ กิดขึน้ ใหม่ในแต่ละวัน “รถดมไว” หรือ Dog Olfactory Mobile Vehicle for Viral Inspection (DOM VVI) ถูกออกแบบให้มีห้องปฏิบัติการ เคลื่อนที่ อุปกรณ์การดม และอุปกรณ์ฆ่าเชื้อต่างๆ เพื่อให้การ ปฏิบตั งิ านร่วมกับกรมควบคุมโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บน พื้นที่ใช้สอยประมาณ 16.8 ตารางเมตร (7 เมตร x 2.4 เมตร) ภายในรถได้ถูกออกแบบเพื่อการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยและลงตัว มีเครือ่ งปรับอากาศให้ความเย็นแก่สนุ ขั โดยแบ่งเป็น 4 ห้อง ได้แก่ 1 ห้องอเนกประสงค์ เป็นห้องส�ำหรับวางตู้ล็อกเกอร์ เก็บสัมภาระผู้ปฏิบัติงานบนรถ และอุปกรณ์ความ ปลอดภั ย พื้ น ฐานต่ า งๆ รวมทั้ ง อุ ป กรณ์ ท�ำ ความ สะอาดรถ 2 ห้องพักสุนัข ส�ำหรับให้สุนัขพักในช่วงเวลาที่ไม่ได้ ปฏิบัติงาน 3 ห้องเตรียมตัวอย่าง เป็นห้องส�ำหรับรับตัวอย่างทีเ่ ก็บ จากภายนอกตัวรถ เข้ามาเตรียมเปลี่ยนถ่ายภาชนะ 4 ห้องปฏิบัติงาน เป็นพื้นที่ส�ำหรับให้สุนัขดมกลิ่น ตรวจหาเชื้อโควิด-19 จากตัวอย่างที่วางบนแท่นวาง ตัวอย่างจ�ำนวนรอบละ 12 แท่น นอกจากนี้ รถดมไวยั ง ค� ำ นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ของทั้ ง เจ้าหน้าทีแ่ ละสุนขั ผูป้ ฏิบตั งิ านบนรถ โดยได้สร้างระบบความดันลบ ในห้ อ งเตรี ย มตั ว อย่ า ง ระบบฆ่ า เชื้ อ ด้ ว ยรั ง สี UV ในช่ อ ง รับส่งตัวอย่าง ห้องเตรียมตัวอย่างและห้องปฏิบัติงาน พร้อมทั้ง ระบบความปลอดภัยอื่นๆ อาทิ ตู้ยาปฐมพยาบาล ถังดับเพลิง ไฟขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน และไฟแจ้งเตือนขณะปฏิบัติงาน บนรถ นับเป็นรถปฏิบัติงานชีวนิรภัยเคลื่อนที่ของสุนัขดมกลิ่น คันแรกของไทย


Digital • *ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี

ถึงเวลาใช้ ระบบอัตโนมัติ ช่วยปิดช่องว่างทักษะ ด้านดิจิทัลในองค์กร

การเปลี่ยนแปลงไปสู่ดิจิทัลจะประสบความส�ำเร็จ และ เป็ น ไปได้ อ ย่ า งครอบคลุ ม องค์ ก รจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ค นเก่ ง ที่ มี ความรู้ความสามารถด้านดิจิทัลอยู่ในองค์กร แต่ปัญหาการ ขาดแคลนทักษะด้านดิจิทัลอย่างรุนแรงก็มีอยู่ทั่วไปในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟกิ นับเป็นความท้าทายอย่างหนึง่ ขององค์กรทีก่ ำ� ลัง มุ่งทรานส์ฟอร์มและขับเคลื่อนการเติบโตทางธุรกิจ ผลส� ำ รวจการเปลี่ ย นแปลงสู ่ ดิ จิ ทั ล ของประเทศไทย ประจ�ำปี 2020 จากการส�ำรวจของดีลอยท์ ประเทศไทย พบว่า ความท้ า ทายในการเปลี่ ย นแปลงไปสู ่ ดิ จิ ทั ล ที่ อ งค์ ก รไทยพบ เป็นอันดับแรก คือ การขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ 49% ตามด้วย วัฒนธรรมดิจิทัลที่ยังไม่หยั่งรากลึกเต็มที่ 45% และกระบวนการ ท�ำงานที่แยกส่วนไม่ประสานกัน (Silo) ท�ำให้ไม่ไปในทิศทาง เดียวกัน 37%

*ผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย นูทานิคซ์

Engineering Today July • August 2021

33


ความตื่นตัวด้านทักษะด้านดิจิทัลเกิดขึ้นเป็นวงกว้างใน ประเทศไทย ล่าสุดกระทรวงแรงงานได้เปิดตัวสถาบันพัฒนา บุคลากรดิจิทัล (DISDA) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ตั้งขึ้นมาใหม่เพื่อ ดูแลการพัฒนาทักษะด้านดิจทิ ลั ให้กบั แรงงาน โดยเป็นหน่วยงาน กลางในสั ง กั ด กรมพั ฒนาฝี มื อ แรงงาน ในขณะที่ ข ้ อ มู ล จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาระบุวา่ ผูส้ ำ� เร็จการศึกษา ในปี พ.ศ. 2563 จ�ำแนกตามกลุม่ สาขาวิชาทีร่ วบรวมจากสถาบัน อุดมศึกษาทั่วประเทศจ�ำนวน 154 สถาบัน พบว่ามีผู้ส�ำเร็จการ ศึกษาสาขา Information and Communication Technologies (ICTs) ในระดับปริญญาตรีเพียง 13,984 คน คิดเป็น 5.09% ของผู้ส�ำเร็จการศึกษาในระดับนี้ทั้งหมด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมะฑัต วิภาตะวนิช รองคณบดี ฝ่ายสือ่ สารและพัฒนาดิจทิ ลั คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ให้ความเห็นว่าความต้องการของตลาดงานใน ปัจจุบันแยกเป็น 5 ส่วนส�ำคัญคือ 1) Software Engineering ประกอบด้วยโปรแกรมเมอร์และโปรเจ็กต์เมเนเจอร์ 2) Networking and Security Engineer และ Networking and Security Manager 3) ด้ า นดาต้ า เซนเตอร์ แ ละคลาวด์ รวมถึ ง เวอร์ชวลไลเซชัน เน็ตเวิร์ก และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4) กลุ่ม

บริหารจัดการระบบไอทีเดิมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ต้องมีความรู้ ด้ า น IT Governance, Data Governance, Security Governance และ 5) กลุ ่ ม ที่ มี ค วามรู ้ แ ละเข้ า ใจในการน� ำ ซอฟต์แวร์มาใช้ ซึ่งอาจไม่ได้จบสาขาเทคโนโลยีโดยตรง ความต้ อ งการของภาคอุ ต สาหกรรมทั้ ง 5 ข้ อ นี้ มี รายละเอียดทีเ่ หมือนหรือต่างกันบ้าง แต่ในภาพรวมนักศึกษาทีจ่ บ การศึกษาไป ต้องบูรณาการและสร้างสมดุลของตนเองในการใช้ เทคโนโลยี มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายที่มีผลกระทบต่อการ ท�ำงานและด�ำเนินชีวติ ของตน ไม่สร้างปัญหา และรูจ้ กั สิทธิหน้าที่ ของตนเอง ผู้อื่น และหน่วยงาน สิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือ ปัจจุบันคลาวด์และระบบ อัตโนมัติมีความส�ำคัญมาก เช่น การใช้เวอร์ชวลไลเซชันและ กระแสการใช้งาน Software-Defined (almost) Everything เครือข่ายการเชื่อมโยงของระบบคอมพิวเตอร์จากดาต้าเซนเตอร์ ไปยัง Edge Computing เป็นต้น ระบบนิเวศเหล่านี้ช่วยให้ นิสิตนักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกทักษะได้ตรงตามความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันก็ท�ำให้ตลาดแรงงานได้ บุคลากรทีม่ ี Digital Mindset และสามารถใช้งานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ได้แบบบูรณาการ

เทคโนโลยีจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ก็ต่อเมื่อบุคลากรเห็นถึงประโยชน์และน�ำไปใช้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ การน�ำเทคโนโลยี ใหม่ ๆ มาใช้งานจริงควบคู่กับกระบวนการ ท�ำงานเดิม เพื่อเป็นการเรียนรู้ในระหว่าง ปฏิบัติงาน (Learning by doing) จะท�ำให้ บุคลากรเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ ทักษะใหม่กับผลลัพธ์ที่ ได้เมื่อเทียบกับ กระบวนการเดิม

34

Engineering Today July • August 2021


ส�ำหรับภาคธุร กิจ การสร้างทักษะใหม่ที่จ�ำเป็นในการ ท�ำงานให้กับพนักงาน (Up-skill) และการยกระดับทักษะเดิมของ พนักงานให้ดีขึ้น (Re-skill) เป็นเรื่องส�ำคัญ พิเชฐ ศรีวงษ์ญาติดี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท หลักทรัพย์ เคทีบีเอสที จ�ำกัด (มหาชน) หรือ KTBST ระบุว่า การที่ภาคการเงินมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้แบบก้าวกระโดดนั้น นอกจากการแสวงหาโซลูชันที่เหมาะสมแล้ว การปรับตัวของ บุคลากรเป็นเรื่องส�ำคัญมาก องค์กรต้องกระตุ้นให้บุคลากรมีความพร้อมและปรับตัว ให้ ทั น ตามแผนงานด้ า นไอที ที่ ว างไว้ เทคโนโลยี จ ะเกิ ด ประสิทธิภาพสูงสุดก็ตอ่ เมือ่ บุคลากรเห็นถึงประโยชน์และน�ำไปใช้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ การน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้งานจริง ควบคู่กับกระบวนการท�ำงานเดิม เพื่อเป็นการเรียนรู้ในระหว่าง ปฏิบตั งิ าน (Learning by doing) จะท�ำให้บคุ ลากรเห็นประโยชน์ ของการเรียนรูท้ กั ษะใหม่กบั ผลลัพธ์ทไี่ ด้เมือ่ เทียบกับกระบวนการ เดิ ม ซึ่ ง ได้ รั บการตอบรับเป็น อย่างดีจากบุคลากรของบริษัท เพราะสามารถน�ำทักษะใหม่มาใช้กับงานได้จริง อาจกล่าวได้ว่าแทบไม่มีธุรกิจใดที่จะไม่รับเอาเทคโนโลยี ที่ล�้ำหน้าเช่นคลาวด์และระบบอัตโนมัติมาใช้งาน ผลส�ำรวจ Enterprise Cloud Index (ECI) ของนูทานิคซ์พบว่าองค์กรไทย ให้เหตุผลในการเปลี่ยนไปใช้คลาวด์เพราะสามารถตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้าได้ดี (67%) ตามมาด้วยเรื่องของความ ปลอดภัย (62%) และสามารถรองรับการท�ำงานจากระยะไกล (62%) และไฮบริดคลาวด์เป็นประเภทของคลาวด์ที่ธุรกิจให้ ความส�ำคัญมากที่สุด ส�ำหรับ KTBST ระบบคลาวด์เข้ามาช่วยวางโครงสร้าง ระบบงานไอทีในด้านการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ สูงสุดต่อธุร กิจ บริษัทยังได้น�ำระบบอัตโนมัติมาช่วยต่อยอด ในการลดข้อผิดพลาดของบุคลากร รวมถึงช่วยให้การท�ำงาน ร่วมกันดีขึ้น โดยพนักงานมีเวลาจดจ่อกับสิ่งที่ส�ำคัญมากขึ้น แทนการท� ำ ในสิ่ ง เดิ ม ซ�้ ำ ๆ ทั้ ง นี้ ค ลาวด์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ยังช่วยลดต้นทุนในการด�ำเนินงานซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัท การระบาดของเชื้อ COVID-19 ท�ำให้การเคลื่อนย้าย บุคลากรที่มีทักษะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถท�ำได้ในขณะนี้ และใน อนาคตอันใกล้ องค์กรต่างๆ จึงหันไปใช้เทคโนโลยีเกิดใหม่ เพื่อคงความสามารถในการแข่งขัน คงความต่อเนื่องทางธุรกิจ และแก้ปัญหาความต้องการบุคลากรที่มีความสามารถสูง

ระบบไอทีแบบเดิมที่ใช้คนจ�ำนวนมากและท�ำงานแบบ แมนนวล เป็นอุปสรรคต่อความสามารถในการผลิต และกระทบ ต่อความสามารถของธุรกิจทีจ่ ะต้องตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงให้ได้อย่างรวดเร็ว ระบบอัตโนมัติที่ครั้งหนึ่งเคย ถูกมองในแง่ลบว่าจะเข้ามาแย่งงานของคน ก�ำลังได้รบั ความเข้าใจ มากขึ้นว่าเป็นแนวทางหนึ่งในการเปลี่ยนไปใช้รูปแบบไอทีแบบ as a service และ on-demand ได้มากขึ้น ข้อเท็จจริงจากการ ส�ำรวจ ECI ของนูทานิคซ์ล่าสุดที่ส�ำรวจเมื่อปลายปี ค.ศ. 2020 ระบุว่า 31% ของผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าระบบอัตโนมัติ เป็นสิ่งส�ำคัญอันดับต้นๆ ในอีก 12-18 เดือนข้างหน้า พิเชฐ ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า ระบบอัตโนมัติจะเป็นตัว ช่วยเพิม่ ขีดความสามารถของคน โดยช่วยให้คนเน้นความสามารถ เชิ ง คิ ด วิ เ คราะห์ เ พื่ อ น� ำ ไปปรั บ ใช้ ร ่ ว มกั บ ระบบอั ต โนมั ติ ใ ห้ มี ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นกระบวนการที่คนและระบบท�ำงาน ร่วมกัน มากกว่ามองว่าระบบจะแย่งงานคน การที่ KTBST น�ำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในกระบวนการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล วิเคราะห์ แสดงรายงาน ฯลฯ ช่วยลดเวลาในการด�ำเนินงาน ได้ถึง 80% และช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายกว่า 30% เมื่อเทียบกับ การท�ำงานแบบแมนนวล ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกเป็นศูนย์กลางของโลกที่มีการเร่ง น�ำระบบอัตโนมัตมิ าใช้อย่างรวดเร็วในขณะนีเ้ มือ่ เทียบกับภูมภิ าค อื่นทั่วโลก ข้อมูลจาก International Federation of Robotics ระบุว่า สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการใช้ระบบอัตโนมัติมากที่สุด ในโลก โดยติดตั้งใช้งานหุ่นยนต์ 918 ยูนิตต่อพนักงานทุกๆ 10,000 คน อันดับสองคือประเทศเกาหลีใต้ 868 ยูนิต และ อันดับสามคือประเทศญี่ปุ่น 364 ยูนิต การท�ำให้บุคลากรด้านไอทีมีเวลาโฟกัสกับโครงการต่างๆ ที่ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การท�ำงาน ทั้งยังได้เพิ่มพูนทักษะของตนเองตลอดเวลา ส�ำหรับ ธุรกิจในภาพรวม นอกจากประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ได้รับแล้ว ยังสามารถรักษาพนักงานไว้กับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ในปี ค.ศ. 2021 นีอ้ งค์กรต่างๆ ยังคงต้องมองหาแนวทาง ใหม่ๆ เพื่อจัดการกับความท้าทายเดิมๆ และเพิ่มประสิทธิภาพ ให้กับกระบวนการทางธุรกิจ และระบบอัตโนมัติคือเทคโนโลยี ส�ำคัญทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพด้านต่าง ๆ ได้ เช่น ปิดช่องว่าง ด้านทักษะดิจิทัลที่ขาดแคลน ประหยัดค่าใช้จ่าย หรือเพื่อให้ บริษัทได้รับประโยชน์ในระยะยาวมากขึ้น

Engineering Today July • August 2021

35


Technology • กองบรรณาธิการ

สซ จับมือ สดร. สร้าง “เครื่องเคลือบ กระจกโทรทรรศน์”

ตรวจวัดรังสีแกมมานอกโลก

สนับสนุนโครงการไขปริศนาจักรวาล โครงการหมู่กล้องโทรทรรศน์รังสีเชเรนคอฟ จากความร่วมมือของ 150 องค์กร จาก 25 ประเทศ เพื่อตรวจวัดรังสีแกมมาจากแหล่งก�ำเนิดนอกโลก

2

องค์ ก รวิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ ไ ทย น� ำ โดยสถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์การมหาชน) และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมออกแบบและ สร้ า งเครื่ อ งเคลื อ บกระจกส� ำ หรั บ โครงการ หมู ่ ก ล้ อ งโทรทรรศน์ รั ง สี เ ชเรนคอฟ โครงการ วิ ท ยาศาสตร์ ร ะดั บ โลก จากความร่ ว มมื อ ของ 150 องค์กร จาก 25 ประเทศ ในการสร้างหมู่ กล้องโทรทรรศน์กว่า 100 กล้อง ที่สเปนและชิลี เพื่อตรวจวัดรังสีแกมมาจากแหล่งก�ำเนิดนอกโลก เปิดประตูสู่การไขปริศนาในจักรวาล สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก าร มหาชน) หรือ สซ. และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่ ว มออกแบบและสร้ า งเครื่ อ งเคลื อ บ ฟิล์มบางบนกระจกขนาดใหญ่ระดับอุตสาหกรรม ส�ำหรับโครงการหมู่กล้องโทรทรรศน์รังสีเชเรนคอฟ (Cherenkov Telescope Array หรือ CTA) โดย ส่งมอบงานเครื่องเคลือบฯ ดังกล่าวเมื่อต้นเดือน กรกฎาคมทีผ่ า่ นมา ณ สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน ณ จังหวัดนครราชสีมา ก่อนจะขนย้ายไปติดตั้งและ ทดสอบการเคลือบกระจก ณ อุทยานดาราศาสตร์ สิรินธร จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้เสร็จสมบูรณ์พร้อม น�ำไปติดตั้งใช้งานจริงที่ยุโรปต่อไป

เครื่องเคลือบฟิล์มบางบนกระจกขนาดใหญ่ฯ

36

Engineering Today July • August 2021


โครงการหมูก่ ล้องโทรทรรศน์รงั สีเชเรนคอฟ เป็นโครงการติดตั้งหมู่กล้องโทรทรรศน์ จ�ำนวน มากกว่า 100 กล้องที่สเปนและชิลี ส�ำหรับตรวจวัด รังสีแกมมาจากแหล่งก�ำเนิดพลังงานนอกโลก เมื่อ รังสีดังกล่าวผ่านเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลก จะชนกับอนุภาคของโมเลกุลในชัน้ บรรยากาศ จากนัน้ จะแตกตัวเป็นอนุภาคอืน่ ต่อกันเป็นทอดๆ ส่วนใหญ่ จะเกิดเป็นอิเล็กตรอนและโพซิตรอน แล้วจะแผ่รงั สี พลังงานสูงออกมาเป็นแสงสีฟา้ เรียกว่า “แสงเชเรน คอฟ” โครงการนีเ้ ป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน วิทยาศาสตร์ 150 องค์กร จาก 25 ประเทศทั่วโลก และจะติดตั้งหมู่กล้องที่ประเทศสเปนจ�ำนวน 19 กล้อง และที่ประเทศชิลีอีก 99 กล้อง ซึ่งต้องใช้ กระจกกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 1.2 เมตร ทั้งหมดมากกว่า 6,000 บาน คาดว่า หมู่กล้องทั้งหมดจะติดตั้งแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2568 หมู ่ ก ล้ อ งโทรทรรศน์ ทั้ ง หมดจะติ ด ตั้ ง อยู ่ กลางแจ้งในทะเลทราย ซึ่งจะท�ำให้กระจกสึกกร่อน และสูญเสียความสามารถในการสะท้อนแสง จ�ำเป็น ต้องบ�ำรุงรักษาด้วยการเคลือบใหม่ทกุ ๆ ประมาณ 6 ปี ทัง้ นี้ ประเทศไทยได้รบั ผิดชอบเครือ่ งเคลือบฟิลม์ บาง บนกระจกฯ ส�ำหรับกล้องโทรทรรศน์ทั้งหมดใน โครงการ CTA โดยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ได้ร่วมกัน ออกแบบและผลิตเครื่องเคลือบฟิล์มบางฯ ด้วย

