Engineering Today No.178 (Issue Jul-Aug 2020)

Page 1












EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธ์กิจ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ โรงพิมพ์ หจก. รุ่งเรืองการพิมพ์ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

นักวิจัยไทย-เทศเผยความคืบหน้าการผลิตวัคซีน ป้องกัน COVID-19 คาดผลิตใช้จริงต้นปีหน้า เป็นที่น่ายินดีในวงการสาธารณสุขไทย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคมที่ผ่านมา สถาบันวัคซีนแห่งชาติ ร่วมกับ ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดการประชุม ติดตามความก้าวหน้าการวิจัยพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประเทศ ณ โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ อ.เมือง จ.นนทบุรี โดยเชิญ ผูว้ จิ ยั พัฒนาวัคซีน COVID-19 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านวัคซีน รวมทัง้ ผูเ้ กีย่ วข้องในระดับต้นน�ำ้ กลางน�ำ้ และปลายน�้ำ กว่า 60 คน พร้อมทั้งผู้แทนจากองค์การอนามัยโลก เข้าร่วม แลกเปลี่ยนข้อมูลความก้าวหน้าการด�ำเนินงาน ความก้าวหน้าการวิจัยพัฒนาวัคซีน COVID ในครั้งนี้ ประกอบด้วย ความ ก้าวหน้าของการพัฒนาวัคซีน mRNA โดย ศ. นพ.เกียรติ รักษ์รงุ่ ธรรม ผูอ้ ำ� นวยการ บริ ห ารโครงการพั ฒ นาวั ค ซี น COVID ศู น ย์ วิ จั ย วั ค ซี น คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, การน�ำเสนอการพัฒนา Recombinant Vaccine ในพืช โดย ผศ. ดร. ภญ.สุธีรา เตชคุณวุฒิ บริษัท ใบยาไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด, การน�ำเสนอ การพัฒนาวัคซีน Subunit ชนิด S-glycoprotein โดย ศ. ดร.ศุขธิดา อุบล คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, การพัฒนาวัคซีนชนิดเชื้อตาย WHO Vero cell โดย ดร.ณรงค์ นิทัศน์พัฒนา ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัคซีน มหาวิทยาลัยมหิดล, การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันในสัตว์ทดลองที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 โดย ดร.สุภาพร ภูมิอมร สถาบันชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และการพัฒนา วัคซีน COVID-19 โดย ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา และ ดร.ษมาภรณ์ ธีรเวชญาณ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ขณะที่รายงานผลการทดสอบวัคซีนในมนุษย์ในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 จาก ต่างประเทศให้ผลที่น่าพอใจ โดยเฉพาะวัคซีนที่พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ร่วมกับบริษทั แอสตราเซเนคา ประเทศอังกฤษ และวัคซีนทีพ่ ฒ ั นาโดยบริษทั แคนไซโน ประเทศจีน พบว่าวัคซีนทัง้ สองแบบนีส้ ามารถกระตุน้ ภูมคิ มุ้ กันได้ดใี นอาสาสมัคร และ ไม่พบผลข้างเคียงรุนแรง ประกอบกับรายงานผลการทดสอบวัคซีนของบริษทั โมเดิรน์ นา ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีผลในทิศทางเดียวกัน ท�ำให้นักวิทยาศาสตร์มีความมั่นใจ มากขึ้นว่าจะสามารถพัฒนาและผลิตวัคซีนที่ใช้งานได้ ทั้งนี้ ช่วงเวลาที่น่าจะมีวัคซีน ที่ใช้งานได้จริงโดยผ่านการทดสอบครบทุกขั้นตอนและผลิตได้ในปริมาณที่เพียงพอ ส�ำหรับคนจ�ำนวนมาก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ชั้นน�ำของโลกได้คาดไว้นั้น น่าจะเป็นใน กลางปีหน้า โดยในช่วงต้นปี พ.ศ. 2564 จะเริ่มมีวัคซีนจ�ำนวนหนึ่งที่พร้อมใช้ในคน แต่จะยังคงมีจ�ำนวนจ�ำกัด หลังจากนั้นจึงจะสามารถเพิ่มก�ำลังการผลิตได้เพิ่มขึ้น เรื่อยๆ เพื่อให้มีวัคซีนจ�ำนวนมากเพียงพอ ส�ำหรับวารสาร Engineering Today ฉบับนี้ พรั่งพร้อมด้วยสาระความรู้ ที่น่าสนใจเช่นเคย เริ่มจาก “ผลกระทบจากภัยโรคระบาด COVID-19 ต่อวิชาชีพ วิศวกรรมในระยะสั้นและระยะยาว”, “ฟีโบ้ จับมือภาคเอกชน พัฒนา ‘MuM II’ หุ ่ น ยนต์ อั ต โนมั ติ อ เนกประสงค์ ส นั บ สนุ น บุ ค ลากรทางการแพทย์ รั บ มื อ COVID-19”, “สภาวิศวกร ผนึกก�ำลังหน่วยงานท้องถิ่น ส�ำรวจปัญหาน�้ำกัดเซาะ “ชุมชนสนามจันทร์” เตรียมเสนอแผนภาครัฐบริหารจัดการวิถีชุมชนริมน�้ำยั่งยืน”, “การวางผังเมืองหลังวิกฤต COVID-19”, “เทคโนโลยีการเชื่อมต่อยานอวกาศ ความท้าทายด้านวิศวกรรม บทพิสูจน์ความสามารถเด็กไทย” และคอลัมน์อื่นๆ ที่น่าสนใจ ติดตามได้ในฉบับครับ อย่าลืมเข้าไปอัปเดตข่าวสารและอ่าน E-book ฉบับย้อนหลังได้ที่เว็บไซต์ www.engineeringtoday.net และ FB: Engineering Today ด้วยนะครับ