เทคนิคแมกนีตรอน สปัตเตอร์ริง สามารถควบคุมความหนาของฟิล์มบางได้ อย่างแม่นย�ำในระดับนาโนเมตร เคลือบกระจกหน้ากว้างได้ถึง 1.5 เมตร ทั้งชั้นสะท้อนแสงและชั้นป้องกันการขีดข่วน เพิ่มคุณสมบัติการสะท้อนแสง ได้ สู ง สุ ด ตามหลั ก ทั ศ นศาสตร์ และเป็ น เทคนิ ค เดี ย วกั บ ที่ ใ ช้ ส ร้ า งเครื่ อ ง เคลือบกระจกขนาดใหญ่เครื่องแรกของประเทศไทยส�ำหรับเคลือบกระจก 2.4 เมตร ของกล้องโทรทรรศน์หอดูดาวแห่งชาติ โครงการหมูก่ ล้องโทรทรรศน์รงั สีเชเรนคอฟ จะเป็นหอสังเกตการณ์ใหม่ ของโลก ทีจ่ ะเปิดประตูสกู่ ารค้นหาธรรมชาติของแหล่งก�ำเนิดรังสีระดับพลังงาน สูงในจักรวาล อาทิ หลุมด�ำ ซูเปอร์โนวา และความลับทางฟิสิกส์ที่ยังไม่เป็น ที่รู้จัก และอาจเป็นกุญแจสู่การค้นพบที่ส�ำคัญอื่นๆ และนอกจากการผลิต เครื่องเคลือบฟิล์มบางบนกระจกฯ ส�ำหรับโครงการ CTA แล้ว ที่น่าสนใจคือ วิศวกรไทยยังได้ร่วมพัฒนา ระบบควบคุมและเก็บข้อมูลรังสีเชเรนคอฟจากกล้องโทรทรรศน์ทั้งหมด อีกด้วย

Engineering Today July • August 2021

37


IT Update • กองบรรณาธิการ

Blendata จัให้บบริกมืารแพลตฟอร์ อ AISม

ณัฐนภัส รชตะวิวรรธน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท เบลนเดต้า จ�ำกัด

AIS Big Data as a Service บน Cloud เจาะกลุ่ม

ค้าปลีก โรงพยาบาล ประกันภัย

Blendata (เบลนเดต้ า ) บริ ษั ท ผู ้ พั ฒ นาแพลตฟอร์ ม บริ ห ารจั ด การ Big Data อัจฉริยะ ผนึกก�ำลัง AIS Business Cloud ผู้น�ำด้านโครงสร้างพื้นฐาน Cloud Service Provider อันดับ 1 ด้านบริการ ครอบคลุมทุกภูมภิ าคของประเทศไทย เปิดตัว AIS Big Data as a Service แพลตฟอร์ม บริหารจัดการ Big Data อัจฉริยะส�ำเร็จรูป บน Cloud ชูจุดแข็งช่วยให้องค์กรสามารถ ติดตั้งระบบอย่างรวดเร็วและมั่นใจในความ ปลอดภัยสูง ด้วยการออกแบบแพ็กเกจที่ เหมาะส�ำหรับองค์กรขนาดใหญ่และขนาด กลาง นับเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถ ประมวลผลและน�ำข้อมูลมาใช้งานได้งา่ ยขึน้ รวดเร็วขึ้น ช่วยลดต้นทุนและลดเวลาในการ จัดท�ำระบบ เพิ่มศักยภาพธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าองค์กร ของ AIS เจาะกลุม่ ธุรกิจค้าปลีก โรงพยาบาล และกลุ่มธุรกิจประกันภัย

38

Engineering Today July • August 2021

ณัฐนภัส รชตะวิวรรธน์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและผูร้ ว่ มก่อตัง้ บริษัท เบลนเดต้า จ�ำกัด กล่าวว่า Blendata ได้ร่วมมือกับ AIS Business Cloud ผู้น�ำทางด้าน Cloud Infrastructure as a Service หรือ IaaS ที่มีความปลอดภัยสูงในประเทศไทย ด้วยบริการที่ครอบคลุม ทุกภูมิภาคในประเทศของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AIS พัฒนา AIS Big Data as a Service แพลตฟอร์ม วิเคราะห์ Big Data อัจฉริยะแบบส�ำเร็จรูปบนคลาวด์ในประเทศไทย ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มภายใต้เทคโนโลยี VMWare ผู้ช่วยท�ำให้องค์กร สามารถบริหารจัดการ Big Data ได้อย่างรวดเร็วและมีความปลอดภัย สูงสุด ช่วยลดความซับซ้อนและลดต้นทุนได้ถึง 2 ใน 3 จากเดิม และ ยังช่วยลดเวลาการท�ำงานลงได้ 3 เท่า ช่วยสร้างประสิทธิภาพในการน�ำ “ข้อมูล” มาใช้วางแผนธุรกิจให้เติบโต มีผลการด�ำเนินงานที่ดีในภาวะ การแข่งขันที่ดุเดือดและรวดเร็ว โดยได้ออกแบบรูปแบบค่าบริการ


ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย หัวหน้าคณะผูบ้ ริหาร กลุม่ ลูกค้าองค์กร บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AIS

ที่ ยื ด หยุ ่ น เหมาะสมกั บ ขนาดของธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ แ ละขนาดกลาง เพื่อให้แต่ละองค์กรสามารถเลือกใช้งานได้ตามความเหมาะสม และ ในอนาคตอาจจะพัฒนาบริการพร้อมออกแบบค่าบริการเพื่อให้ธุรกิจ ขนาดย่อมสามารถเข้าถึงได้อีกด้วย แพลตฟอร์ม AIS Big Data as a Service ได้รับการพัฒนาเพื่อ ตอบสนองเทรนด์ของเทคโนโลยีและมุ่งขานรับความต้องการของกลุ่ม ลูกค้า Enterprise ของ AIS ที่มีการเก็บข้อมูลไว้จ�ำนวนมหาศาลและ มีขอ้ มูลเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ งในแต่ละวัน แต่ยงั ขาดเครือ่ งมือช่วยบริหารจัดการ และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ทางธุรกิจ สอดคล้องกับแผน ด�ำเนินงานของ Blendata ในการมุ่งขยายตลาด พร้อมตอบโจทย์ความ ต้องการของกลุ่มลูกค้าองค์กรขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ โดย ภาพรวมธุรกิจปัจจุบนั อยูท่ า่ มกลางยุคการปรับตัว และการแข่งขันทีเ่ ข้มข้น เร่งให้หลายองค์กรเปิดเกมรุกพัฒนาธุรกิจ ด้วยการหยิบข้อมูลมหาศาล มาวิเคราะห์ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนองค์กร ตัวอย่างเช่น การเร่ง ปฏิวัติการจัดเก็บข้อมูลถาวร (Data Archiving) เพื่อให้ค้นหาข้อมูล มหาศาลย้อนหลัง 10 ปี ได้ในไม่กี่วินาที จึงเป็นเรื่องที่หากองค์กรใด สามารถบริหารจัดการได้ก่อน ถือเป็นข้อได้เปรียบ ซึ่งรายงานของ การ์ทเนอร์ ชี้ว่า Composable Data and Analytics นั้นเป็นเทรนด์ ที่น่าจับตาเป็นอย่างยิ่งในปี ค.ศ. 2021 และถือเป็นกุญแจส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนองค์กรให้เข้าสู่การท�ำ Digital Transformation “การจับมือระหว่างแพลตฟอร์มบริหารจัดการ Big Data ส�ำเร็จรูป กับผูพ้ ฒ ั นาโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ บี ริการครอบคลุมและมีความปลอดภัย มากที่สุด เพื่อมุ่งพัฒนาและยกระดับประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ข้อมูล เป็นตัวกลางส�ำคัญในการก�ำจัดความยุ่งยากที่เกิดขึ้นระหว่าง ข้อมูลที่ซับซ้อนกับผู้ใช้งาน (End-User) ผ่าน 4 กระบวนการ ตั้งแต่การ รวบรวมข้อมูล (Integrate) การจัดการข้อมูล (Manage) การประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูล (Process) และการน�ำข้อมูลไปใช้ (Utilize) โดย ถูกรวมไว้ในแพลตฟอร์มเดียวที่ง่าย มีความสะดวกรวดเร็ว บนต้นทุนที่ ต�ำ่ กว่า และช่วยให้ผใู้ ช้งานบริหารจัดการข้อมูลได้งา่ ยขึน้ ” ณัฐนภัส กล่าว ด้าน ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย หัวหน้าคณะผู้บริหาร กลุ่มลูกค้า องค์กร บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AIS

กล่ า วว่ า ท่ า มกลางการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ที่ สู ง ขึ้ น เป็นตัวเร่งให้องค์กรเกิดความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ส่งผลให้องค์กรมองหาโมเดลธุรกิจหรือเทคโนโลยีใหม่ๆ มาเป็นเครือ่ งมือช่วยยกระดับประสิทธิภาพการด�ำเนินธุรกิจ แต่หลายองค์กรกลับประสบปัญหา (Pain Point) ในขัน้ ตอน การวางระบบ (Implement) ที่ต้องใช้ระยะเวลานานและ มีต้นทุนสูงด้านบุคลากร การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ บวกกับ ขั้นตอนที่ซับซ้อน ส่งผลให้โครงการหยุดชะงัก ลดโอกาส ทางการแข่งขันของธุรกิจ การร่วมมือกันพัฒนาแพลตฟอร์ม AIS Big Data as a Service ช่วยแก้ Pain Point ขององค์กรด้วยขั้นตอน การติดตั้งแบบ All-in-one ที่รวดเร็วขึ้น ใช้เวลาเพียงไม่ถึง สัปดาห์ในการจัดเตรียมระบบให้พร้อมใช้งาน ช่วยลด ต้ น ทุ น การวางระบบลงได้ อี ก หลายเท่ า ตั ว รวมทั้ ง ตั ว แพลตฟอร์มยังสามารถใช้งานได้ง่าย โดยบุคลากรเดิม ในแผนกที่จ�ำเป็นต้องใช้ข้อมูลไม่จ�ำเป็นต้องเขียนโค้ด แพลตฟอร์มดังกล่าวเข้ามาเสริมทัพจุดแข็ง AIS Business Cloud ในการน�ำเสนอแพลตฟอร์มตัวช่วยให้องค์กรต่างๆ มีทางเลือกในการน�ำเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพบนเครือข่าย คลาวด์ขนาดใหญ่ทมี่ คี วามปลอดภัยในประเทศ มาใช้ในการ บริหารธุร กิจให้เติบโต แข่งขันได้ในต้นทุนที่เหมาะสม น�ำไปสู่การสร้างความเข้มแข็งและมั่นคงทางเศรษฐกิจ ให้กับประเทศต่อไป การขับเคลื่อนธุรกิจในประเทศไทยให้เท่าทันการ เปลีย่ นแปลงเศรษฐกิจและพฤติกรรมผูบ้ ริโภคนัน้ จ�ำเป็น ต้องใช้แพลตฟอร์มบริหารจัดการข้อมูลอัจฉริยะ เพือ่ ช่วย ให้ผู้ใช้งานหรือบุคลากรในแต่ละส่วนงานขององค์กร ธุรกิจทีม่ คี วามจ�ำเป็นในการใช้ขอ้ มูล สามารถเข้าถึงข้อมูล ได้อย่างรวดเร็ว พร้อมทัง้ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการตัดสินใจ และการวางแผนธุรกิจจากการน�ำ Big Data มาใช้ได้ มากยิ่งขึ้น Engineering Today July • August 2021

39


IT Update • *ฟาบิโอ ทิวิติ

ฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน ประจ�ำภูมิภาค อาเซียน บริษัท อินฟอร์

การปรับปรุง ประสิทธิภาพ คลังสินค้า ให้เหมาะสม

ในช่วง COVID-19 ระบาด การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในขณะนี้ ได้ ผ ลั ก ดั น ให้ มี ก ารเร่ ง น� ำ เทคโนโลยี ไ ปใช้ ง านในภาค อุ ต สาหกรรมจ� ำ นวนมาก ทั้ ง นี้ ใ นบางธุ ร กิ จ อาจไม่ ทั น ได้เตรียมพร้อมรับมือเมื่อเกิด COVID-19 ที่น�ำมาซึ่งการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ สังเกตได้จากปริมาณอีคอมเมิร์ซ *รองประธาน ประจ�ำภูมิภาคอาเซียน บริษัท อินฟอร์

40

Engineering Today July • August 2021

ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ การลดจ�ำนวนพนักงานให้เหลือน้อยทีส่ ดุ ส�ำหรับการท�ำงาน ในบางพื้นที่ และการปิดธุรกิจเป็นระยะๆ ไม่ว่าจะเป็น ผู้จัดจ�ำหน่าย มืออาชีพ ผลิต ภัณฑ์เพื่อการค้าและการอุต สาหกรรม หรืออุป กรณ์ ความปลอดภัยและการแพทย์ ความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ นีห้ มายความว่า จะต้องปรับปรุงการด�ำเนินงานคลังสินค้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แต่การปรับปรุงนี้แท้จริงแล้วหมายถึงอะไร

ปัจจัยส�ำคัญที่ต้องพิจารณา

สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ประการหนึ่ ง ที่ ผู ้ จั ด จ� ำ หน่ า ยต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง คื อ กิจกรรมทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ภายในคลังสินค้าส่งผลกระทบโดยตรงต่อความ สัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งความท้าทายในที่นี้ คือ เป้าหมายและเงื่อนไข ต่างๆ ทีด่ เู หมือนจะเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา การแพร่ระบาดครัง้ ใหญ่ ได้ ท� ำ ให้ ก ารด� ำ เนิ น งานคลั ง สิ น ค้ า เกิ ด ความท้ า ทายหลายอย่ า งขึ้ น พร้อมๆ กัน ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ การแพร่ระบาดท�ำให้เกิดความ ไม่แน่นอนด้านก�ำลังคน เนื่องจากสมาชิกในทีมต้องรับมือกับความ เจ็บป่วย ต้องถูกกักตัว หรือต้องดูแลบุตรหลาน ส่งผลให้เกิดแรงกดดัน ต่อทีมและท�ำให้เกิดความล่าช้าในการผลิต อีกปัจจัยหนึ่ง คือ การเติบโตของอีคอมเมิร์ซที่เพิ่มมากขึ้น จน แซงหน้ายอดประมาณการสูงสุดที่ตั้งไว้ก่อนหน้านี้ จากการที่ลูกค้าได้ สร้างมาตรฐานประสบการณ์ด้าน Omni-channel ไว้ค่อนข้างสูง ในปี


การจัดซื้อ และป้องกันสินค้าสูญหายหรือการน�ำสินค้า ออกนอกคลังสินค้า อันเนื่องมาจากไม่มีการจัดการหรือ การติดตามที่เหมาะสมอีกด้วย

ประสิทธิภาพของคลาวด์

พ.ศ. 2564 นี้ หากไม่มีกลยุทธ์การตลาดแบบ Omni-channel ที่ได้ผล ก็เสี่ยงต่อการสูญเสียธุรกิจจ�ำนวนมาก ดังนั้นกุญแจส�ำคัญ คือ จะต้อง มี ค ลั ง สิ น ค้ า ที่ ส ามารถรองรั บ การขายแบบหลายช่ อ งทางได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งความท้าทายนี้นับว่าตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น เนื่องจาก ระบบจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management Systems - WMS) จ�ำนวนมากที่ภาคการผลิตใช้กันอยู่ขณะนี้ค่อนข้างเก่า และไม่สามารถ ท�ำงานให้ลุล่วงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความเข้าใจผิดที่พบได้บ่อย คือ ความคิดที่ว่าการน�ำสินค้าออก จากคลังให้ตรงเวลาคือการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ถึงแม้เรื่องนี้ จะส�ำคัญ แต่ในความเป็นจริงแล้วการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด จะเกี่ยวกับการเพิ่มคุณ ค่าให้กับปฏิบัติงานนั้นๆ แม้จะไม่สามารถ ให้บริการแบบเห็นหน้ากันก็ตาม ทัง้ นีห้ ากต้องการยกระดับประสบการณ์ ของลู ก ค้ า ให้ ก ้ า วล�้ ำ ขึ้ น ไปอี ก ภาคการผลิ ต จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ร ากฐาน ด้านดิจิทัลที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้ความพยายามเหล่านี้ด�ำเนินการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การควบคุมต้นทุน

ในช่วงเวลาที่ธุรกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ เราพบว่าผู้จัดจ�ำหน่าย จ� ำ นวนมากได้ ตั้ ง หลั ก เตรี ย มรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ และพยายาม ลดค่าใช้จ่ายจากกระบวนการท�ำงานที่กระชับที่ด�ำเนินการอยู่แล้วลงอีก ซึง่ หากเพิม่ การจัดการสินค้าคงคลังให้มปี ระสิทธิภาพและมีความโปร่งใส มากขึ้นทั่วทั้งองค์กร ก็เท่ากับช่วยประหยัดเงินได้อย่างมหาศาล ระบบจัดการคลังสินค้า WMS ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุน ผ่านข้อมูลอัจฉริยะเชิงลึกด้านสินค้า คงคลัง ช่วยให้ผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้ามีความมั่นใจมากขึ้นว่าจะสามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ โดยไม่ตอ้ งซือ้ หรือสต็อกสินค้ามาก เกินความจ�ำเป็น ดังนัน้ การด�ำเนินงานด้านคลังสินค้าจึงเป็นวิธคี วบคุม

ระบบที่ติดตั้งในองค์กร (On-premise) เคยเป็น มาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระบบค้าส่ง แต่ไม่ได้ให้ ความยืดหยุน่ และนวัตกรรมทีจ่ ำ� เป็นในสภาพแวดล้อมทาง ธุรกิจปัจจุบนั อีกต่อไป จุดเด่นของคลาวด์ คือ การจัดการ กับปริมาณงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ในคลังสินค้า โดยคลาวด์สามารถ ค�ำนวณปริมาณงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ได้อย่างรวดเร็ว จากนัน้ ก็เพิม่ พลังการประมวลผลที่จ�ำเป็นส�ำหรับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น นั้นได้โดยอัตโนมัติ ความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือ และ การกูค้ นื ระบบทีต่ ดิ ตัง้ ไว้ภายในทัง้ หมดมีพร้อมอยูใ่ นระบบ แต่ทว่า ความสามารถในการจัดการกับปริมาณงานทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยอัตโนมัตไิ ม่วา่ จะเป็นเวลาใดก็ตามต่างหาก ทีเ่ พิม่ คุณค่า ให้กับระบบคลาวด์อย่างแท้จริง สิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นถึงคุณค่าด้านนี้คือ เมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงในปีที่ผ่านมา ลูกค้าที่ใช้โซลูชันระบบคลาวด์ อยู ่ แ ล้ ว มี เ วลาในการปรั บ ตั ว ได้ ง ่ า ยขึ้ น โดยสามารถ ปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ที่จ�ำเป็นได้เท่าที่ต้องการ

ข้อควรพิจารณาเพิ่มเติม

การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของอี ค อมเมิ ร ์ ซ นั้ น ไม่ ง ่ า ย เหมื อ นกั บ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพบริ ก ารหยิ บ -แพ็ ก -ส่ ง (Pick-Pack-Ship) ซึ่งเป็นบริการช่วยจัดการออเดอร์เพื่อ ส่งให้ถงึ มือลูกค้าได้อย่างรวดเร็วแม่นย�ำ เนือ่ งจากมีตวั แปร ใหม่ๆ ทีต่ อ้ งค�ำนึงถึง รวมถึงตัวแปรทีเ่ กิดขึน้ หลังผลิตภัณฑ์ ออกจากท่ า เรื อ ซึ่ ง ผู ้ จั ด จ� ำ หน่ า ยจ� ำ นวนมากไม่ ทั น ได้ เตรียมตัวรับมือกับสินค้าตีคืนจ�ำนวนมาก ในฐานะผูบ้ ริโภคในโลกอีคอมเมิรซ์ ลูกค้าอาจซือ้ ของ บางอย่าง 3 ขนาดหรือ 3 สีแตกต่างกันไป หลังจากนั้น ก็คืนของกลับมา 2 ชิ้น เห็นได้ว่าสิ่งที่คล้ายกันนี้ก็เกิดขึ้น กับตัวแทนขายส่งเช่นกัน ดังนั้น ผู้จัดจ�ำหน่ายจึงต้องมี ระบบที่ช่วยให้การรับคืนสินค้าเป็นไปอย่างราบรื่น และ น�ำของชิ้นนั้นกลับคืนสู่ชั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ ผู้จัดจ�ำหน่ายไม่เพียง แต่ต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจเท่านั้น แต่จะต้องออกแบบกลยุทธ์รองรับเศรษฐกิจดิจิทัลที่จะ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและขยายส่วนแบ่งทางการตลาด เพิ่มขึ้นด้วย Engineering Today July • August 2021

41


พระพุทธธรรมค�ำสอน แนวทางเพื่อชีวิตและสังคม ในช่วงวิกฤตโรคภัยโควิด-19


Management Tools Today • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

พระพุทธธรรม ค�ำสอน :

แนวทางเพื่อชีวิต และสังคมในช่วงวิกฤต โรคภัยโควิด-19

ประเทศไทยกับการแพร่ระบาดของโควิด-19 นับตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 จนถึงช่วงก่อนเทศกาลสงกรานต์ปี พ.ศ. 2564 การแพร่ ระบาดของโรคระบาดโควิด-19 นับจะรุนแรงมากขึ้น โดยมีผู้ติดเชื้อ รายใหม่เพิ่มแต่ละวันนับหมื่นรายและเสียชีวิตวันละมากกว่า 100 ราย นับตั้งแต่วันที่ 17 ถึงวันที่ 29 กรกฎาคม 2564 รวมเพียง 13 วัน มีผู้ติดเชื้อรายใหม่รวม 179,123 ราย และเสียชีวิตรวม 1,463 ราย การแพร่ระบาดของโรคระบาดโควิด-19 ได้แพร่กระจายเข้าสู่ครัวเรือน ส่งผลให้หลายๆ ครอบครัวติดทั้งครัวเรือนและเสียชีวิตทั้งครอบครัว เป็นสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในช่วงนีน้ บั ว่าหนักและอันตรายมากกว่าภัยใดๆ เป็นภัยที่เราไม่สามารถมองเห็นและป้องกันได้อย่างเด่นชัด ซึ่งทุกชีวิต ทุกอาชีพทุกเพศทุกวัยทุกชนชั้นล้วนได้รับผลกระทบด้วยกันทั้งสิ้น

ทุ ก ข์ จ ากโรคภั ย โควิ ด -19 ครั้ ง นี้ ส ่ ง ผลน� ำ มาซึ่ ง มรณภัยส�ำหรับผู้ที่อ่อนแอ ผู้ที่ไม่ได้รับการรักษาอย่าง ถูกต้อง หรือผู้ที่ประมาทในการด�ำรงชีพ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นเชื้อโรคร้ายที่สามารถแพร่จาก คนสูค่ นผ่านทางฝอยละอองจากจมูกหรือปากซึง่ ขับออกมา เมื่ อ ผู ้ ป ่ ว ยไอหรื อจาม ซึ่ ง เรารั บ เชื้ อ ได้ จ ากการหายใจ เอาฝอยละอองเข้าไปจากผูป้ ว่ ยหรือจากการเอามือไปจับพืน้ สัมผัสพืน้ ผิวทีม่ ฝี อยละอองเหล่านัน้ แล้วมาจับตามใบหน้า ท�ำให้การแพร่กระจายสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดยง่าย และเชือ้ ไวรัสโควิด-19 เมือ่ เข้าสูร่ า่ งกายทางทางเดินหายใจ ทางช่องปาก ช่องทางจมูกทางเดินหายใจ จะเดินทาง เข้าสู่ปอดและท�ำลายปอดจนท�ำให้เสียชีวิต โดยใช้เวลา เพียง 10 กว่าวันนับจากการรับเชื้อ หากไม่มีการรักษา อย่างถูกต้องหรือร่างกายมีความอ่อนแอ การที่ รั ฐ บาลขอความร่ ว มมื อ ในการปฏิ บั ติ ต าม มาตรการเพื่อส่วนรวมในการป้องกัน ทั้งการสวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่างนั้น ก็เพื่อเป็นหลักในการปฏิบัติ ให้เกิดประโยชน์แก่ชนหมู่มาก เพื่อก�ำจัดความเบียดเบียน อันเกิดจากโรคภัย ลดการแพร่เชื้อ หากเราไม่ร่วมมือกัน ไม่สามัคคีกัน ไม่ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ก็จะเป็นอุปสรรค ต่อการข้ามพ้นวิกฤติ ในส่วนของการรักษาโรคทางกาย นั้ น มี วั ค ซี น ที่ ต ้ อ งจั ด หาให้ พ อเพี ย งต่ อ การระงั บ การ แพร่ระบาด ซึ่งที่ผ่านมาไม่สามารถจัดหาให้มีการเข้าถึง ซึ่งการป้องกันจนเกิด การติด เชื้อรายใหม่ห ลักแสนราย เพียงช่วง 12 วัน และสูญสียชีวิตนับพันคน และวัคซีนที่ ได้รับการฉีดแล้วเป็นเพียงยาเพื่อช่วยป้องกันและลดการ เสียชีวติ จากโควิด-19 แต่ในทางจิตใจนัน้ วัคซีนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คือ การมี “สติและปัญญา” เครื่องมือที่จะน�ำพาทุกชีวิต ก้าวข้ามวิกฤตไปได้ พระพุทธธรรมค�ำสอนกว่า 2,600 ปี ขององค์สมเด็จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า เพื่ อ ให้ ส ามารถเรี ย กสติ แ ละ สร้ า งภู มิ ป ั ญ ญาในแนวทางเพื่ อ การด� ำ รงชี วิ ต และ การรักษาสังคมให้รอดพ้นจากโรคภัยและมรณภัยในช่วง วิ ก ฤตโรคภั ย โควิ ด -19 นี้ ไ ด้ จากโอวาทเจ้ า พระคุ ณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกล มหาสังฆปริณายก ได้ทรงประทานพระคติธรรม ความว่า “ไม่มีชีวิตใดประสบแต่ความเกษมสุข ปราศจากทุกข์ภัย ไปได้ตลอด” เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว จึงจ�ำเป็นต้องขวนขวาย สั่ ง สมความรู ้ สติ ปั ญ ญา ส� ำ หรั บ เป็ น อุ ป กรณ์ บ� ำ บั ด ความทุ ก ข์ อ ยู ่ ทุ ก เมื่ อ เพื่ อ ให้ ส มกั บ ที่ เ ราด� ำรงอั ต ภาพ แห่งความเป็นมนุษย์ ผูม้ ศี กั ยภาพต่อการพัฒนา ท่ามกลาง

Engineering Today July • August 2021

43


สถานการณ์โรคระบาด ซึ่งก่อให้เกิดความหวาดหวั่นครั่น คร้าม กันทั่วหน้า ทุกคนมีหน้าที่แสวงหาหนทาง เพิ่มพูน สติและปัญญา พร้อมทั้งแบ่งปัน หยิบยื่นให้แก่เพื่อนร่วมสังคม อย่าปล่อยให้ ความกลัวและความหดหู่ท้อถอยมาบั่นทอนความ เข้มแข็งในใจ เรายังต้องอยูร่ ว่ มกันในบ้านเมืองเรา เราจะไม่ทงิ้ กัน โดยผู้เขียนขออราธนาพระธรรมค�ำสอนที่สามารถประยุกต์น�ำมา เพือ่ ใช้ประโยชน์และน�ำเสนอบางส่วนทีส่ อดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบัน ดังนี้

แนวทางปฏิบตั เิ พือ่ การป้องกันโรคติดเชือ้ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)

แนวทางปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด-19 ส�ำหรับประชาชนทั่วไปและ กลุ่มเสี่ยง ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ลงวันที่ 3 มกราคม 2564 มีการกล่าวถึงการปฏิบัติโดยย่อ ดังนี้ • แนวทางการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล เพื่อป้องกันและ ลดการแพร่เชื้อโควิด เช่น การออกจากบ้านเมื่อจ�ำเป็น เท่านั้น หากออกนอกบ้านให้เว้นระยะห่างจากคนอื่น อย่างน้อย 1-2 เมตร หลีกเลี่ยงการชุมนุมสังสรรค์ การสวมหน้ากากอนามัยในการอยูน่ อกบ้าน การล้างมือ ด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้ง การแยกของใช้ ส่วนตัว ไม่ควรใช้ของร่วมกับผู้อื่น การกักตัวที่บ้าน 14 วั น เมื่ อ มี ค วามเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากการใกล้ ชิ ด กับผู้ติดเชื้อ เป็นต้น • แนวทางการปฏิบัติส�ำหรับกลุ่มเสี่ยง ผู้สูงอายุ ผูม้ โี รค ประจ�ำตัว กลุ่มเด็กเล็กที่มีอายุต�่ำกว่า 5 ปี รวมถึง หญิงตั้งครรภ์ โดยประกาศล่า สุดของรัฐบาลให้มี พ.ร.ก.สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น ดํ า เนิ น มาตรการป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา โดยเริ่มตั้งแต่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และขยายในฉบับ ที่ 13 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ถึง 30 กันยายน 2564 และมีการ ประกาศการห้ามออกนอกเคหสถานในช่วงเวลาทีร่ ฐั บาลก�ำหนด และการเดินทางข้ามจังหวัด ต้องได้รบั การอนุญาตทีจ่ ำ� เป็นเท่านัน้

พระพุทธธรรมค�ำสอน เพือ่ การป้องกันโรคติดเชือ้

ไวรัสโคโรนา 2019 และปฏิบัติตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ในส่วนนี้ ต้องขอน�ำค�ำสอนในพระพุทธศาสนา 2 เรื่องคือ 1 “อัตตาหิ อัตโนนาโถ” ตนนั้นแลเป็นที่พึ่งแห่งตน แต่ความจริงพุทธภาษิตไม่ได้มีเท่านี้ พระพุทธเจ้า ยังตรัสต่อว่า “ผู้ที่ฝึกตนไว้ดีแล้วย่อมได้ที่พึ่งอันหา ได้ยาก” ประโยคหลังนี้ชาวพุทธไทยไม่ค่อยได้ยิน...

44

Engineering Today July • August 2021

ตนจะเป็นทีพ่ งึ่ ได้แท้จริงต้องมีการฝึกฝน ถ้าไม่ฝกึ ฝน แล้ว ตนนอกจากจะเป็นที่พึ่งให้ตนเองไม่ได้แล้ว ยังจะกลายเป็นศัตรูของตนเองเสียอีก เป็นการแสดง ธรรมโอวาทจากพระอาจารย์ ไ พศาล วิ ศ าโล เจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต อ�ำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ช่วงนี้เป็นช่วงวิกฤตอันรุนแรงของการแพร่ระบาด การหวังความช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการ ซึ่ง ต้ อ งรั บ ภาระอั น ใหญ่ ห ลวงและจ� ำ นวนมากแค่ ช่วงเวลา 10 กว่าวัน การพึง่ ตนเองและการฝึกตนเอง ให้สามารถรอดปลอดภัย เป็นการรักษาตนเองไว้ และไม่เป็นภาระกับบุคลากรทางการแพทย์ 2 เรื่องความสงบ ความสงบมีหลายรูปแบบอย่าง 2.1 ความสงบทางกาย เรียกว่า กายวิเวก เกิดขึ้น เมื่อเราอยู่ในสถานที่ที่เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวน ไม่มีคนจอแจพลุกพล่าน อย่างเช่น มาอยู่ป่าหรือ เก็บตัวในบ้าน ความสงบทางกายนั้น ส่วนหนึ่ง ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อม อีกส่วนหนึ่งก็เป็นเรื่องของ การปฏิบัติตัว เช่น รักษาศีล 8 โดยเฉพาะศีล ข้อที่ 7 ได้แก่ การงดเว้นจากการฟ้อนร�ำ การขับ ประโคม การเล่นดนตรีหรือดูการละเล่น หรือ การมี วิ ถี ชี วิ ต ที่ ป ลอดจากสิ่ ง เร้ า เย้ า ยวนทางตา หู จมูก ลิ้น กาย การกินน้อย ใช้น้อย เป็นอยู่อย่าง เรียบง่าย 2.2 ความสงบทางจิต เรียกว่า จิตวิเวก ท�ำได้ด้วยการ ฝึกสมาธิ เจริญสติ ท�ำให้เกิดความสงบในจิตใจ โดยไม่ ต ้ อ งอาศั ย สิ่ ง แวดล้ อ มช่ ว ยเลยก็ ไ ด้ การเดินจงกรมก็เป็นการสงบทางจิตที่สามารถ ช่วยให้ร่างกายแข็งแรงได้ 2.3 ความสงบจากกิเลส เรียกว่า อุปธิวิเวก เป็นความ สงบที่ประเสริฐที่สุด เพราะไม่มีกิเลสมารบกวน จิตใจอีกต่อไป เป็นความสงบที่ยั่งยืน และก่อให้ เกิดความสุขที่แท้จริง ท�ำให้เป็นอิสระจากสิ่งเร้า เย้ายวนทั้งหลาย ขอให้น�ำหลักพระธรรมในเรื่องความสงบมาใช้กับการที่เรา ต้องปลีกวิเวกจากสังคม เนื่องจากต้องกักตัวเองเพื่อการดูอาการ 14 วัน ในสถานที่ห้องจ�ำกัดจากการใกล้ชิดผู้ติดเชื้อหรือการ เข้ารักษาตนเองในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล การสงบทาง กาย การสงบจิต การสงบใจ การไม่คิดฟุ้งซ่านในช่วงดังกล่าว เพื่อสร้างความสุขให้กับตนเองและครอบครัว ให้ผ่านพ้นโรคภัย และมรณภัยให้ได้ โดยให้ถือค�ำที่ว่า “สุขยิ่งกว่าสงบไม่มี” เป็น ที่ตั้งไว้ก่อน เป็นการรักษากาย รักษาใจให้มั่นคงในช่วงวิกฤตชีวิต


การเว้นระยะห่าง (Social Distancing and Personal Isolation) การรักษาระยะห่าง แบบห่วงๆ

พุทธภาษิตกล่าวว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา แปลว่า การ ไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ” นั่นเป็นความจริงแท้ จงดูแล สุขภาพร่างกายและจิตใจของตนเองให้ดี หากดูแลดี ไม่มีโรคใดๆ มากระทบก็ถอื ว่าโชคดี ได้ลาภอันประเสริฐยิง่ กว่าลาภใดๆ ดังนัน้ เราควรรักตัวเอง ดูแลตัวเองให้ดี อย่าคิดว่าแข็งแรง และต้อง ด�ำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท พระศากยวงศ์วสิ ทุ ธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย) ได้แสดงธรรม ให้เข้าใจได้วา่ มีคำ� สอนในพระพุทธศาสนาหลายๆ เรือ่ งทีส่ ามารถ จะเข้ากับยุคตรงนี้ ในขณะที่เราก�ำลังบอกว่า New Normal ถ้า เรามองจากมุมมองของวิถีพุทธ ไม่ได้เป็น New Normal อะไร เลย เช่น Social Distancing ส�ำหรับประเทศ หรือพวกเราดูเป็น ค�ำใหม่ แต่ถ้าเราไปดูในพระไตรปิฎก ปรากฏว่าพระพุทธเจ้า ได้พูดถึงเรื่องนี้ไว้แล้ว ท่านบอกว่าถ้าเราต้องการความสงบ หรือไม่วุ่นวาย ไม่ว่าจะทางกายหรือทางใจ ท่านสอนไว้ว่าเราต้อง รู้จัก Social Distancing นั่นคือ ไม่ไปคลุกคลีกับหมู่คนมากมาย ก็คือว่า Social Distancing ในปัจจุบันนี้ นอกจากนี้ ในพระไตรปิ ฎ ก เมื่ อ 2,600 ปี ม าแล้ ว พระพุทธเจ้าได้อธิบายการเว้นระยะห่างไว้ 5 ด้าน ซึ่งลึกกว่า พวกเราด้วยซ�้ำ ประกอบด้วย 1 เว้ น ระยะห่ า งในการไปฟั ง เป็ น กลุ ่ ม เป็ น ก้ อ น 2 เว้นระยะห่างจากการไปดู (ดูละคร ดูมวย ดูในที่ที่ผู้คนหนาแน่น ) 3 เว้นระยะห่างจากการพูดคุย เมาส์มอยของผู้คน 4 เว้นระยะห่างจากการทานอาหารร่วมกัน เป็นหมู่คณะ หรือที่เรียกว่าปาร์ตี้ในปัจจุบัน 5 เว้นระยะห่างทางกายหรือการสัมผัสต่างๆ การรักษากายเป็นส�ำคัญ การรักษาเฉพาะกาย การรักษา เฉพาะที่ เฉพาะจุด อาจจะมีผลกระทบต่อส่วนอื่นๆ ได้ เช่น ให้ ย าเบาหวานอาจจะมี ผ ลเสี ย ต่ อ ไต ไล่ ญ าติ อ อกห่ า งไกล จากคนไข้อาจจะมีผลกระทบต่อจิตใจผู้ป่วย และอาจจะลุกลาม ไปยังโรคทางกายได้ เป็นต้น แต่ไหนแต่ไรมามีอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นยา เป็นสมบัติที่ติดตัวเราอยู่ตลอดเวลา แต่ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่ ได้ละเลย เพิกเฉยหรือมองไม่เห็น คือเราต้องพึ่งพาตัวเราให้มาก อย่าหวังไปพึง่ พาหมอแต่เพียงฝ่ายเดียว ทีบ่ อกว่าเรือ่ งกินเรือ่ งของ เรา เรื่องรักษาเป็นหน้าที่ของหมอ พูดเล่นๆ สนุกๆ ได้ แต่ ความจริงหาเป็นเช่นนั้นไม่ การที่เราพึ่งพาหมอและยามากจน เกินความจ�ำเป็น อาจจะไม่ใช่แนวทางการรักษาที่ถูกต้องทั้งหมด ก็ได้ ตัวเราเองก็มียาวิเศษอยู่ในตัวเรา ต้องงัดยาวิเศษชนิดนี้ ออกมาใช้ให้ได้ คือ