CONTENTS Engineering Today

July - August 2020 VOL. 4 No. 178

COLUMNS 12 บทบรรณาธิการ

นักวิจัยไทย-เทศเผยความคืบหน้าการผลิตวัคซีนป้องกัน COVID-19 คาดผลิตใช้จริงต้นปีหน้า

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Robotics 15 คณะวิศวฯ มหิดล จับมือสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล

เปิดตัวหุ่นยนต์ “เอไอ-อิมมูไนเซอร์” ทดสอบภูมิคุ้มกันอัจฉริยะ เพื่อพัฒนาวัคซีนครั้งแรกของไทย

• กองบรรณาธิการ

อเนกประสงค์ สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์รับมือ COVID-19

18 ฟีโบ้ จับมือภาคเอกชน พัฒนา ‘MuM II’ หุ่นยนต์อัตโนมัติ

• กองบรรณาธิการ

20 Cover Story

ULTRASONIC WAS YESTERDAY-THE FUTURE IS 80 GHZ RADAR!

• VEGA

Interview 22 สุวรรณี สิงห์ฤาเดช “ซีเมนส์โฟกัสธุรกิจรับเทรนด์

อาคารอัจฉริยะ - Industry 4.0 หลัง COVID-19”

• กองบรรณาธิการ

“พัฒนางานแสดงสินค้าด้วย “Hybrid Exhibition” เน้นใช้นวัตกรรม-เทคโนโลยีมากขึ้น”

25 วราภรณ์ ธรรมจารีย์” CEO รี้ด เทรดเด็กซ์ คนใหม่

• กองบรรณาธิการ

Digital Economy 36 Digital

13 พันธมิตร น�ำแพลตฟอร์ม IDA ยกระดับอุตสาหกรรมใน EECi เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและอนุรักษ์พลังงาน หลัง COVID-19

• กองบรรณาธิการ

39 Smart City

นักวิจัยแนะแนวทางในการน�ำน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ของเมือง มุ่งให้เป็นแหล่งน�้ำต้นทุนใหม่ของ EEC Smart City

• กองบรรณาธิการ

43 EEC

EEC แนะเตรียมก�ำลังบุคลากรทุกด้านให้มีทักษะสูงขึ้น รองรับภาคอุตสาหกรรมและอื่นๆ หลัง COVID-19 ยุติ

• กองบรรณาธิการ

45 Research & Development

เทคโนโลยีการเชื่อมต่อยานอวกาศ ความท้าทายด้านวิศวกรรม บทพิสูจน์ความสามารถเด็กไทย

• กองบรรณาธิการ

Section Construction 48 Construction

การวางผังเมืองหลังวิกฤต COVID-19

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

53 Property

Report 27 สวทช.จัดเสวนา “วิกฤต COVID-19 กับมาตรการการรับมือที่เข้มข้น

• กองบรรณาธิการ

54 IT Update

“ชุมชนสนามจันทร์” เตรียมเสนอแผนภาครัฐบริหารจัดการ วิถีชุมชนริมน�้ำยั่งยืน

ภายใต้จริยธรรมที่เข้มแข็ง”