1

ควบคุมอาหาร พระพุทธองค์สอนในเรื่องปริมาณ อาหารที่พอเหมาะ อาหารที่ท�ำให้คนมีอายุยืน นี่เป็น ค�ำสอนของพระพุทธศาสนาทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก ปัจจุบันอาหารเป็นยาพิษ น�ำพาโรคมาสู่ร่างกายของ คนเรานั้นมีมากมายเหลือคณา เรากินในทุกๆ วัน โดยที่ไม่ได้ใส่ใจเอาเสียเลย เรายึดเอาความอร่อย สะดวก ถูกใจเข้าว่า จะเห็นได้ชดั เจนว่าเด็กๆ ทุกวันนี้ เป็ น โรคไต โรคมะเร็ ง กั น มากขึ้ น นี่ ข นาดยั ง อยู ่ ในวัยเด็ก สาเหตุหนึ่งก็ล้วนมาจากการอยู่การกิน แทบทั้ ง นั้ น เราจะต้ อ งรู ้ จั ก ควบคุ ม การกิ น ให้ ไ ด้ อย่าลืมว่า กินอย่างไรได้อย่างนั้น 2 การออกก�ำลังกาย การออกก�ำลังกายที่พอเหมาะ พอควร สม�่ำเสมอ จะช่วยให้เรามีภูมิที่ดี ร่างกาย ที่แข็งแรงย่อมต่อต้านได้สารพัดโรค กินๆ ท�ำงานๆ เครียดๆ ไม่เคยออกก�ำลังกายเลย จะมีก�ำลังที่ไหน มาต่อสูก้ บั โรคภัยไข้เจ็บทีม่ อี ยูส่ ารพัดในตัวเรา ร่างกาย นี้เป็นรังแห่งโรค นี่ก็พุทธพจน์ (พร้อมกันนี้ต้อง ออกก� ำ ลั ง ปอดด้ ว ยการฝึ ก สู ด ลมเข้ า ออกยาวๆ เพื่อที่ปอดจะได้แข็งแรง) 3 ดื่มน�้ำให้มาก น�้ำเปล่าดี มีประโยชน์ (ยกเว้นบางโรค ทีห่ มอห้ามดืม่ เช่น โรคน�ำ้ ท่วมปอด เป็นต้น) ปัจจุบนั เราเห็นกันดาษดื่น โดยเฉพาะในสังคมเมือง มือ ข้ า งหนึ่ ง เล่ น โทรศั พ ท์ มื อ อี ก ข้ า งถื อ เครื่ อ งดื่ ม ใน รูปแบบแก้วสวยในรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันออกไป ที่ดื่มๆ กันอยู่นั้นจ�ำเป็นต่อชีวิต ร่างกายของเรา มากน้อยแค่ไหน หรือเป็นเพียงค่านิยมในยุคสมัย เท่านั้น ราคาก็แพง ของแถมคือท�ำลายสุขภาพและ ยั ง ละลายทรั พ ย์ ใ นกระเป๋ า ของเราเข้ า ไปอี ก ด้ ว ย ค่านิยมผิดๆ นีล้ องหันมาดืม่ น�ำ้ เปล่ากันบ้างน่าจะดีกว่า “วิถชี วี ติ ของพระนัน้ ไม่ได้เปลีย่ นแปลงอะไร ค�ำสอนนัน้ ก็ยงั เป็นอกาลิโก คือยังทันสมัยอยู่มากกว่าที่เราจะคาดคิดได้ ค�ำสอน ในพระพุทธศาสนานั้นอาจจะเรียกว่าเป็นค�ำสอนวิทยาศาสตร์ แต่อาตมาบอกว่ายิง่ กว่าวิทยาศาสตร์ดว้ ยซ�ำ้ เพราะว่าเป็นค�ำสอน ทีไ่ ม่มกี าลเวลา ใช้ได้ตลอดเวลา ปัจจุบนั วิถชี วี ติ อาจเปลีย่ นไปบ้าง แต่ในแง่ของแก่นแท้ความจริงไม่ได้หนีไปจากแก่นเลย สิ่งส�ำคัญ ที่สุดคือเราจะต้องเข้าใจ” ค�ำกล่าวแสดงธรรมจากพระศากยวงศ์ วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร

ความเป็นจริงทีต่ อ้ งรูเ้ มือ่ วิกฤตโรคติดเชือ้ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)

รายงานจาก Johns Hoskins University, WHO, Our World in Data, Heath Authority ล่าสุดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2564 ยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 มีจ�ำนวน 195,746,436 ราย มี Engineering Today July • August 2021

45


ผู้เสียชีวิตรวม 4,182,008 ราย ประเทศไทยอยู่ในอันดับ ที่ 46 ยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 มีจ�ำนวน 543,361 ราย มีผู้เสีย ชีวิตรวม 4,397 ราย ซึ่งประเทศไทยมีอัตราการเพิ่มมากขึ้นใน ช่วง 13 วัน ที่ผ่านมา และสถานการณ์ยังไม่มี ท่าที่แสดงว่าจะมียอดที่ลดลง แต่ประการใด ในสมัยพุทธกาล องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดง ธรรมในพระสูตร “คิลานสูตร” ว่าด้วยคนไข้และบุคคลผู้เปรียบ ด้วยคนไข้ กล่าวโดยย่อว่า คนไข้ 3 จ�ำพวกนี้ปรากฏอยู่ในโลก คนไข้ 3 จ�ำพวกไหนบ้าง คือ 1 คนไข้บางคนในโลกนี้ได้โภชนะที่เป็นสัปปายะหรือ ไม่ได้โภชนะทีเ่ ป็นสัปปายะก็ตาม ได้ยาทีเ่ ป็นสัปปายะ หรือไม่ได้ยาทีเ่ ป็นสัปปายะก็ตาม และได้คนพยาบาล ที่เหมาะสม หรือไม่ได้พยาบาลที่เหมาะสมก็ตาม ย่อมไม่หายจากอาพาธนั้นได้เลย สรุปโดยย่อก็คือ คนไข้ที่ได้อาหารดี ยาดี พยาบาลดี หรือไม่ได้เลย จะอย่างไรก็ไม่หายจากโรคที่เป็น เมือ่ เทียบกับสถานการณ์ปจั จุบนั ผูท้ ตี่ ดิ เชือ้ โควิด-19 จะรักษาอย่างไรก็ต้องถึงแก่ความตาย 2 คนไข้บางคนในโลกนี้ได้โภชนะที่เป็นสัปปายะหรือ ไม่ได้โภชนะทีเ่ ป็นสัปปายะก็ตาม ได้ยาทีเ่ ป็นสัปปายะ หรือไม่ได้ยาทีเ่ ป็นสัปปายะก็ตาม และได้คนพยาบาล ที่เหมาะสม หรือไม่ได้พยาบาลที่เหมาะสมก็ตาม ย่อมหายจากอาพาธนั้นได้ สรุปโดยย่อก็คือ คนไข้ที่ได้อาหารดี ยาดี พยาบาลดี หรือไม่ได้รับการรักษาเลย จะอย่างไรก็หายจากโรค ที่เป็นได้ เมือ่ เทียบกับสถานการณ์ปจั จุบนั ผูท้ ตี่ ดิ เชือ้ โควิด-19 จะรักษาอย่างไรหรือไม่รกั ษา ก็สามารถหายได้ดว้ ยยา หรือได้ด้วยสุขภาพที่ดีของตนเอง 3 คนไข้บางคนในโลกนีไ้ ด้โภชนะทีเ่ ป็นสัปปายะ จึงหาย จากอาพาธนั้น เมื่อไม่ได้ ย่อมไม่หาย ได้ยาที่เป็น สัปปายะก็ตาม จึงหายจากอาพาธนั้น เมื่อไม่ได้ ย่อมไม่หาย และได้คนพยาบาลที่เหมาะสม หรือ ไม่ได้พยาบาลที่เหมาะสม จึงหายจากอาพาธนั้น เมื่อไม่ได้ ย่อมไม่หาย สรุ ป โดยย่ อ ก็ คื อ คนไข้ ที่ ต ้ อ งได้ อ าหารดี ยาดี พยาบาลดี ถึงจะหายจากโรคที่เป็นได้ เมือ่ เทียบกับสถานการณ์ปจั จุบนั ผูท้ ตี่ ดิ เชือ้ โควิด-19 จะต้องเข้ารับรักษา ก็สามารถหายได้ด้วยยา และ การพยาบาลเท่านั้น จึงขอสรุปว่า การติดเชือ้ โควิด-19 จะมีผปู้ ว่ ยอยู่ 3 ประเภท คือ 1. รักษาหรือไม่รกั ษา ก็ตาย 2. รักษาหรือไม่รกั ษา ก็หาย และ 3. รักษาก็หาย ไม่รักษาก็ตาย เป็นสัจธรรมความจริงของโลกนี้

46

Engineering Today July • August 2021

ที่ต้องยอมรับ และแสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ในยุควิกฤตการณ์ โควิด-19 ณ ปัจจุบัน

เหตุปัจจัยแหล่งการเกื้อหนุนกันในช่วง ที่ประชาชนอยู่ในภาวะทุกขภัย อันเกิดจากโรคภัยและมรณภัย

“การติดเชือ้ ในครอบครัว” เป็นปัจจัยส�ำคัญของการระบาด รอบนี้ พึ่งทราบจากรายงานข่าวว่าหลายครอบครัวมีการติด โควิด-19 ทัง้ ครอบครัวและตายทัง้ ครัวเรือน ซึง่ การเก็บข้อมูลสถิติ ยังไม่ปรากฏ แต่เราจะได้เห็นจากรายงานข่าวทุกวันในช่วงนี้ การเกิดบ้านร้างในชุมชนขึ้นมากมายจะเป็นบาดแผลสะเทือนใจ ทั้งญาติมิตรและชุมชน จะเป็นปัญหาสังคมตามมาอีกมากมาย ทุกศาสนาล้วนมีหลักธรรมะ ค�ำสอนให้ใช้ “สติและปัญญา” เมื่อเจอภาวะวิกฤต ให้สามารถเผชิญหน้ากับความกลัวด้วยสติ โรคภัยเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เป็นธรรมดา ขณะนี้เป็นภาวะวิกฤต เชื้อไวรัสแพร่ระบาดไปอย่างรวดเร็ว ในฐานะพุทธศาสนิกชน สามารถน้อมน�ำหลักธรรมมาปฏิบัติ เพื่อสร้างสรรค์สังคมให้ น่าอยู่มากขึ้นในภาวะวิกฤต รวมทั้งฝึกจิตใจให้เข้มแข็งได้ นั่นคือ ทาน ศีล และภาวนา 1 ทาน คือ การให้วัตถุสิ่งของช่วยเหลือผู้ที่ล�ำบาก ให้ความรู้ ให้วิชาในการประกอบอาชีพ เมื่อต้อง ตกอยู่ในภาวะปรับตัวแบบกะทันหัน หากมีสิ่งใด ช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้ ก็ร่วมกันช่วยเหลือสนับสนุน อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ 2 ศีล คือ การประพฤติชอบ ด้วยกาย วาจา ใจ ให้ความ ร่วมมือและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการป้องกันโรค อย่างเคร่งครัด เคารพกติกาสังคมเพือ่ ความปลอดภัย ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น ย่อมจะช่วยให้สถานการณ์ เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างแน่นอน 3 ภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจ ใช้เหตุและผลพิจารณา อย่างรอบด้านในการด�ำเนินชีวิต ในสภาวะวิกฤต ดูแลสุขภาพและป้องกันตนเอง การรักษาโรคทางกายนั้นยังพอมีวัคซีนเพื่อช่วยป้องกัน และลดการเสียชีวิตจากโควิด-19 แต่ในทางจิตใจนั้น ต้องมีหลัก ในการยึดถือและปฏิบตั ิ วัคซีนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในทางพระพุทธศาสนา ก็คือ การมี “สติและปัญญา” เครื่องมือที่จะน�ำพาทุกชีวิตก้าวข้าม วิกฤตไปได้ พระพุทธธรรมค�ำสอน : แนวทางเพื่อชีวิตและสังคม ในช่วงวิกฤตโรคภัยโควิด-19 ฉบับนี้ จึงหวังให้เป็นวัคซีนทางเลือก เพื่อเป็นที่ยึดมั่นทางด้านจิตใจและการปฏิบัติให้รอดพ้นจาก โรคภัยและมรณภัยได้ด้วยตนเอง



INDEX ADVERTISING July • August 2021 ENGINEERING TODAY • Vol.4 No.184 July - August 2021 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

Website/E-mail

AVERA CO., LTD.

0-2074-4411

0-2074-4400

ปกหน้าใน

www.avera.co.th

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

www.vega.com

กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

6

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

5, 47

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97

0-2002-4398

8

www.tdpowertech.com

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

08-1592-4456

-

4

www.promach.co.th

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

0-2322-0430

3

info@powerade.co.th

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

9

www.virtus.co.th, welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

7

savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อาทิตย์เวนติเลเตอร์ หจก.

0-2509-3065

0-2943-1814

6

www.artith.com, contact@artith.com

www.kulthorn.com www.kanitengineering.com

CONSTRUCTION THAILAND • Vol.1 No.4 July - August 2021

48

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

Website/E-mail

LED Expo Thailand + SMARTECH ASEAN Online Networking & Knowledge Week

09-8236-9691

-

4

www.ledexpothailand.com/knowledgeweek wishjanondv@impact.co.th

แปซิฟิค เทคโนโลยี ดิสตริบิวชั่น บจก.

0-2362-6188-9

0-2368-6190

5

-

พีระมิดคอนกรีต บจก.

0-2540-7251

0-2540-7565

5

-

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2130-6371

-

ปกหน้าใน

อิตัลไทย อินดัสเทรียล บจก.

0-2050-0555

-

3

Engineering Today July • August 2021

www.leafpower.co.th www.italthaiindustrial.com


9RO | 1R | -XO $XJ

¥n¯£­§¯£¥©£¯ q ©´£¥»n ³ ª´¬ ¥q º à ­´ ´ ¥¯ Å­nÆ ¤ n´© m´ &29,'

¥£ ¯ º£³ ¶­§³ ´¥¥m´ ¥²¥´ ³ ³ ¶ ´¥ ¬m ´ ¥´ ª  ¹Ê¯ © º£x µ ³ »Ã§ ¬m ´ ¥´ Å­n | ¥² ¤ ¥² ³ £´ ¥ ´ ¬m ´ ¥´

¬© ¸ ¬ ´ ³ ©¶ ³¤  ¶ ¥ Æ¡ ¥²Â ª ·Ê ºh ­ º ³ ´ ´ ©¶ ³¤ ©³ ¥¥£¯º ¬´­ ¥¥£ ¥² ¥´ ¯ Æ ¤

¥£© £ ´ £  ¤ ©´£ n´©­ n´ Ä ¥ ´¥ /DQGEULGJH  n ³ ´Â ¹Ê¯ ¸ » Â¥¹¯ ¥¥ º ˵£³ ´ Å­ m ­³ £´Å n¬n ´ Å ¯ ´





. é Pò Yă R A M LT D Ā ã øĀ æ I D CO. × Ă Ð E í Ą ò ÿ C O N R E T Ð òĄ ä ðă ã CÓ ü è

3<ý B 0 J 7Ċ < I:M F2 <þ . "L J ¸¬© ´½¶¥±­¨ §³²§¶©¸© §³ °¸¨

DJ8

<ÿ < WA X ; L L3

"D=J

O =2 L3 ( C L K.DR= #K"EA

=K4WE;L GD= L"

033 1L"E?A" DJ8L3 1L"X< / L"=J.K4 "L3Y<2L 3L.ZE} 1R 5=JW:1

£ 033DRAþ31A"B X A";O34R=ÿ W /;O34R=ÿ =R"W18I ¢ ¢ ¡


EDITORTALK CONSTRUCTION THAILAND

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2644-4555, 0-2354-5333 ต่อ 214, 231, 219, 230, และ 313 โทรสาร : 0-2644-6649 Website : www.technologymedia.co.th E-mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ E-mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา E-mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ E-mail : account@technologymedia.co.th

ในยุคดิสรัปชันเกิดปัญหาต่างๆ ที่ท้าทายมากมาย ทั้งวิกฤต COVID-19 ปัญหาโลกร้อน ปัญหา มลพิษ ปัญหาการใช้ชีวิตในเมือง ซึ่งส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ ท�ำให้วิชาชีพ “วิศวกร” ได้รับการกล่าวถึง ด้วยหวังว่าจะมีวิศวกรรุ่นใหม่ๆ ที่สามารถผสานองค์ความรู้ ต่างๆ ร่วมกับวิศวกรอาวุโส สถาปนิก แพทย์ และอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยกันหาทางออก ในการแก้ปัญหาต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน สภาวิศวกร ในฐานะสภาวิชาชีพ จึงได้จัดงานเสวนา “วิศวกรยุคดิสรัปชัน กับทางรอดของโลก” เพื่อเป็นอีกหนึ่งเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านมุมมองวิศวกรและคนรุ่นใหม่ เพื่อแก้ปัญหา ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งทั น ท่ ว งที อย่ า งไรก็ ต าม การที่ ส ภาวิ ศ วกรและวิ ศ วกรในสั ง กั ด ที่ มี อ ยู ่ จ ะ ด�ำเนินกิจกรรมอื่นใดนั้น จะต้องมีหน่วยงานอื่นๆ และความคิดเห็นของเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่จะเป็น อนาคตของประเทศไทยเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้วย เพื่อให้กิจกรรมและงานที่ท�ำประสบ ความส�ำเร็จโดยเร็ว ในส่วนของวิศวกรอาวุโสควรเปิดใจยอมรับในความรู้ ข้อเท็จจริงตามสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น ในสังคมไทยและสังคมโลก ที่ต้องใช้หลักเหตุผล ความคิดของคนทุกๆ รุ่นมาสังเคราะห์ วิเคราะห์ ปัญหามูลเหตุของเรื่องที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา รวมทั้งปรับตัวยอมรับการเปลี่ยนแปลง เปิดรับ เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะเข้ามา ทั้งปัญญาประดิษฐ์ (AI) Big Data คลาวด์และอื่นๆ ท่ามกลางสถานการณ์ COVID-19 นับเป็นความโชคดีที่ประเทศไทยมีวิศวกรเก่งๆ หลายๆ สาขาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศมาร่วมท�ำงานกับทีมแพทย์ เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ มากมาย แต่ก็ยังไม่มากพอเพราะไม่มีใครคาดเดาได้ว่าสถานการณ์ COVID-19 จะสิ้นสุดลงเมื่อใด จึงคาดว่าน่าจะต้องช่วยกันและท�ำงานเป็นทีมต่อไปนับจากนี้อีกอย่างน้อย 1-2 ปี ส�ำหรับ นิตยสาร Construction Thailand ฉบับนี้ น�ำเสนอ “วิศวกรยุคใหม่ พร้อมหลอมรวม องค์ความรู้กับศาสตร์ทุกแขนง หาทางรอดให้ไทยก้าวผ่าน COVID-19” ตามด้วย “ครม. อนุมัติและ รับทราบหลักการร่างพระราชบัญญัติการขนส่งทางราง พ.ศ. .... เพื่อควบคุม-ก�ำกับดูแลขนส่งทางราง ให้เป็นระบบ ยกระดับมาตรฐานขนส่งทางราง”, “สวทช. ผนึกสถาบันวิจยั เทคนิครถไฟประเทศญีป่ นุ่ หนุนพัฒนางานวิจัยนวัตกรรมอุตสาหกรรมระบบรางของไทย”, “รมว.คมนาคม เผยความก้าวหน้า โครงการ Landbridge เน้นพัฒนาเพือ่ ดึงดูดเรือบรรทุกน�ำ้ มันขนาดใหญ่หนั มาใช้เส้นทางในอนาคต”, “บอร์ด ORI ส่ง “บริทาเนีย” เข้าตลาดหุ้น สยายปีกเตรียมยื่นไฟลิ่งไตรมาส 3 นี้ ชูเรือธงขยายธุรกิจ บ้านจัดสรร มุ่งเติบโตระยะยาว” ท้ายนี้ ด้วยความร่วมแรงร่วมใจทั้งสรรพก�ำลังและองค์ความรู้ของทุกภาคส่วน น่าจะช่วยให้ ประเทศไทยก้าวผ่านวิกฤต COVID-19 นี้ ขอทุกท่านอยู่รอดปลอด COVID-19 ครับ

คณะที่ปรึกษา • ศ.อรุณ ชัยเสรี • ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์ • ดร.ประสงค์ ธาราไชย • ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย • รศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย • รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค • รศ. ดร.การุญ จันทรางศุ • รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ • ศ. ดร.สมศักดิ์ ไชยะภินันท์ • ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม • ผไท ผดุงถิ่น

บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา พรเพ็ชร โตกทองค�ำ, มนัส ไชยเพส, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, ศิรภิ รณ์ กลิน่ ขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑ์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Facebook : Construction Thailand

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

www.constructionthailand.net


Vol.1 No.4 July - August 2021

CONTENTS

13

Cover Story

Project

CONSTRUCTION THAILAND

วิศวกรยุคใหม่ พร้อมหลอมรวมองค์ความรู้กับศาสตร์ทุกแขนง หาทางรอดให้ไทยก้าวผ่าน COVID-19

8

• กองบรรณาธิการ

Report

รมว.คมนาคม เผยความก้าวหน้าโครงการ Landbridge เน้นพัฒนาเพื่อดึงดูดเรือบรรทุกน�้ำมันขนาดใหญ่ หันมาใช้เส้นทางในอนาคต • กองบรรณาธิการ

ครม. อนุมัติและรับทราบหลักการร่างพระราชบัญญัติ การขนส่งทางราง พ.ศ. .... เพื่อควบคุม-ก�ำกับดูแล ขนส่งทางรางให้เป็นระบบ ยกระดับมาตรฐานขนส่งทางราง

13

สวทช. ผนึกสถาบันวิจัยเทคนิครถไฟประเทศญี่ปุ่น หนุนพัฒนางานวิจัยนวัตกรรมอุตสาหกรรมระบบรางของไทย

17

Property

19

• กองบรรณาธิการ

Logistics

• กองบรรณาธิการ

8

23

มจธ. น�ำเทคโนโลยี IoT พัฒนาระบบ “คลังสินค้าอัจฉริยะ” รองรับธุรกิจโลจิสติกส์-อีคอมเมิร์ซ เติบโต • กองบรรณาธิการ

• กองบรรณาธิการ

บอร์ด ORI ส่ง “บริทาเนีย” เข้าตลาดหุ้น สยายปีกเตรียมยื่นไฟลิ่งไตรมาส 3 นี้ ชูเรือธงขยายธุรกิจบ้านจัดสรร มุ่งเติบโตระยะยาว

21

23


Cover Story • กองบรรณาธิการ

วิศวกรยุคใหม่

พร้อมหลอมรวมองค์ความรู้กับศาสตร์ทุกแขนง หาทางรอดให้ ไทยก้าวผ่าน COVID-19

“วิศวกร” ถือเป็นวิชาชีพที่หลายคนใฝ่ฝันอยากจะเป็น ทั้ ง ในอดี ต และปั จ จุ บั น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในยุ ค ดิ ส รั ป ชั น เกิดวิกฤต COVID-19 ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาการใช้ชีวิต ในเมือง ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และอื่นๆ อีกมากมาย ซึง่ ส่งผลกระทบต่อการใช้ชวี ติ ของคนเรา ท�ำให้วชิ าชีพ วิศวกรได้รบั การกล่าวถึง ด้วยตลาดแรงงานมีความต้องการวิศวกร รุ่นใหม่ๆ ที่สามารถผสานองค์ความรู้ต่างๆ ร่วมกับวิศวกรอาวุโส สถาปนิก แพทย์ และอาชีพอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ตอบโจทย์ปญ ั หา ท้าทายที่เกิดขึ้น

สภาวิศวกรเปิดรับความคิดคนรุ่นใหม่ ผนึกความรู้ช่วยกันพัฒนาประเทศ

ด้วยเหตุนี้ สภาวิศวกรจึงได้จดั งานเสวนา “วิศวกรยุคดิสรัปชัน กับทางรอดของโลก” เพื่อเป็นอีกหนึ่งเวทีในการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ผ่านมุมมองวิศวกรและคนรุ่นใหม่ เพื่อช่วยกันหา ทางออกในการแก้ปัญหาต่างๆ ร่วมกัน

8

Construction Thailand July • August 2021

การที่สภาวิศวกร และวิศวกรในสังกัดที่มีอยู่ จะด�ำเนินกิจกรรมอื่นใดนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องมีหน่วยงานอื่นๆ และความคิดเห็นของเยาวชน คนรุ่นใหม่ที่จะเป็นอนาคต ของประเทศไทยเข้ามาร่วม แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้วย เพื่อให้กิจกรรมและงานที่ท�ำ ประสบความส�ำเร็จโดยเร็ว เพื่อช่วยลดการสูญเสีย ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน


ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร

ศาสตราจารย์ ดร.สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร กล่าวว่า ในช่วงที่สถานการณ์ไม่ปกติ เกิดวิกฤต COVID-19 สภาวิศวกรซึ่งเป็นนิติบุคคลประเภทสภาวิชาชีพ มีผู้เชี่ยวชาญ ด้านวิศวกรรมศาสตร์หลากหลายสาขาวิชาจะไม่นงิ่ เฉย ตรงกันข้าม จะแสดงข้ อ คิ ด เห็ น ชี้ แ นะ แก่ ภ าคส่ ว นต่ า งๆ ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมา ทางสภาวิศวกรได้น�ำองค์ความรู้มาสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อน�ำไปช่วยพื้นที่ที่ประสบปัญหา COVID-19 ร่วมแก้ปัญหา ฝุ่น PM 2.5 แผ่นดินไหว การเกิดไฟไหม้ การเดินทางไปสู่อวกาศ เพื่อสร้างความมั่นใจในการด�ำรงชีวิตในแต่ละวัน อย่างไรก็ตาม การที่สภาวิศวกรและวิศวกรในสังกัดที่มีอยู่ จะด�ำเนินกิจกรรมอื่นใดนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องมีหน่วยงานอื่นๆ และความคิดเห็นของเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่จะเป็นอนาคตของ ประเทศไทยเข้ามาร่วมแลกเปลีย่ นองค์ความรูด้ ว้ ย เพือ่ ให้กจิ กรรม และงานที่ท�ำประสบความส�ำเร็จโดยเร็ว เพื่อช่วยลดการสูญเสีย ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งนี้ เหล่าวิศวกรอาวุโสควรเปิดใจยอมรับในความรู้ ข้อ เท็จจริงตามสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและสังคมโลก ที่ต้องใช้หลักเหตุผล ความคิดของคนทุกๆ รุ่นมาสังเคราะห์ วิ เ คราะห์ ปั ญ หามู ล เหตุ ข องเรื่ อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะช่ ว งเวลา รวมทัง้ ปรับตัวยอมรับการเปลีย่ นแปลง เปิดรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่จะเข้ามา ทั้งปัญญาประดิษฐ์ (AI) Big Data คลาวด์และอื่นๆ “อย่าอิงข้อมูลและหลักการการท�ำงานแบบเดิมมากจน ละเลยความส�ำคัญของสถานการณ์หน้างานจริงที่ปรับเปลี่ยนได้ ยืดหยุ่นได้ เพื่อร่วมกันสร้างนักคิด นักแก้ปัญหา และองค์ความรู้ ใหม่ๆ มาสร้าง โดยเฉพาะเรื่องระบบเซนเซอร์ที่ยังไม่มีการเปิด การเรียนการสอนในประเทศไทย จะต้องน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ เพือ่ น�ำมาประกอบกับผลิตภัณฑ์ทคี่ ดิ ค้นได้ ในแต่ละปีตอ้ งสูญเสีย

ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสภาวิศวกร

เงินสัง่ ซือ้ เซนเซอร์จากต่างประเทศเข้ามาประกอบผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ปีละจ�ำนวนมาก รวมทั้งการสร้างคนรุ่นใหม่ในทุกๆ สาขาอาชีพ ร่วมท�ำงานไม่มีการแบ่งแยก เพื่อหวังใจว่าการบ่มเพาะเยาวชน รุ่นใหม่ให้เขามีความรู้ความสามารถผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น เปิดเวทีแสดงความสามารถใหม่ๆ การจัดการแข่งขันหุน่ ยนต์ กู้ภัยวัตถุระเบิดและอื่นๆ เพื่อสร้างก�ำลังใจ เชิดชูผลงานของ เยาวชนเหล่านี้ สร้างตัวแทนประเทศในการขับเคลือ่ นประเทศไทย ให้ก้าวหน้าแข่งขันได้กับทุกๆ ประเทศในอนาคต” ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ กล่าว ส�ำหรับปัญหาและอุปสรรคที่ส�ำคัญที่ท�ำให้วิศวกร คน รุน่ ใหม่และหน่วยงานต่างๆ ท�ำงานไม่สำ� เร็จ และไม่สามารถน�ำพา ประเทศให้อยู่รอด เนื่องจากข้อจ�ำกัดในการเข้าถึงทรัพยากร ขาดเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องยังน้อย และมีนักวิจัยพัฒนาผลงานออกมารองรับน้อยมาก จึงอยากให้ รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ ในส่วนดังกล่าวด้วย เพื่อความยั่งยืนในการท�ำงาน และให้เกิด สมดุลในการด�ำเนินการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์

ชูวิศวกรรมชีวการแพทย์ ทางรอดการดูแลสุขภาพรับมือโรคอุบัติใหม่

รศ. ดร.สุธา ขาวเธียร รองเหรัญญิกสภาวิศวกร กล่าวว่า ในต่ า งประเทศมี ส าขาวิ ศ วกรรมชี ว การแพทย์ น านแล้ ว ส�ำหรับประเทศไทยเริ่มมีการด�ำเนินการเรียนการสอนวิศวกรรม ชีวการแพทย์ หรือวิศวกรรมชีวเวช ซึ่งเป็นศาสตร์แขนงใหม่ เชิงสหวิชาการที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างวิศวกรรมศาสตร์ การแพทย์ สาธารณสุข และวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ เพื่อน�ำ ความรู ้ เ หล่ า นี้ ม าประยุ กต์ ใ ช้ ร ่ ว มกั น ในการผลิ ต อุ ป กรณ์ ห รื อ Construction Thailand July • August 2021

9


โชคดีที่ประเทศไทย มีวิศวกรเก่งๆ หลายๆ สาขา จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศมาร่วมท�ำงาน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมากมาย เพื่อใช้แก้ ไขสถานการณ์ COVID-19 แต่ก็ยังไม่มาก เพียงพอ เพราะไม่มีใครคาดเดา สถานการณ์ COVID-19 ได้ว่าจะสิ้นสุดลงเมื่อใด ต้อง ช่วยกันและท�ำงานเป็นทีมต่อไป อย่างน้อย 1-2 ปีนับจากนี้

นวั ต กรรมทางการแพทย์ ใ หม่ ๆ และพยายามที่ จ ะขยายให้ มหาวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนเพิ่มเติม เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ เครื่องมือรองรับทางการแพทย์ ที่ไม่ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ ในราคาที่สูงมาก โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ทั่ ว โลกได้ รั บ ผลกระทบ หาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการแพทย์ ม าสกั ด ป้องกันและยับยั้งเชื้อ COVID-19 ได้ยาก เพราะทุกประเทศ ประสบปัญหาเช่นเดียวกันหมด โดยเฉพาะวัคซีน เข็มฉีดยา ใช้แล้วทิ้ง ยายับยั้งการแพร่กระจายของเชื้อ อุปกรณ์ตรวจอากาศ ผู้ป่วยไร้สัมผัส เป็นต้น “โชคดีที่ประเทศไทยมีวิศวกรเก่งๆ หลายๆ สาขาจาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ทัว่ ประเทศมาร่วมท�ำงาน เพือ่ สร้างผลิตภัณฑ์ ขึ้นมากมาย เพื่อใช้แก้ไขสถานการณ์ COVID-19 แต่ก็ยังไม่มาก เพียงพอ เพราะไม่มใี ครคาดเดาสถานการณ์ COVID-19 ได้วา่ จะ สิ้นสุดลงเมื่อใด ต้องช่วยกันและท�ำงานเป็นทีมต่อไปอย่างน้อย 1-2 ปีจากนี้ นอกจากนี้ปัญหาสภาพแวดล้อมเป็นอีกหนึ่งปัญหา ที่สร้างผลกระทบต่อเนื่อง รวมไปถึงสุขอนามัยทางการแพทย์ เพราะปัญหาสิ่งแวดล้อมจะท�ำให้เกิดผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ เพิ่มขึ้นในทุกๆ ประเทศ ซึ่งยากที่จะแก้ไขให้หมดลงได้ หากไม่ ร่ ว มมื อ ร่ วมใจและความจริง ใจในการท�ำงาน ต่า งคนต่างท�ำ ไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันก็จะท�ำให้ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและปัญหาอื่นๆ ที่มีอยู่ไม่ได้รับการแก้ไข ตรงต้นตอปัญหาที่แท้จริง” รศ. ดร.สุธา กล่าว

10

Construction Thailand July • August 2021

แนะสร้างจิตส�ำนึกถึงผลกระทบเลวร้าย จากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ให้รัฐออกนโยบายแก้ ไขสิ่งแวดล้อมควบคู่กัน

ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสภาวิศวกร กล่าวว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมยากที่จะแก้ไขให้หมดไปได้ เพราะมีหลาย ปัญหาซึ่งล้วนแต่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน โดยเฉพาะการเกิดภาวะ เรือนกระจกและสภาพอากาศที่ร้อนขึ้นทุกๆ ปี ซึ่งมนุษย์เรา เป็นคนกระท�ำที่เร่งให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ ถาโถมเข้ามา หากจะแก้ ต้องเริ่มที่สร้างจิตส�ำนึก สร้างความตระหนัก รวมทั้งมีนโยบาย ภาครัฐมารองรับต่อเนื่อง ให้ทุกคนเห็นถึงผลกระทบที่เลวร้าย จากปัญหาสภาพอากาศเปลีย่ นแปลง สร้างเครือข่ายจากประชาชน สังคม เมือง ประเทศ น�ำไปสู่ระดับสากลร่วมกัน รวมทั้งมองหา ทรัพยากรทางเลือกทีจ่ ะไม่ทำ� ลายธรรมชาติ โดยอาศัยองค์ความรู้ หลักการทางวิศวกรรมเปลี่ยนพลังงานเป็นพลังงานสะอาด เช่น พลังงานสะอาดในรูปโซลาร์เซลล์ สร้างยานยนต์ไฟฟ้ามาใช้แทน รถยนต์ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยพลั ง งานฟอสซิ ล เพราะราคาน�้ ำ มั น ที่แพงขึ้นทุกๆ วัน โดยมองหาทรัพยากรอื่นๆ มาทดแทน สร้าง อุปกรณ์ที่เหมาะสมด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น สร้างแบตเตอรี่ ฝีมอื คนไทย ขายในประเทศและส่งออกไปยังต่างประเทศ รวมทัง้ ตั้งโรงเรียน วิทยาลัยระดับวิชาชีพ มหาวิทยาลัยเฉพาะด้าน เพื่อประโยชน์สูงสุดบนความคุ้มค่าและประชาชนยอมรับ “อย่ารอให้เกิดความเสียหายยากเกินแก้ไข เชื่อว่าถึงจุด จุดหนึ่งการสื่อสารจากภาคส่วนวิศวกร ข้อเรียกร้องจากภาค ประชาชน นักวิชาการ คนรุ่นใหม่และส่วนต่างๆ จะส่งสัญญาณ ถึงรัฐบาลและคนที่วางนโยบาย เพื่อน�ำโจทย์ที่น�ำเสนอตาม ข้อเท็จจริงในสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นในประเทศไปเร่งบรรจุ ในแผนพัฒนาประเทศ เพื่อปรับใช้ต่อไป” ดร.ประเสริฐ กล่าว


ถึงเวลาทุกฝ่ายหลอมรวมความรู้ที่มีอยู่ หาโซลูชนั ทางรอดให้ ไทยก้าวผ่าน COVID-19

ณั ฐ นนท์ ดวงสู ง เนิ น บรรณาธิ ก ารบริ ห ารของ Spaceth.co กล่าวว่า ต้องยอมรับว่าโลก ณ วันนี้ไม่เหมือนเดิม การมีความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ๆ ปรับใช้รว่ มกับ หลักการมีเหตุผล (Logic) ของวิศวกรมีความจ�ำเป็นมากขึ้น ในการหลอมรวมองค์ความรูเ้ พือ่ น�ำมาใช้แก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ กับโลก ใบนี้ และยิ่งในขณะนี้ ปัญหา COVID-19 เป็นปัญหาระดับ นานาชาติ ทีต่ อ้ งอาศัยองค์ความรูห้ ลักวิทยาศาสตร์ในการค้นคว้า หาต้นตอของการแพร่กระจายของไวรัส COVID-19 รวมทั้ง หาทางยับยั้งเชื้อตัวนี้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้น น� ำ หลั กวิ ศ วกรรมศาสตร์ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งของแต่ ล ะสาขามาสร้ า ง ผลิตภัณฑ์ป้องกันการน�ำเชื้อเข้าสู่ร่างกายของคนเรา ทั้งหน้ากาก อนามัย เจลฆ่าเชื้อ อุปกรณ์การช่วยเหลือเบื้องต้นทางการแพทย์ ต่างๆ ร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์ และอื่นๆ อีกมากมาย ล้วนแต่เป็นการท�ำงานที่ต้องร่วมแรงร่วมใจกัน “ในอดีตต้องยอมรับว่า มีการร่วมมือกันท�ำงานน้อยมาก เพราะต่างสาขา ต่างอาชีพ ล้วนมีหน้าที่และความรับผิดชอบ แต่เมื่อมีภารกิจส่วนรวมที่ควรให้ความส�ำคัญและร่วมกันท�ำงาน ทุกๆ คนพร้อมทีจ่ ะเสียสละท�ำงานเพือ่ สังคมส่วนรวมเป็นสิง่ แรก บนพื้นฐานความถูกต้อง หาทางรอดเพื่อประเทศไทยร่วมกัน ทุกๆ คนไม่ได้เก่งและรูไ้ ปทุกเรือ่ ง แต่ฝกึ ฝนและเรียนรูไ้ ด้หากได้รบั โอกาสและการเข้าถึงสิทธิเท่าเทียมกันในทุกๆ เรื่องในสังคมนี้ เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม” “ทุกๆ คนพร้อมเป็นวิศวกร พร้อมสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ตามแนวทางของตนเองเพือ่ น�ำมาช่วยเหลือสังคมไทยและคนไทยได้ รวมทัง้ การถ่ายทอดโอกาสองค์ความรูจ้ ากเมืองสูช่ นบทผ่านระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ไม่จ�ำเป็นต้องพบเจอกันก็ได้ เราใช้ AI ฝีมือ คนไทย ที่ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจง่ายในการสื่อสาร สร้างแชทบอท การเรียนรู้ สร้างกลุ่มการคิดค้นไอเดียนวัตกรรมใหม่ๆ แต่ต้องมี อินเทอร์เน็ต และเครือข่ายภาครัฐที่เสถียรและเข้าถึงทุกๆ พื้นที่ อย่ า งแท้ จริ ง เพื่ อ ร่ ว มแบ่ ง ปั น สร้ า งชุ ม ชนให้ เ ข้ ม แข็ ง รั ก ษา สิง่ แวดล้อม ท�ำให้ประเทศไทยกลับมาน่าอยูอ่ กี ครัง้ ” ณัฐนนท์ กล่าว

ชี้สมาร์ทซิตี้ของไทยมีอุปสรรคเพียบ ไม่คืบหน้า-ไม่อัจฉริยะเท่าต่างประเทศ

กิ ต ติ พ งษ์ วี ร ะโพธิ์ ป ระสิ ท ธิ์ เหรั ญ ญิ ก สภาวิ ศ วกร และประธานอนุกรรมการระบบสารสนเทศ สภาวิศวกร กล่าวว่า ประเทศไทยมีการพัฒนาระบบอัจฉริยะที่จะเข้ามาช่วยให้เกิด ความสะดวกสบาย ให้ทุกๆ คนเข้าถึง ใช้งานได้จริง สอดรับ นโยบายภาครัฐและเทคโนโลยียคุ ใหม่ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2561 เริ่มตั้งแต่หน่วยงาน Depa ซึ่งเป็นหน่วยงานแรก น�ำร่องโครงการ เมืองอัจฉริยะใน 7 จังหวัด ประกอบด้วย กรุงเทพฯ ภูเก็ต