32 สภาวิศวกร ผนึกก�ำลังหน่วยงานท้องถิ่น ส�ำรวจปัญหาน�ำ้ กัดเซาะ

• กองบรรณาธิการ

34 Energy Today

อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ รับตราสัญลักษณ์ “อาคารประหยัดพลังงาน” จาก กฟน. ตอกย�ำ้ “สุดยอดอาคารอนุรักษ์พลังงาน” ของไทย

• กองบรรณาธิการ

ไรมอน แลนด์ เผยยอดขายโครงการ “เดอะ ลอฟท์ สีลม” คืบหน้าแล้ว 75% คาดปิดการขายทั้งหมดภายในปี’63

• กองบรรณาธิการ

ฟูจิตสึน�ำข้อมูลผลักดัน Data-driven Transformation ขับเคลื่อนธุรกิจดิจิทัล

• กองบรรณาธิการ

56 บทความ

การบริหารสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ

• ฟาบิโอ ทิวิติ

58 Project Management

ผลกระทบจากภัยโรคระบาด COVID-19 ต่อวิชาชีพวิศวกรรม ในระยะสั้นและระยะยาว • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล


Ƕ Ɂ Ǹ Dž˰ǖǥǁlj DZǴǵDz ǣǥǁǥǏ Ƕ Ɂ Ƿ


Robotics • กองบรรณาธิการ

คณะวิศวฯ มหิดล จับมือ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล เปิดตัวหุน่ ยนต์

“เอไอ-อิ ม มู ไ นเซอร์ ” ทดสอบภูมิคุ้มกันอัจฉริยะ

เพือ่ พัฒนาวัคซีนครัง้ แรกของไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สถาบัน ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ โ มเลกุ ล เปิ ด ตั ว “หุ ่ น ยนต์ เ อไอ-อิ ม มู ไ นเซอร์ (AI-Immunizer)” ซึ่งเป็นหุ่นยนต์ทดสอบภูมิคุ้มกันอัจฉริยะในการ พัฒนาวัคซีนครั้งแรกของไทย ทั้งระบบจนจบครบวงจร ตั้งแต่ขั้นตอน จัดเตรียมการเพาะเชื้อไวรัส การทดสอบ การประมวลผล ระบบภาพ บันทึกผล และวิเคราะห์ผลหรือแนวโน้มได้อย่างรวดเร็วและแม่นย�ำ ลดการเสี่ยงการติดเชื้อและลดภาระขั้นตอนการท�ำงานบุคลากรทาง การแพทย์

หุ่นยนต์เอไอ-อิมมูไนเซอร์ หุ่นยนต์ทดสอบภูมิคุ้มกัน อัจฉริยะที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นชนิด 6 แกน และมี 2 แขน สามารถปฏิบัติการทดสอบ ระดับภูมคิ มุ้ กันในการลบล้าง ฤทธิ์ของไวรัสที่เรียกว่า Neutralization Test ทดแทนมนุษย์ ได้อย่าง ครบวงจร อีกทั้งยังช่วยให้ ผู้ทำ� การควบคุมการทดสอบ เชื้อของแต่ละบุคคลในสภาวะ ที่เกิดโรคระบาด เช่น COVID-19 มีความ ปลอดภัยสูง

โฉมหน้านวัตกรรมหุ่นยนต์

“เอไอ-อิมมูไนเซอร์”