ขอนแก่น เชียงใหม่ และ 3 จังหวัดในพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) ได้แก่ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา จัดให้มี บริการระบบอัจฉริยะภายในพื้นที่ครบทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ Smart Mobility, Smart People, Smart Living, Smart Economy, Smart Governance, Smart Energy และ Smart Environment แต่ยงั ไม่สามารถทีจ่ ะสร้างเมืองให้อจั ฉริยะเทียบเท่าเมืองอัจฉริยะ ในต่างประเทศ เช่น เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และประเทศสิงคโปร์ เพราะยัง ขาดแคลนเทคโนโลยี ระบบการจัดการและทรัพยากรบุคคลที่จะ เข้ามาร่วมท�ำงานในประเทศไทย และความร่วมมือในแต่ละพื้นที่ และความเข้าใจในหลักการสร้างเมืองอัจฉริยะมีอปุ สรรคมากมาย อีกทั้งสภาพเมืองของแต่ละพื้นที่ซับซ้อน ปัญหาที่มีสะสมมา ยาวนานยากทีจ่ ะท�ำให้เป็นเมืองอัจฉริยะภายในเวลาอันรวดเร็วได้ “ดังนั้นการน�ำองค์ความรู้หลักการด้านวิศวกรรมศาสตร์ สถาปนิก การออกแบบผังเมือง รวมทั้งกฎหมายควบคุมเมือง มาใช้ยิ่งต้องกระท�ำในทิศทางที่เหมาะสมและเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน มีระยะเวลาท�ำงานที่ชัดเจน พร้อมเก็บรวบรวมข้อมูล ใน Big Data อย่างเป็นระบบ เพื่อน�ำไปต่อยอดใช้ในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป เช่น การแก้ปัญหาทางเท้าซึ่งก�ำลังเป็นปัญหามาก เพราะ มี ร ถจั ก รยานยนต์ ขั บ ขี่ ท� ำ ลายทางเท้ า หรื อ ฟุ ต บาท ต้ อ งเสี ย งบประมาณซ่อมแซมทุกๆ ปีจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในพื้นที่ กรุ ง เทพมหานคร การน� ำ เสาไฟฟ้ า ออกจากพื้ น ที่ ใ กล้ ส ถานี รถไฟฟ้า แล้วน�ำสายไฟฟ้าลงพื้นดินทั้งหมด รวมทั้งเมืองใหญ่ๆ ในประเทศไทย เพื่อท�ำให้เกิดทัศนียภาพที่สวยงาม ลดมลพิษ ควรมีการน�ำกล้องวงจรปิดทีม่ รี ะบบเซนเซอร์ทถี่ า่ ยภาพคนกระท�ำ ความผิด ขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า แล้วส่งใบเสร็จค่าปรับ ไปถึงบ้านทันที ก็จะช่วยลดการขับขี่บนทางเท้าลงได้ ส่วนระบบ อัจฉริยะอืน่ ๆ ทีร่ วมอยูใ่ นเมืองจะต้องอาศัยผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละด้าน าร่วมท�ำงาน สร้างเมืองที่ฉลาดด้วย AI โดยมีระบบเชื่อมโยง ทุกเรื่องเข้าด้วยกัน” กิตติพงษ์ กล่าว

คณะวิศวฯ มช. ปรับเปลี่ยนหลักสูตร ให้ นศ. เลือกต่อยอดอาชีพตามใจปรารถนา

รศ. ดร.ธงชัย ฟองสมุทร คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) กล่าวว่า ในแต่ละปีมีนักศึกษา เลือกเรียนคณะวิศวกรรมศาสตร์ทมี่ หาวิทยาลัยฯ มากพอสมควร แต่เมือ่ จบมาก็มสี ว่ นหนึง่ ทีไ่ ปประกอบวิชาชีพอย่างอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ เนือ่ งจากสภาพสังคม เศรษฐกิจเปลีย่ นแปลงไป รวมทั้งทัศนคติของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการหาประสบการณ์อาชีพ ใหม่ ๆ ที่ ไ ม่ ต รงกั บ คณะที่ เ ลื อ กเรี ย น ซึ่ ง ทางมหาวิ ท ยาลั ย ฯ พยายามที่จะน�ำสิ่งที่เกิดขึ้นกับนักศึกษารุ่นใหม่มาปรับเปลี่ยน หลักสูตร ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ และ คณะวิทยาศาสตร์ เพือ่ ทีจ่ ะให้นกั ศึกษาทีเ่ รียนคณะวิศวกรรมศาสตร์ Construction Thailand July • August 2021

11


เมื่อเรียนไปแล้วในปีที่ 2 และ 3 สามารถที่จะเลือกต่อยอด เปลีย่ นผ่านว่าเมือ่ เขาจะเลือกไปฝึกงานเลือกสูต่ ลาดแรงงานจะเลือก ประกอบอาชีพอะไร ระหว่างวิศวกรกับอาชีพอื่น เพื่อเลือกอาชีพ ทีเ่ หมาะสม ใจรักและปรับตัวให้ทนั กับความคุม้ ค่าทีเ่ ขาเลือกเรียน ซึ่งเขาจะท�ำได้ดี มากกว่าเรียนด้วยแรงกดดัน ไม่มีความถนัด ปัจจุบัน วิศวกรในตลาดแรงงานที่หางานได้ยากขึ้น เช่น วิศวกรรมเกษตร และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากสภาพ สังคม การเรียนการสอนหลักสูตรที่เปลี่ยนไป ตลาดแรงงานและ นิสติ นักศึกษาในคณะอืน่ ๆ ทีจ่ บออกมามีลกั ษณะการเรียนการสอน บางวิชาที่คล้ายกัน เช่น คณะเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถผลิตบุคลากรออกมาท�ำงาน แทนวิศวกรได้ แต่ก็ใช่ว่าวิศวกรด้านการเกษตรและคอมพิวเตอร์ จะไม่ส�ำคัญ หากมีการปรับตัวและหาความรู้ใหม่ๆ มาเสริมนอก ต�ำราเรียน เช่น คิดค้นนวัตกรรมส�ำหรับท�ำการเกษตรรูปแบบใหม่ ใส่เทคโนโลยี AI ประยุกต์องค์ความรูท้ างด้านวิศวกรรมทีเ่ รียนมา ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยลดต้นทุน ลดแรงงาน และประหยัดเวลา เป็ น ต้ น แต่ ถึ ง อย่างไรวิศ วกรรมศาสตร์ก็ยัง ได้รับความนิยม จากนักเรียน นักศึกษา เป็นล�ำดับต้นๆ ในการตัดสินใจเลือก เรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน

มทร.ขอนแก่น เพิม่ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ สาขาระบบราง รับเทรนด์ตลาดแรงงาน

ปริญ นาชัยสิทธิ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น (มทร.ขอนแก่น) กล่าวว่า สาขาวิศวกรรมศาสตร์หลักๆ อย่างเช่น วิศวกรรมศาสตร์ สาขาไฟฟ้ า วิ ศวกรรมเครื่อ งกล วิศ วกรรมศาสตร์โ ยธาและ วิศวกรรมศาสตร์อุตสาหการ ยังคงได้รับความสนใจเรียนจาก เด็ ก รุ ่ น ใหม่ ๆ เนื่ อ งจากเรี ย นจบออกมาแล้ ว ยั ง มี ง านรองรั บ แต่ในสาขาวิชาอื่นๆ เริ่มมีจ�ำนวนนักศึกษาลดลง ส่วนใหญ่จะ ไปเรียนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและคณะเกษตรศาสตร์ เป็นต้น เมือ่ จบการศึกษาออกไปแล้วจะได้นำ� องค์ความรูท้ เี่ รียนไปช่วยทาง ครอบครัว สานต่อธุรกิจ มีงานรองรับทันทีมากขึ้น ดังนั้น มทร. ขอนแก่น จึงปรับตัวโดยเปิดการเรียนการสอนในสาขาอื่นๆ ที่ ตลาดวิ ศ วกรรมศาสตร์ เ รี ย นแล้ ว ตอบรั บ ความต้ อ งการของ

12

Construction Thailand July • August 2021

นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ ส ามารถท� ำ งานได้ ห ลากหลายมากขึ้ น เช่ น วิศวกรรมศาสตร์ สาขาระบบรางและวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเบียร์ เป็ น ต้ น รวมทั้ ง น� ำ หลั กวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ม าใช้ ใ น การเรียนการสอนวิศวกรรมศาสตร์ควบคู่ไปด้วย

มอ. เผยอยู่ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ต้องปรับตัวรับการเปลีย่ นแปลงมากกว่าพืน้ ทีอ่ นื่

ผศ. ดร.จรีรัตน์ สกุลรัตน์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาวิชาการ และทักษะการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) วิทยาเขตหาดใหญ่ กล่าวว่า ในยุคดิสรัปชันและสถานการณ์ ชายแดนภาคใต้นั้น ท�ำให้ มอ. ต้องปรับตัว สร้างแรงผลักดัน รับการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างมากกว่าในพื้นที่อื่นๆ อีกทั้งมีส่วนที่ เป็นการสร้างแรงผลักดันในการสร้างองค์ความรู้ในพื้นที่ในการ ที่จะน�ำไปใช้เปลี่ยนผ่านสู่อนาคต รับสถานการณ์ในพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะเรื่องการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผลผลิตทางการ เกษตรในพื้นที่ที่มีอยู่จ�ำนวนมาก ทั้งผลไม้ ข้าว ยางพารา ปาล์ม น�ำ้ มันและอืน่ ๆ น�ำออกไปขายสูต่ ลาดภายนอกให้เกิดการยอมรับ สร้างสภาพแวดล้อมที่ให้นิสิตนักศึกษาได้มีการคิดค้นเครื่องมือ นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ประยุกต์ใช้ด้วยองค์ความรู้ที่อิสระ ไม่มีถูกไม่มีผิด บนพื้นฐานการแบ่งปันองค์ความรู้ ถ่ายทอด แก่สังคม ตอบแทนคุณแผ่นดิน ให้อาจารย์เป็นเพียงพี่เลี้ยง คอยชี้ แ นะและประคองนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาในระหว่ า งการสร้ า ง องค์ ค วามรู ้ ก ้ า วข้ า มองค์ ค วามรู ้ เ ดิ ม เพื่ อ มั่ น ใจในศั ก ยภาพ ของตนเอง โดยเชื่ อ ว่ า จะสามารถผลิ ต นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาด้ า น วิศวกรรมศาสตร์ที่มีคุณภาพสู่ตลาดแรงงานเพิ่มมากขึ้น

อย่ารอให้เกิดความเสียหาย ยากเกินแก้ ไข เชื่อว่าถึงจุด จุดหนึ่ง การสื่อสารจาก ภาคส่วนวิศวกร ข้อเรียกร้อง จากภาคประชาชน นักวิชาการ คนรุ่นใหม่และส่วนต่างๆ จะส่งสัญญาณถึงรัฐบาลและ คนที่วางนโยบาย เพื่อน�ำโจทย์ ที่น�ำเสนอตามข้อเท็จจริง ในสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น ในประเทศไปเร่งบรรจุใน แผนพัฒนาประเทศ เพื่อปรับใช้ต่อไป


Report • กองบรรณาธิการ

ครม.อนุมัติและรับทราบหลักการ ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งทางราง พ.ศ. ....

เพื่อควบคุม – ก�ำกับดูแลขนส่งทางรางให้เป็นระบบ ยกระดับมาตรฐานขนส่งทางราง

ในการประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี (ครม.) เมื่ อ วั น ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ที่ มี พล.อ.ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานการประชุ ม ผ่ า นระบบ Video Conference ครม. มีมติอนุมัติและรับทราบหลักการร่างพระราชบัญญัติการขนส่ง ทางราง พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอ ดังนี้ อนุ มั ติ ห ลั ก การร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ก ารขนส่ ง ทางราง พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอ และให้สง่ ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยให้รับความเห็นและข้อสังเกตของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส�ำนักงบประมาณ ส�ำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา และส�ำนักงานศาลยุติธรรม ไปประกอบ การพิ จ ารณา แล้ ว ส่ ง ให้ ค ณะกรรมการประสานงานสภา ผู้แทนราษฎรพิจารณา ก่อนเสนอสภาผู้แทนราษฎรต่อไป รั บ ทราบแผนในการจั ด ท� ำ กฎหมายล� ำ ดั บ รอง กรอบระยะเวลาและกรอบสาระส� ำ คั ญ ของ กฎหมายล� ำ ดั บ รองที่ ต ้ อ งออกตามร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ต ามที่ กระทรวงคมนาคมเสนอ

1.

2.

3.

ให้ ก ระทรวงคมนาคมรั บ ความเห็ น ของส� ำ นั ก งบประมาณและส�ำนักงานอัยการสูงสุดไปพิจารณา ด�ำเนินการต่อไปด้วย ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติที่กระทรวงคมนาคมเสนอ เป็น การก�ำหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางรางของประเทศ ซึ่ ง มี ส าระส� ำ คั ญ เป็ น การก� ำ หนดให้ มี ค ณะกรรมการนโยบาย การขนส่ ง ทางราง การจั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาการขนส่ ง ทางราง หลั ก เกณฑ์ ก ารเสนอโครงการขนส่ ง ทางรางและการด� ำ เนิ น โครงการขนส่งทางราง เขตระบบรถขนส่งทางรางและเขตปลอดภัย ระบบรถขนส่งทางราง การก�ำกับดูแลการประกอบกิจการการ ขนส่งทางราง หลักเกณฑ์การสอบสวนอุบัติเหตุ หลักเกณฑ์ของ ผู้ตรวจการขนส่งทางรางและผู้ประจ�ำหน้าที่ การจดทะเบียนการ ขนส่งทางราง การคุ้มครองผู้โดยสารและผู้ใช้บริการ บทก�ำหนด โทษ และบทเฉพาะกาล เพื่อควบคุมและก�ำกับดูแลกิจการขนส่ง ทางรางให้สามารถยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมขนส่งทางราง และการบริหารจัดการการขนส่งทางรางอย่างเป็นระบบ สอดคล้อง กับการพัฒนาการขนส่งรูปแบบอื่นๆ ให้เป็นโครงข่ายเดียวกัน อย่างสมบูรณ์ Construction Thailand July • August 2021

13


สาระส�ำคัญของร่าง พ.ร.บ. การขนส่งทางราง พ.ศ. ....

ส� ำ หรั บ สาระส� ำ คั ญ ของร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ก ารขนส่ ง ทางราง พ.ศ. .... ประกอบด้วย ก�ำหนดให้มี “คณะกรรมการนโยบายการขนส่ง ทางราง” โดยมี น ายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธาน กรรมการ มีหน้าที่และอ�ำนาจ ดังนี้ 1. ให้ความเห็นชอบแผน การพัฒนาการขนส่งทางรางและโครงการของหน่วยงานของรัฐ ในการประกอบกิจการขนส่ง ทางรางซึ่ง เป็น เจ้า ของโครงการ 2. เสนอแนวทางในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่น ทีไ่ ด้รบั ประโยชน์จากการประกอบกิจการขนส่งทางราง การพัฒนา พื้นที่รอบสถานีต่อคณะรัฐมนตรี การเชื่อมต่อการขนส่งทางราง กับการขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางน�้ำ สถานีขนส่งทางบก ศูนย์กระจายสินค้า ทีพ่ กั สินค้า ท่าเรือบก นิคมอุตสาหกรรม และ ส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ 3. ก�ำหนดอัตราขั้นสูงของค่าโดยสาร ค่าขนส่ง ค่าใช้ประโยชน์ จากรางและทรัพย์สนิ ทีจ่ ำ� เป็นในการประกอบกิจการขนส่งทางราง และค่าธรรมเนียมอื่น รวมถึงก�ำหนดประเภทของบุคคลที่ได้รับ การยกเว้นไม่ต้องช�ำระค่าโดยสาร 4. ให้ความเห็นชอบหลักการ ของร่ า งกฎกระทรวงตามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ นี้ 5. เสนอแนะ รายงานปัญหา และอุปสรรคในการด�ำเนินการ ที่เกี่ยวกับกิจการขนส่งทางรางต่อคณะรัฐมนตรี ก�ำหนดให้กรมการขนส่งทางรางจัดท�ำแผนพัฒนา การขนส่งทางราง โดยให้กรมการขนส่งทางราง มีอ�ำนาจหน้าที่ส�ำรวจพื้นที่เบื้องต้น เพื่อประโยชน์ในการทราบ ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ เพื่อก�ำหนดแนวเส้นทางการ ขนส่งทางรางให้เป็นไปโดยเหมาะสมแก่การบริการสาธารณะ และมีความปลอดภัยแก่ประชาชน และให้เสนอขอความเห็นชอบ

1.

2.

14

Construction Thailand July • August 2021

แผนดังกล่าวต่อคณะกรรมการนโยบายการขนส่งทางรางเพื่อ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีต่อไป ก�ำหนดให้ในการเสนอโครงการเกี่ยวกับการขนส่ง ทางรางให้ เ จ้ า ของโครงการด� ำ เนิ น การดั ง นี้ 1. กรณี ร ถไฟและรถไฟฟ้ า ให้ จั ด ท� ำ รายงานผลการศึ ก ษา ความเหมาะสมของโครงการ และรายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ โครงการ เสนอเรื่องต่อคณะกรรมการ 2. กรณีรถราง ให้จัดท�ำ รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์โครงการเสนอต่อผู้มีอ�ำนาจก�ำกับ ดูแลตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ก่อนเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยและรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงคมนาคม ให้ความเห็นชอบ แล้วเสนอเรือ่ งต่อคณะกรรมการเพือ่ ให้ความเห็น ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ก� ำ หนดให้ ก ารด� ำ เนิ น การโครงการการขนส่ ง ทางราง รัฐอาจให้หน่วยงานของรัฐด�ำเนินการเอง หรื อ อาจให้ มี ก ารด� ำ เนิ น การโดยให้ เ อกชนร่ ว มลงทุ น ได้ แ ก่ 1. ในกรณีที่รัฐให้หน่วยงานของรัฐด�ำเนินการเอง ให้หน่วยงาน ของรัฐที่เป็นเจ้าของโครงการเสนอโครงการเกี่ยวกับการขนส่ง ทางรางต่อคณะรัฐมนตรี โดยมีรายการดังนี้ กรณีรถไฟและ รถไฟฟ้า ได้แก่ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ขอบเขต ของโครงการ ระยะเวลาของโครงการ ประมาณการต้นทุนและ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินโครงการ แหล่งเงินทุนที่ใช้ด�ำเนินการ ผลการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง การจัดให้มีสถานี เชื่อมต่อระหว่างเส้นทางและการใช้สถานีร่วมกับเส้นทางอื่น การจัดให้มสี ถานีสบั เปลีย่ นรถขนส่งทางรางทีเ่ หมาะสม การให้ใช้ เส้นทางร่วมกันกับโครงการเส้นทางอืน่ ระบบตัว๋ ร่วมกับเส้นทางอืน่ กับระบบบริการขนส่งสาธารณะอื่น อัตราค่าโดยสารแรกเข้า และหลักเกณฑ์การขึน้ อัตราค่าโดยสารทีจ่ ดั ให้เป็นระบบเครือข่าย ร่วมกันกับ โครงการเส้นทางอื่น ระบบสาธารณูปโภคและสิ่ง

3.

4.