ทดสอบภูมิคุ้มกันอัจฉริยะ เพื่อพัฒนา วัคซีนครั้งแรกของไทย

15

Engineering Today July - August

2020


ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรม อุตสาหการคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และหัวหน้าโครงการวิจยั กล่าวว่า หุน่ ยนต์เอไอ-อิมมูไนเซอร์ หุน่ ยนต์ทดสอบภูมคิ มุ้ กันอัจฉริยะทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงเป็น ชนิด 6 แกนและมี 2 แขน สามารถปฏิบัติการทดสอบ ระดับภูมิคุ้มกันในการลบล้างฤทธิ์ของไวรัส ที่เรียกว่า Neutralization Test ทดแทนมนุษย์ได้อย่างครบวงจร ตัง้ แต่ การน�ำเพลทเลี้ยงเซลล์ที่บรรจุเซลล์เพาะเลี้ยงเข้าระบบ, ช่วยระบบติดฉลากบนเพลท, ปฏิบัติการเจือจาง (Dilute) ซีรั่มตัวอย่างที่มีแอนติบอดี (Antibody) ในหลอดทดลอง ด้วยตัวท�ำละลายในปริมาณตามต้องการ, น�ำซีรมั่ ทีเ่ จือจาง แล้วตามก�ำหนดผสมกับตัวอย่างไวรัส, ดูดน�้ำเลี้ยงเซลล์, น�ำตัวอย่างที่ผสมเข้าสู่เซลล์เพาะเลี้ยงแล้ววางบนเครื่อง เขย่า, เติมอาหารเลีย้ งเซลล์ลกั ษณะกึง่ แข็ง, บ่มในอุณหภูมิ และระยะเวลาทีก่ ำ� หนด, เทอาหารเลีย้ งเซลล์ทงิ้ และฆ่าเชือ้ , ถ่ายภาพและประมวลผลโดยการอ่านจ�ำนวนไวรัสพลาค (Plaque) ที่ปรากฏขึ้น และวิเคราะห์ผลทั้งระบบด้วย AI (Artificial Intelligence) ตามซอฟต์แวร์โปรแกรมที่ระบุ เอาไว้ จึงมั่นใจได้ว่ามีค่าและความแม่นย�ำในการทดสอบ เชื้อโรคที่อันตรายต่างๆ ได้อย่างแม่นย�ำ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ท�ำการควบคุมการทดสอบเชื้อของ แต่ละบุคคลในสภาวะที่เกิดโรคระบาด เช่น COVID-19 มีความปลอดภัยสูง เพราะทีม วิจัยได้ออกแบบให้เป็น ระบบปิดในการปฏิบัติการด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic Condition) ส่งผลให้ผู้ท�ำควบคุมการท�ำงานตรวจเชื้อ ไม่จ�ำเป็นต้องเข้าไปในห้อง Lab ตรวจเชื้อ เพียงแต่ตั้งค่า การท�ำงานแล้วให้หุ่นยนต์ท�ำการท�ำงานตามโปรแกรม ที่ระบุในแต่ละวันเท่านั้น

ผศ. ดร.จ�ำรัส พร้อมมาศ ที่ปรึกษาคณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า สืบเนื่อง จากสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทยที่เกิดขึ้น เป็นตัวเร่งให้หลายภาคส่วนได้คิดค้นนวัตกรรมในการ ช่ ว ยเหลื อ แพทย์ บุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละอื่ น ๆ ที่ เกีย่ วข้อง เช่นเดียวกันกับทีมวิจยั จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาวั ค ซี น สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ ร่วมมือกันสร้างนวัตกรรม หุ่นยนต์เอไอ-อิมมูไนเซอร์ (AI-Immunizer) ขึ้นโดยได้เริ่มท�ำงานตั้งแต่ประมาณช่วง เดือนเมษายน 2563 ที่ผ่านมา เริ่มต้นตั้งแต่กระบวนการ ศึกษาวิจัย ออกแบบและวิเคราะห์พัฒนาระบบหุ่นยนต์ อัจฉริยะทดสอบระดับภูมิคุ้มกันในการลบล้างฤทธิ์ของ เชื้อไวรัส (Neutralization Test) เพื่อยกระดับขั้นตอนการ ทดสอบภูมิคุ้มกันวัคซีนของไทย โดยใช้เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์และระบบหุน่ ยนต์ทเี่ หมาะสม ใน Digital Platform ที่เกี่ยวข้องมาร่วมพัฒนาหุ่นยนต์ ให้สามารถท�ำงานช่วยลดความเสี่ยงของบุคลากรทางการ แพทย์ในการท�ำงานในห้องทดสอบตรวจเชื้อ COVID-19 ที่ต้องทดสอบเชื้อจ�ำนวนมากในแต่ละวันเพื่อให้ทราบผล ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น นอกจากนี้การใช้หุ่นยนต์และ ปัญญาประดิษฐ์เป็นอีกทางเลือกหนึง่ ทีจ่ ะสามารถทดแทน แรงงานบุคลากรทีข่ าดแคลนในการด�ำเนินการกระบวนการ ทดสอบในห้องวิจัยที่ต้องท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมงได้