อ�ำนวยความสะดวกอื่นๆ แก่ผู้ใช้บริการ แผนการพัฒนาพื้นที่ โดยรอบสถานี การเชือ่ มต่อการขนส่งทางรางกับการขนส่งส่วนอืน่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินที่ได้รับ ประโยชน์จากการประกอบกิจการขนส่งทางราง และประโยชน์ อย่างอื่นเพื่อสาธารณะ ส่วนกรณีรถราง ได้แก่ วัตถุประสงค์และ เป้าหมายของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ระยะเวลาของ โครงการ สั ด ส่ ว นการลงทุ น ของรั ฐ และขององค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่น (ถ้ามี) ประมาณการต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการ ด� ำ เนิ น โครงการตลอดระยะเวลาโครงการ แหล่ ง เงิ น ทุ น ที่ ใ ช้ ด� ำ เนิ น การ และผลการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู ้ ที่ เ กี่ ยวข้ อ ง 2. ในกรณีที่รัฐให้มีการด�ำเนินกิจการโดยให้เอกชนร่วมลงทุน ให้ เ จ้ า ของโครงการเสนอโครงการเกี่ยวกับการขนส่งทางราง ที่มีเอกชนร่วมลงทุนต่อคณะรัฐมนตรี โดยนอกจากรายการตาม ข้อ 1 แล้ว ให้มีรายการเพิ่มเติมดังนี้ ระยะเวลาการให้สัมปทาน ความคุ้มค่าในการลงทุน การให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่รัฐ ส่วนแบ่งรายได้ในกรณีทรี่ ายได้ของเอกชนได้เกินกว่าการประมาณการ ในการให้สัมปทาน (ถ้ามี) เอกชนต้องมีคุณสมบัติที่จะได้รับ ใบอนุญาตประกอบกิจการขนส่งทางราง สิทธิของบุคคลสัญชาติ ไทยเป็น ผู้ท�ำงาน การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ในกรณีที่จะต้อง เวนคืนหรือได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) สิทธิในการเชื่อมต่อ โครงข่ายรถไฟหรือรถไฟฟ้า หรือรถราง และเงื่อนไขอย่างอื่น ที่เกี่ยวกับการให้สัมปทานตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง ก�ำหนดให้การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ในกรณี ที่การด�ำเนินการโครงการใดตามแผนพัฒนาการ ขนส่งทางรางจ�ำเป็นต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือก่อให้เกิด ภาระในอสังหาริมทรัพย์ ให้หน่วยงานของรัฐด�ำเนินการดังนี้ 1. ในกรณีทเี่ ป็นรัฐวิสาหกิจทีม่ กี ฎหมายเฉพาะให้ดำ� เนินกิจการ ขนส่งทางราง ให้รฐั วิสาหกิจนัน้ ด�ำเนินการตามหน้าทีแ่ ละอ�ำนาจ ตามกฎหมายเฉพาะนั้น 2. ในกรณีที่เป็นองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ให้กระทรวงมหาดไทยด�ำเนินการเวนคืนตามกฎหมาย ว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึง่ อสังหาริมทรัพย์ หรือด�ำเนินการ ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดหาอสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่ง มวลชน 3. ในกรณีอื่นนอกจาก 1 และ 2 ให้กรมการขนส่ง ทางรางด�ำเนินการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนและ การได้มาซึง่ อสังหาริมทรัพย์ หรือด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย การจัดหาอสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน ก� ำ หนดให้ เ จ้ า ของโครงการก� ำ หนดเขตระบบ รถขนส่งทางรางและเขตปลอดภัยระบบรถขนส่ง ทางราง เพื่อประโยชน์ในการบ�ำรุงรักษาและความปลอดภัยของ การขนส่งทางราง ตลอดจนความปลอดภัยของบุคคลทีอ่ ยูใ่ นระบบ การขนส่งทางราง ทัง้ นี้ การก�ำหนดเขตระบบรถขนส่งทางรางและ เขตปลอดภัยระบบรถขนส่งทางราง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง

5.

6.

7. 8.

ก� ำ หนดให้ ห ้ า มมิ ใ ห้ ผู ้ ใ ดประกอบกิ จ การขนส่ ง ทางราง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากรัฐมนตรี ก�ำหนดให้การเก็บ ค่าโดยสาร ค่าขนส่ง ค่าใช้ ประโยชน์จากรางและทรัพย์สินที่จ�ำเป็นในการ ประกอบกิจการขนส่งทางราง และค่าธรรมเนียมอื่น แต่ต้อง ไม่เกินอัตราขั้นสูงที่คณะกรรมการประกาศก�ำหนด และผู้ได้รับ ใบอนุญาตต้องประกาศให้สาธารณชนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันที่จะบังคับใช้อัตรานั้น ก�ำหนดให้เจ้าของโครงการหรือเอกชนเจ้าของราง หรื อ ทางเฉพาะมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งยิ น ยอมให้ มี ก าร เชือ่ มต่อรางหรือทางเฉพาะเพือ่ การขนส่งร่วมกันเมือ่ มีการร้องขอ โดยปฏิบัติต่อผู้ขอเชื่อมต่อทุกรายอย่างเป็นธรรม สมเหตุสมผล และไม่เลือกปฏิบัติ ก� ำ หนดให้ มี “คณะกรรมการจั ด สรรเวลาการ เดินรถขนส่งทางราง” ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นอีก ไม่เกิน 7 คน จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทางราง อันเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรร เวลาการเดินรถขนส่งทางราง ซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ โดยความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรี โดยให้มีหน้าที่และอ�ำนาจก�ำหนดหลักเกณฑ์ การจัดสรรเวลาการเดินรถขนส่งทางราง ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรเวลาการเดินรถขนส่ง ทางราง เพื่อขอสนับสนุนข้อมูลและความร่วมมือด้านต่างๆ พิจารณาความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ราง และก�ำหนด ให้ผู้จัดการโครงสร้างพื้นฐานด�ำเนินการเพิ่มจ�ำนวนเที่ยวในการ ให้บริการเดินรถขนส่งทางราง ก�ำหนดให้มี “คณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุ ของการขนส่งทางราง” ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ รองประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่ น อีกไม่เกิน 7 คน จากผู้ซึ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ด้านการขนส่งทางราง ด้านวิศวกรรม ด้านวิทยาศาสตร์ ด้าน การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านกฎหมาย หรือด้านอื่นที่เกี่ยวกับ การขนส่ ง ทางรางอั น เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง คณะกรรมการสอบสวนอุ บั ติ เ หตุ ซึ่ ง รั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง โดย ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่และอ�ำนาจก�ำหนด หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารสอบสวนอุ บั ติ เ หตุ อุ บั ติ เ หตุ ร ้ า ยแรง และอุ บั ติ ก ารณ์ ด� ำ เนิ น การสอบสวน วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ความ ปลอดภัยด้านการขนส่งทางราง จัดท�ำรายงานการสอบสวน เสนอแนะมาตรการเชิงป้องกัน จัดท�ำข้อเสนอแนะเพื่อความ ปลอดภัยให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องและติดตามการด�ำเนินการ จัดท�ำ รายงานผลการด�ำเนินการประจ�ำปีเสนอคณะรัฐมนตรีและปฏิบตั ิ หน้ า ที่ อื่ น ตามที่ ก ฎหมายก� ำ หนดหรื อ ตามที่ รั ฐ มนตรี ห รื อ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

9. 10. 11.

Construction Thailand July • August 2021

15


12.

ก�ำหนดให้ “ผู้ตรวจการขนส่งทางราง” มีอ�ำนาจ ตรวจสอบการประกอบกิ จ การขนส่ ง ทางราง ให้ เ ป็ น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ต ามระเบี ย บที่ อ ธิ บ ดี ก� ำ หนด โดยมีหน้าที่และอ�ำนาจเข้าไปในสถานที่ใดๆ ที่ประกอบกิจการ ขนส่งทางรางหรือสถานที่ท�ำการของผู้ได้รับใบอนุญาตเพื่อทราบ ข้อเท็จจริงและเพื่อตรวจสอบบัญชีและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบกิจการขนส่งทางราง ยึดหรืออายัดไว้ซึ่งสิ่งของหรือ เอกสารที่เป็นความผิดหรืออาจใช้เป็นพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ ความผิดหรือได้มาจากการกระท�ำความผิด เข้าไปในขบวนรถ เดินทางไปกับขบวนรถ ระงับการออกเดินทาง หรือกักขบวนรถ สั่งเป็นหนังสือให้ผู้ได้รับใบอนุญาต พนักงาน และลูกจ้างของ ผู้ได้รับใบอนุญาต ปฏิบัติการใดๆ หรืองดเว้นการปฏิบัติการ ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลอื่น หรือสั่งให้มาให้ถ้อยค�ำหรือสั่งให้ยื่นค�ำชี้แจงแสดงข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนดห้ามมิให้ผู้ใดเป็น ผู้ประจ�ำหน้าที่ เว้นแต่ จะได้ รั บ ใบอนุ ญ าตจากนายทะเบี ย นตาม พระราชบัญญัตินี้ หรือมีใบอนุญาตผู้ประจ�ำหน้าที่ ซึ่งออกให้โดย รัฐภาคีแห่งอนุสัญญาหรือรัฐที่ได้ท�ำความตกลงกับประเทศไทย ก�ำหนดห้ามมิให้ผู้ใดน�ำรถขนส่งทางรางที่ไม่ได้ จดทะเบี ย นมาใช้ ใ นการประกอบกิ จ การขนส่ ง ทางราง ก�ำหนดให้มีการคุ้มครองผู้โดยสารดังนี้ 1. ผู้ได้รับ ใบอนุ ญ าตจะเรี ย กเก็ บ ค่ า โดยสาร ค่ า ขนส่ ง ค่าใช้ประโยชน์จากรางและทรัพย์สินที่จ�ำเป็นในการประกอบ กิ จ การขนส่ ง ทางราง และค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น เกิ น กว่ า อั ต ราที่ คณะกรรมการประกาศก�ำหนดมิได้ 2. ผู้ได้รับใบอนุญาตต้อง รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้กับผู้โดยสารเมื่อการเดินรถขนส่ง ทางรางมีเหตุล่าช้าหรือถูกยกเลิก 3. ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องจัด ให้มีการประกันความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ชีวิตและร่างกายของ

13. 14. 15.

16

Construction Thailand July • August 2021

ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการ 4. ผู้ได้รับใบอนุญาตมีหน้าที่จัดให้มี สิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะ ผู้ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ และเด็ก ให้มีความเหมาะสม แก่การใช้บริการของการประกอบกิจการขนส่งทางราง ก�ำหนดให้ในกรณีที่ผู้โดยสาร ผู้ใช้บริการ หรือ บุคคลอื่น ได้รับความเดือดร้อนจากการประกอบ กิจการขนส่งทางรางให้มสี ทิ ธิรอ้ งเรียนต่ออธิบดี และให้อธิบดีหรือ ผูท้ อี่ ธิบดีมอบหมายด�ำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงและให้มคี ำ� สัง่ โดยเร็ว ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับเรื่องร้องเรียน และให้สั่งผู้ได้รับใบอนุญาตด�ำเนินการแก้ไขความเดือดร้อนของ ผู้ร้องเรียนภายในระยะเวลาที่อธิบดีก�ำหนด ก�ำหนดให้ในกรณีที่การกระท�ำความผิดใดมีบท ก�ำหนดโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้ หาก เป็นการกระท�ำความผิดของผู้ประจ�ำหน้าที่ ผู้ได้รับใบอนุญาต กรรมการหรือผู้มีอ�ำนาจจัดการแทนผู้ได้รับใบอนุญาต ให้การ กระท� ำ ความผิ ด นั้ น อาจถู ก ด� ำ เนิ น มาตรการลงโทษปรั บ ทางปกครองได้ ก�ำหนดให้ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข ประกาศการก่อสร้าง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิง่ ปลูกสร้างอย่างอืน่ ทีม่ ผี ลกระทบต่อการขนส่งทางรางหรือ หลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดให้การกระท�ำใดๆ ที่อาจท�ำให้เกิดอันตราย หรือเป็นอุปสรรคแก่การขนส่งทางราง ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ก�ำหนดให้บรรดาอ�ำนาจ สิทธิ และประโยชน์ที่ การรถไฟแห่ ง ประเทศไทยมี อ ยู ่ ต ามกฎหมาย ว่าด้วยการรถไฟแห่งประเทศไทยและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน แห่งประเทศไทยมีอยู่ตามกฎหมายว่าด้วยการรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย ให้ยังคงมีอยู่ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ง กับพระราชบัญญัตินี้

16. 17. 18. 19.


Report • กองบรรณาธิการ

สวทช. ผนึกสถาบันวิจยั

เทคนิครถไฟ ประเทศญี ป ่ น ่ ุ หนุนพัฒนางานวิจัยนวัตกรรม อุตสาหกรรมระบบรางของไทย

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่ ง ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดพิธี ลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อความร่วมมือด้าน เทคนิค (Memorandum of Understanding (MoU) : Technical Cooperation) ระหว่าง สถาบันวิจัยเทคนิครถไฟประเทศญี่ปุ่น (Railway Technical Research Institute : RTRI) และ สวทช. ผ่านระบบออนไลน์ โดยมี ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู ้ อ� ำ นวยการ สวทช. ดร.อิ คุ โ อะ วาตานาเบะ (Dr.Ikuo Watanabe) ประธานสถาบั น วิ จั ย เทคนิครถไฟประเทศญี่ปุ่น ดร.เอกรัตน์ ไวยนิตย์ ผู ้ อ� ำนวยการศู น ย์ วิ จั ย เทคโนโลยี ร ะบบรางและ การขนส่งสมัยใหม่ สวทช. และ ดร.เทตสุโอะ อุซกุ ะ (Dr.Tetsuo Uzuka) ผู ้ อ� ำ นวยการทั่ ว ไปฝ่ า ย ต่างประเทศ สถาบันวิจัยเทคนิครถไฟประเทศ ญี่ปุ่น เข้าร่วมในพิธีลงนาม และได้รับเกียรติจาก โฮโซโนะ เคสุ เ กะ (Mr.Hosono Keisuke) เลขานุการเอกด้านดิจิทัล สารสนเทศ เทคโนโลยี การสื่ อ สาร วิ ท ยาศาสตร์ และนวั ต กรรม สถานเอกอั ค รราชทู ต ญี่ ปุ ่ น ประจ� ำ ประเทศไทย ร่ ว มแสดงความยิ น ดี ณ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ประเทศไทย จ.ปทุมธานี โดยบันทึกความเข้าใจฯ ดังกล่าวมีเป้าหมาย เพื่อผลักดันการร่วมมือวิจัยและพัฒนา การสร้าง นวั ต กรรม การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี การพั ฒนา บุคลากร และการเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ต่อการยกระดับคุณภาพของระบบขนส่งทางราง รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถให้กับอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย ภายใต้ความร่วมมือระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2567 Construction Thailand July • August 2021

17


ดร.อิคุโอะ วาตานาเบะ ประธานสถาบันวิจัยเทคนิครถไฟประเทศญี่ปุ่น

โฮโซโนะ เคสุเกะ เลขานุการเอกด้านดิจิทัล สารสนเทศ เทคโนโลยีการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรม สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจ�ำประเทศไทย

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. และ RTRI ได้ท�ำงาน ร่วมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 โดย RTRI ได้ให้การสนับสนุนการจัดฝึกอบรม “หลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.)” รวมถึงการร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมวิชาการและนิทรรศการ “อุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (The Thai Rail Industry Symposium and Exhibition : RISE) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนน�ำมาสู่พิธีการลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อความร่วมมือด้าน เทคนิคในครั้งนี้ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างและขยายความร่วมมือของสองหน่วยงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการวิจยั และพัฒนา การสร้างนวัตกรรม และการพัฒนา บุคลากรวิจยั ซึง่ เป็นพันธกิจของ สวทช. และเป็นกลไกส�ำคัญต่อการขับเคลือ่ น และพัฒนาประเทศตามนโยบายภาครัฐ ที่จะท�ำให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง ด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ของอาเซียน รวมถึงการสร้างความยั่งยืนให้กับ ภาคอุ ต สาหกรรมในประเทศ พร้ อ มกั บ กระชั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ดร.อิคโุ อะ วาตานาเบะ ประธานสถาบันวิจยั เทคนิครถไฟประเทศญีป่ นุ่ กล่าวว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่ส�ำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และ สวทช. เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทส�ำคัญด้านการวิจัยและพัฒนา ระบบรางในประเทศไทย ดังนั้นการลงนามบันทึกความเข้าใจฯ ระหว่าง RTRI และ สวทช. จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง นอกเหนือจากความร่วมมือทางด้าน การวิจัยและพัฒนาที่จะด�ำเนินการกันแล้ว RTRI ยังสนับสนุนการประยุกต์ใช้

18

Construction Thailand July • August 2021

เทคโนโลยีที่น�ำไปสู่การยกระดับมาตรฐานด้านการ ขนส่งระบบรางในกลุ่มประเทศเอเชียด้วย โฮโซโนะ เคสุเกะ เลขานุการเอกด้านดิจิทัล สารสนเทศ เทคโนโลยีการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรม สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจ�ำ ประเทศไทย กล่าวว่า ระบบการขนส่งทางรางเป็น โครงสร้ า งพื้ น ฐานส� ำ คั ญ ที่ ส นั บ สนุ น การพั ฒ นา คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนไทย ซึ่งประเทศไทยได้มี ความก้าวหน้าในระบบขนส่งทางรางอย่างชัดเจน จะเห็นได้จากมีการเปิดการเดินรถไฟสายใหม่ทุกปี และได้ใช้เทคโนโลยีรถไฟของประเทศญีป่ นุ่ ในระบบ รถไฟฟ้ า ชานเมื อ งทั้ ง สายสี ม ่ ว งและสายสี แ ดง สถานเอกอั ค รราชทู ต ญี่ ปุ ่ น ประจ� ำ ประเทศไทย จึงขอแสดงความยินดีกับ RTRI และ สวทช. ที่จะ มีความร่วมมือในด้านระบบขนส่งทางราง ผ่านบันทึก ความเข้าใจฯ นึ้ สวทช. ได้เล็งเห็นและให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมรองรับความต้องการ ใช้งานในระบบขนส่งทางรางมาโดยตลอด จึงได้จดั ตัง้ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีระบบรางและการขนส่งสมัย ใหม่ (Rail and Modern Transports Research Center : RMT) ซึง่ เป็นหน่วยงานในรูปแบบศูนย์วจิ ยั และพัฒนาเฉพาะทาง (Focus Center) ในปี พ.ศ. 2563 เพื่อรับผิดชอบด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาที่มี เป้าหมายในการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความพร้อม ส�ำหรับใช้งานในภาคอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง และการขนส่งสมัยใหม่ อาทิ การพัฒนาเทคโนโลยี การซ่อมบ�ำรุงเชิงคาดการณ์ การพัฒนาเทคนิคการ ตรวจสอบแบบอัตโนมัติส�ำหรับรถไฟ การพัฒนา เทคโนโลยีการผลิตชิน้ ส่วนทดแทนเพือ่ การใช้งานใน รถไฟ และการสร้างฐานข้อมูลเพื่อการวางแผนซ่อม บ�ำรุงรถไฟ รวมถึง การพัฒนาเทคโนโลยีการขนส่ง เชื่อมต่อเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้โดยสาร ที่ต้องการเข้าสู่การใช้งานระบบขนส่งทางรางหลัก ในส่ ว นของมาตรฐานและการทดสอบ สวทช. ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบที่ มี ขี ด ความสามารถ ด้ า นการทดสอบและตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ สินค้าให้กับผู้ผลิตชิ้นส่วน ผู้สร้างระบบ และผู้ให้ บริ ก ารเดิ น รถไฟในประเทศ ให้ เ ป็ น ไปตาม มาตรฐานสากล เพือ่ รองรับโครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของระบบขนส่งทางรางของประเทศทั้งในปัจจุบัน และอนาคต


Property • กองบรรณาธิการ

แกรนด์ บริทาเนีย ราชพฤกษ์ พระราม 5

บอร์ด ORI ส่ง “บริทาเนีย”

เข้าตลาดหุ้น สยายปีก เตรียมยื่นไฟลิ่งไตรมาส 3 นี้ ชูเรือธงขยายธุรกิจบ้านจัดสรร มุ่งเติบโตระยะยาว พีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ORI

“ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้” เผยบอร์ดอนุมัติ “บริทาเนีย” บริษัทในเครือ ซึ่งเป็นผู้พัฒนาบ้านจัดสรร เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ พร้อม ยื่นไฟลิ่งไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2564 จ่อเสนอขายหุ้น IPO หวังเพิ่มความ คล่องตัวในการเติบโตในธุรกิจที่อยู่อาศัยแนวราบ รวมถึงบ้านจัดสรรและ สร้างความยั่งยืนระยะยาว หลังก่อตั้งไม่ถึง 5 ปี พัฒนาโครงการสะสม ต่อเนื่องถึงประมาณ 19,500 ล้านบาท พี ร ะพงศ์ จรู ญ เอก ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท ออริ จิ้ น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ORI ผู้พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ครบวงจร กล่าวว่า ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ได้มีมติอนุมัติแผนการน�ำ บริษัท บริทาเนีย จ�ำกัด (“BRI”) ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยของบริษัท ที่ถือหุ้นอยู่ 99.99% ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว เพือ่ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คาดการณ์กำ� หนดการ ยื่นแบบค�ำขอและร่างหนังสือชี้ชวนภายในไตรมาส 3 ของปี พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564 ได้มีมติอนุมัติแผนการออกและเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ของ BRI ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) และการนํา BRI เข้าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“แผนการ Spin-Off”) ภายใต้แผนการ Spin-Off ในครั้งนี้ BRI คาดว่าจะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชน ทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) และผู้ลงทุนประเภทอื่นๆ รวมทั้งเสนอขายหุ้น และใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ซึ่งมีหุ้นที่จัดสรรไว้รองรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือพนักงานของ BRI และ/หรือ บริษัทย่อยของ BRI (“ESOP Warrant”) การเสนอขายหุ้นให้แก่กรรมการ ผู้บริการ และ/หรือพนักงานของ ORI และผู้ถือหุ้นสามัญของ ORI ตามสิทธิ Construction Thailand July • August 2021

19


(Pre-emptive) รวมทั้งหมดคิดเป็นจ�ำนวนไม่เกิน 30% ของทุนช�ำระแล้วทั้งหมดของ BRI ภายหลัง การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนทั่วไป เป็นครั้งแรก (IPO) และหลังการใช้สิทธิ ESOP Warrant (ภายใต้ ส มมติ ฐ านว่ า มี ก ารจองซื้ อ หุ ้ น สามัญเพิ่มทุนและการใช้ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทั้งจ�ำนวน) การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชน ทั่ ว ไปดั ง กล่ า ว ส่ ง ผลให้ สั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ของ บริษัท ใน BRI ลดลงจากเดิม 100% เป็นไม่ต�่ำกว่า 70% ของทุ น ชํ า ระแล้ ว ภายหลั ง การเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) (ภายใต้สมมติฐานว่ามีการจองซื้อหุ้นสามัญ เพิ่ ม ทุ น และการใช้ ต ามใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ทั้ ง จ�ำนวน) โดย BRI จะยังคงมีสถานะเป็นบริษัทย่อย ของบริษัทฯ เช่นเดิมต่อไป พี ร ะพงศ์ กล่ า วว่ า การอนุ มั ติ แ ผนการ Spin-Off ของ BRI ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยในเครือออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ ในครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อให้ BRI เป็น บริษัทแกนน�ำหลัก (Flagship Company) ของกลุ่ม ORI ในการด�ำเนินธุร กิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทที่อยู่อาศัยแนวราบในประเทศไทย รวมทั้ง เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน พร้อมเพิม่ ความ คล่องตัวในการขยายธุรกิจ ทั้งนี้ นับแต่ก่อตั้งบริษัท

20

Construction Thailand July • August 2021

บริทาเนีย จ�ำกัด ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2560 บริษัทฯ มีศักยภาพในการเติบโต อย่างก้าวกระโดด จนปัจจุบันสามารถพัฒนาธุรกิจบ้านจัดสรรครอบคลุม ทุกเซ็กเมนต์ ได้แก่ เบลกราเวีย (Belgravia) บ้านเดี่ยวระดับลักชัวรี่ แกรนด์ บริทาเนีย (Grand Britania) บ้านเดี่ยวและบ้านแฝด บริทาเนีย (Britania) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์โฮม และไบรตัน (Brighton) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์โฮม และมียอดพัฒนาโครงการสะสมถึงปัจจุบันทั้งสิ้น 15 โครงการ มูลค่ารวมประมาณ 19,500 ล้านบาท ขณะเดียวกัน BRI ยังมีความเข้าใจในความต้องการเชิงลึก (Insight) ของ ผู้บริโภค เพื่อน�ำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการให้สามารถตอบโจทย์รูปแบบ การใช้ชีวิตของลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งคุณภาพ การออกแบบ ท�ำเล และ บริการหลังการอยูอ่ าศัย ประกอบกับการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ท�ำให้ ผู้บริโภคต้องการพื้นที่ใช้สอยมากขึ้น ส่งผลให้บ้านจัดสรรเป็นสินค้าที่มีความ ต้องการและเติบโตสูงขึ้น แม้ในยามที่ภาคเศรษฐกิจได้รับแรงกดดัน บริษัทฯ จึงเล็งเห็นโอกาสในการปรับโครงสร้างการบริหารธุร กิจให้มีความชัดเจน คล่องตัว เพื่อเตรียมขยายธุรกิจเชิงรุกจากความสามารถในการระดมทุนและ เข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อสร้างการเติบโตที่เป็นไปตามปกติของธุรกิจ (Organic Growth) และการเติบโตแบบก้าวกระโดด (Inorganic Growth) “แผนการ Spin-Off เพื่อน�ำ BRI เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ครัง้ นี้ จะช่วยส่งเสริมชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ของบริทาเนียให้เป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ รวมถึงเพิม่ โอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิม่ เติม ส�ำหรับต่อยอดสูก่ ารพัฒนา โครงการใหม่ๆ ในอนาคต ทั้งยังเอื้อต่อการแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจที่จะ เข้ามาเสริมความแข็งแกร่ง สามารถขยายธุรกิจบ้านจัดสรรให้ครอบคลุมความ ต้องการของตลาดยิ่งกว่าเดิม ซึ่งจะช่วยผลักดัน ผลประกอบการของบริษัทฯ ให้มีแนวโน้มที่ดีและสร้างความมั่นคงในระยะยาว” พีระพงศ์ กล่าวสรุป


Project • กองบรรณาธิการ

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

รมว. คมนาคม เผยความก้าวหน้า

โครงการ Landbridge เน้นพัฒนาเพื่อดึงดูดเรือบรรทุกน�้ำมัน ขนาดใหญ่ หันมาใช้เส้นทางในอนาคต

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม เป็ น ประธานประชุ ม ติดตามความก้าวหน้าโครงการศึกษาความ เหมาะสม ออกแบบเบื้ อ งต้ น ประเมิ น ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และวิเคราะห์รูปแบบ โมเดลการพั ฒ นาการลงทุ น (Business Development Model) โครงการพั ฒนา โครงสร้า งพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง เพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เชื่อมโยง การขนส่ ง ระหว่ า งอ่ า วไทยและอั น ดามั น (Landbridge) ผ่ า นการประชุ ม ทางไกล (Video Conference) ด้วยระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมี ชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม นพิศกั ดิ์ จิตวิรยิ ะวศิน รองปลัดกระทรวง (หัวหน้ากลุ่มภารกิจการ พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นทางหลวง) สรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ รองปลัดกระทรวง (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง) ปัญญา ชูพานิช ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานนโยบายและ แผนการขนส่งและจราจร หัวหน้าหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงคมนาคมทีเ่ กีย่ วข้อง ผูแ้ ทน กรมทางหลวง กรมเจ้าท่า และการท่าเรือ แห่งประเทศไทย เข้าร่วมประชุมเมื่อเร็วๆ นี้

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ กล่าวภายหลังการประชุมติดตามความก้าวหน้า โครงการว่า ที่ประชุมรับทราบความก้าวหน้าการศึกษาโครงการ โดยมีความ ก้าวหน้าที่ส�ำคัญคือ การคัดเลือกต�ำแหน่งท่าเรือที่เหมาะสมของฝั่งอ่าวไทย และฝั่งอันดามัน โดยพิจารณาจากเกณฑ์การคัดเลือกที่ตั้งท่าเรือ ในด้าน วิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการลงทุน และด้านสังคม โดยคัดเลือกพื้นที่ ศักยภาพที่มีความเหมาะสมที่จะพัฒนาเป็นท่าเรือแห่งใหม่ของประเทศไทย รองรับเรือขนส่งสินค้าจากฝั่งอ่าวไทย จังหวัดชุมพร และฝั่งอันดามัน จังหวัด ระนอง ซึ่ ง นอกจากจะเป็ น ต� ำ แหน่ ง ที่ เ หมาะสมในการพั ฒนาท่ า เรื อ แล้ ว แนวเส้นทางเชื่อมต่อทั้ง 2 ท่าเรือ ต้องมีระยะทางที่สั้นและตรงที่สุด รวมถึง ประหยัดเวลาในการเดินทางมากทีส่ ดุ ยังส่งผลดีในการดึงดูดให้ผปู้ ระกอบการ เข้ามาใช้เส้นทางขนส่ง Landbridge ในอนาคต โดยจะท�ำการศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม รวมถึงแนวทางในการพัฒนา พื้นที่หลังท่าเรือให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ สอดคล้องกับต�ำแหน่งท่าเรือ และแนวเส้นทางครอบคลุมครบทุกมิติ และน�ำต�ำแหน่งที่ตั้งท่าเรือทั้ง 2 ฝั่ง

Construction Thailand July • August 2021

21


ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน เพือ่ พิจารณาผลตอบรับจากประชาชนในพืน้ ทีต่ อ่ ไป นอกจากนี้จากการศึกษารูปแบบและปริมาณ การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพบว่า การขนส่ง สินค้าทางทะเลมีมากถึง 80% ของการขนส่งสินค้า ของโลก หรือคิดเป็นปริมาณสินค้าเท่ากับ 11.1 พันล้านตัน และมีการขนส่งผ่านช่องแคบมะละกา มากถึง 1 ใน 4 ของการขนส่งสินค้าทางทะเลของ โลก โดยหนึ่งในประเภทสินค้าที่มีการขนส่งทาง ช่ อ งแคบมะละกามากที่ สุ ด คื อ การขนส่ ง สิ น ค้ า ประเภทน�้ำมัน (Tanker) ซึ่งการพัฒนาเพื่อดึงดูด ให้เรือขนส่งน�้ำมันขนาดใหญ่และเรือขนส่งสินค้า หันมาใช้เส้นทาง Landbridge ในอนาคต จะเป็น โจทย์ส�ำคัญของการศึกษาโครงการ เพื่อยกระดับ ประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางน�้ำ ของภูมิภาคอาเซียน ทั้ ง นี้ กระทรวงคมนาคมได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการขั บ เคลื่ อ นโครงการพั ฒ นาระเบี ย ง เศรษฐกิจภาคใต้ เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่าง อ่ า วไทยกั บ อั น ดามั น และคณะอนุ ก รรมการ ทีเ่ กีย่ วข้องด้านต่างๆ ประกอบด้วย ด้านการพัฒนา ท่าเรือและด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ ด้าน การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษ รถไฟเชื่อม ท่าเรือ และการขนส่งทางท่อ ด้านการร่วมลงทุน ระหว่างรัฐและเอกชนและกฎหมาย และด้านการ

22

Construction Thailand July • August 2021

สื่อสารสาธารณะ เพื่อให้การด�ำเนินโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เชื่ อ มโยงการขนส่ ง ระหว่ า งอ่ า วไทยและอั น ดามั น ของกระทรวงคมนาคม เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ก ารบู ร ณาการความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง และเกิดผลส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายของรัฐบาลในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามัน นอกจากนี้ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงคมนาคมได้ ม อบหมายให้ คณะท�ำงานศึกษาเพิม่ เติมถึงปัจจัยทีจ่ ะส่งเสริมให้สายการเดินเรือต่างๆ มาใช้ บริการโครงการ Landbridge ได้ รวมถึงให้พิจารณาการเพิ่มของปริมาณการ น� ำ เข้ า -ส่ ง ออกทางน�้ ำ ภายหลั ง จากมี ก ารพั ฒนาโครงการพั ฒนาระเบี ย ง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) รวมถึงเปรียบเทียบแนวทางเลือกการเชื่อมต่อระหว่างฝั่งอ่าวไทยกับ ฝั่งอันดามัน ระหว่างการท�ำอุโมงค์แยกระหว่างรถไฟกับรถยนต์ และการ ท�ำอุโมงค์รวมทั้งรถไฟและรถยนต์ โดยเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ให้รอบด้าน ตลอดจนศึกษาการพัฒนาพื้นที่หลังท่า ให้ค�ำนึงถึงชุมชน วิถีชีวิต และปัจจัย ต่างๆ อย่างรอบด้านด้วย


Logistics • กองบรรณาธิการ

มจธ. น�ำเทคโนโลยี IoT พัฒนาระบบ “คลังสินค้าอัจฉริยะ” รองรับธุรกิจ โลจิสติกส์-อีคอมเมิร์ซ เติบโต

ศู น ย์ น วั ต กรรมโลจิ ส ติ ก ส์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) พัฒนาระบบคลังสินค้าอัจฉริยะ (Smart Warehouse) ฝีมือคนไทย 100% โดยน�ำหลักการ โลจิสติกส์มาใช้ร่วมกับเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) อัปเกรดเครื่องมือเก่าในคลังสินค้าให้เป็นดิจิทัล เก็บข้อมูลสต็อก และท� ำ งานผ่ า นระบบเซนเซอร์ อั จ ฉริ ย ะ ลดขั้ น ตอนและข้ อ ผิดพลาดในการเก็บ-ส่งสินค้า เสริมศักยภาพภาคอุตสาหกรรม และผู้ประกอบการ โดยเฉพาะธุรกิจโลจิสติกส์และอีคอมเมิร์ซ ให้เติบโต พร้อมแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ ที่ส�ำคัญมีราคา ถู ก กว่ า น� ำ เข้ า จากต่ า งประเทศกว่ า 10 เท่ า เพิ่ ม โอกาสให้ ผูป้ ระกอบการไทยเข้าถึงเทคโนโลยีงา่ ยขึน้ คาดพัฒนาระบบเสร็จ พร้อมส่งต่อให้ผู้ประกอบการในอีก 2 เดือนข้างหน้านี้ ผศ. ดร.กานดา บุญโสธรสถิตย์ หัวหน้าศูนย์นวัตกรรม โลจิ ส ติ ก ส์ ประธานหลั ก สู ต รการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละ ซัพพลายเชน บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ. และหัวหน้าโครงการวิจัยคลังสินค้าอัจฉริยะ กล่าวว่า จุดเด่น ของระบบคลังสินค้าอัจฉริยะทีพ่ ฒ ั นานี้ คือการน�ำแนวคิดของ IoT (Internet of Things) มาประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนเครื่องมือ Construction Thailand July • August 2021

23


คลังสินค้าอัจฉริยะจะเป็นประโยชน์ โดยตรงต่อธุรกิจโลจิสติกส์ ไทย ซึ่งปีที่ผ่านมามีการเติบโตกว่า 30% และท�ำให้ธุรกิจเช่าคลังสินค้าเติบโตขึ้นด้วย โดยคาดว่าความต้องการเช่าพื้นที่ คลังสินค้าจะมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง เฉลี่ย 5.7% ในช่วง 3 ปีข้างหน้า ซึ่งเป็น ผลมาจากการเติบโตแบบก้าวกระโดด ของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ

ดัง้ เดิมทีใ่ ช้งานอยูแ่ ล้วในคลังสินค้า เช่น รถลากพาเลต (Hand Lift) และรถยกสูง (Stacker) ให้กลายเป็นรถที่ท�ำงานด้วยระบบ อัตโนมัติ และพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ส�ำหรับควบคุม แสดงผล และสั่งงานผ่านแทบเล็ตที่ติดตั้งไว้บนตัวรถ ขณะที่ข้อมูลสินค้า ทั้งประเภท จ�ำนวน และสถานที่จัดเก็บ จะมีการรับรอง ประมวล ผล และส่งกลับด้วยกลุ่มเทคโนโลยีเซนเซอร์แบบผสมผสาน ที่ อ อกแบบตามลั ก ษณะของสิ น ค้ า และอุ ป กรณ์ เ ดิ ม จดจ� ำ พฤติกรรมการเข้า-ออกของสินค้า และการท�ำงานของผูป้ ฏิบตั งิ าน ท�ำให้การท�ำงานภายในคลังสินค้าเป็นไปตามระบบที่ออกแบบไว้ ลดความซับซ้อนและภาระงานให้กับเจ้าหน้าที่ รวมทั้งยังลดงาน ด้านเอกสารไปได้เกือบทั้งหมด เพราะข้อมูลกระดาษถูกเปลี่ยน เป็นข้อมูลดิจิทัลที่เรียลไทม์และมีคุณภาพมากขึ้น “ระบบ Smart Warehouse เป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่าง ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ โดยน�ำฮาร์ดแวร์หรือเครื่องมือเดิมมา ผูกกับซอฟต์แวร์ที่เราออกแบบขึ้นมาใหม่ ท�ำให้ผู้ประกอบการ ไม่จำ� เป็นต้องโละของเก่าทิง้ หรือเปลีย่ นแปลงทัง้ ระบบ แต่เป็นการ น�ำเทคโนโลยีมาปรับให้เครื่องมือและคลังสินค้ามีความทันสมัย ช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้เจ้าหน้าที่ โดยระบบนี้จะเข้ามาท�ำให้ ขัน้ ตอนต่างๆ ตัง้ แต่รบั สินค้าเข้าคลัง ตรวจสอบความถูกต้องของ ประเภทและจ�ำนวน จัดเก็บ โยกย้าย และขนส่ง เป็นไปอย่าง

24

Construction Thailand July • August 2021

ไหลลื่น มีประสิทธิภาพ ลดความผิดพลาด ท�ำงานได้รวดเร็วขึ้น และหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น วางสินค้าผิดต�ำแหน่ง หรือ สินค้าขาดหาย จะมีสัญญาณแจ้งเตือนทันที” ผศ. ดร.กานดา กล่าว ปัจจุบันประเทศไทยมี Smart Warehouse เพียง 5% ทีเ่ หลืออีก 95% ยังเป็นแบบดัง้ เดิม เนือ่ งจากต้นทุนในการน�ำเข้า ระบบจากต่างประเทศมีราคาสูงถึงหลัก 100 ล้านบาท แต่ การพัฒนาระบบคลังสินค้าอัจฉริยะของศูนย์นวัตกรรมโลจิสติกส์ มจธ. ช่วยลดต้นทุนเหลือเพียง 7 ล้านบาทเท่านั้น ทั้ ง นี้ หากสามารถผลั ก ดั น ให้ ผู ้ ป ระกอบการหรื อ ภาค อุตสาหกรรมไทย เปลี่ยนระบบคลังสินค้าให้ทันสมัยขึ้น จะช่วย ลดต้ น ทุ น ด้ า นเอกสาร สามารถบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ ภ ายใน คลังสินค้าให้จัดเก็บสินค้าได้เพิ่มมากขึ้น ขนส่งรวดเร็วขึ้น ทั้งยัง ลดความผิดพลาดในการขนส่งสินค้าสู่ผู้ซื้อ คลังสินค้าอัจฉริยะจะเกิดประโยชน์โดยตรงต่อธุรกิจโลจิสติกส์ ไทย ซึ่งปีที่ผ่านมามีการเติบโตกว่า 30% และท�ำให้ธุรกิจเช่าคลัง สินค้าเติบโตขึ้นด้วย โดยคาดว่าความต้องการเช่าพื้นที่คลังสินค้า จะมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องเฉลี่ย 5.7% ในช่วง 3 ปีข้างหน้า ซึง่ เป็นผลมาจากการเติบโตแบบก้าวกระโดดของธุรกิจอีคอมเมิรซ์ โครงการระบบคลั ง สิ น ค้ า อั จ ฉริ ย ะ ผลงานวิ จั ย โดย ผศ. ดร.กานดา บุญโสธรสถิตย์ ร่วมกับ รศ. ดร.ราชวดี ศิลาพันธ์ จากภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม มจธ. และ วรวิทย์ พันธุป์ ญ ั ญาเทพ จากสถาบันวิทยาการหุน่ ยนต์ภาคสนาม มจธ. ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับบริษัท อาซาฮี-ไทย อัลลอย จ�ำกัด ใช้ระยะเวลาวิจัย และพัฒนาระบบประมาณ 1 ปี คาดว่าจะส�ำเร็จพร้อมส่งต่อ เทคโนโลยีให้ผู้ประกอบการที่สนใจช่วงเดือนกันยายน ศกนี้


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.