Engineering Today July - August

2020

16


หุ่นยนต์เอไอ-อิมมูไนเซอร์ เป็นอีกหนึ่งความส�ำเร็จ ในการท�ำงานวิจัยร่วมกับ ภาคส่วนต่างๆ ในการ ช่วยเหลือสังคม ช่วยเหลือ ประชาชนและวงการแพทย์ อีกทั้งยังช่วยประหยัด งบประมาณภาครัฐ ในการซื้อนวัตกรรม ทางการแพทย์จาก ต่างประเทศเข้ามาใช้ ในแต่ละปีจำ� นวน หลายล้านบาท

ศ. ดร. นพ.นรัตถพล เจริญพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบัน ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล และรักษาการแทนผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า หุ่นยนต์ เอไอ-อิมมูไนเซอร์ เป็นอีกหนึ่งความส�ำเร็จในการท�ำงานวิจัยร่วม กับภาคส่วนต่างๆ ในการช่วยเหลือสังคม ช่วยเหลือประชาชนและ วงการแพทย์ อีกทั้งยังช่วยประหยัดงบประมาณภาครัฐในการซื้อ นวัตกรรมทางการแพทย์จากต่างประเทศเข้ามาใช้ในแต่ละปี จ� ำ นวนหลายล้ า นบาท เนื่ อ งจากต้ น ทุ น ในการวิ จั ย หุ ่ น ยนต์ เอไอ-อิมมูไนเซอร์ 1 ตัวรวมการอัพเดทซอฟต์แวร์นั้นจะอยู่ที่ ประมาณ 10 ล้านบาท หากเมื่อเปรียบเทียบกับหุ่นยนต์ที่ใช้ ในห้ อ งทดสอบเชื้ อ โรคอุ บั ติ ใ หม่ อั น ตรายที่ น� ำ เข้ า มาใช้ จ าก ต่างประเทศที่ราคาประมาณ 30-50 ล้านบาทถือว่าคุ้มค่าการ ลงทุนมาก

ดร.พร้อมสิน มาศรีนวล หัวหน้าศูนย์วจิ ยั และพัฒนาวัคซีน สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวถึง การพัฒนาต่อยอดการท�ำงานนวัตกรรมหุน่ ยนต์ เอไอ-อิมมูไนเซอร์ ในอนาคตว่าจะสร้างหุน่ ยนต์ทมี่ ขี นาดทีเ่ ล็กและเหมาะสมในแต่ละ พื้นที่ของห้องทดสอบเชื้อของแต่ละโรงพยาบาลที่มีขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ไม่เท่ากัน ให้สามารถน�ำไปติดตั้งเพื่อใช้ท�ำงาน ในโรงพยาบาลต่างๆ ตามความเหมาะสมในอนาคตต่อไป โดยใน เบื้องต้นจะเริ่มน�ำไปใช้โรงพยาบาลในเครือมหาวิทยาลัยมหิดล ก่ อ นเป็ น ล� ำ ดั บ แรก จากนั้ น จะพั ฒ นาสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ กั บ โรงพยาบาลในพื้นที่ต่างๆ ต่อไป

17

Engineering Today July - August

2020


Robotics • กองบรรณาธิการ

ฟีโบ้ จับมือ ภาคเอกชน

พัฒนา ‘MuM II’

หุน่ ยนต์อตั โนมัตอิ เนกประสงค์ สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์

รับมือ COVID-19

MuM II หุ่นยนต์อัตโนมัติอเนกประสงค์ > ก�ำหนดเส้นทางให้หุ่นยนต์ฆ่าเชื้อโดยอัตโนมัติ

ถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาค สนาม (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และ บริษัท เลิศวิลัยแอนด์ซันส์ จํากัด ร่วมกัน พั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ อั ต โนมั ติ อ เนกประสงค์ Multi-functional Mobility: MuM II ขึ้น โดยหุ ่ น ยนต์ ดั ง กล่ า วเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ใน โครงการ “มดบริรักษ์” ชุดระบบหุ่นยนต์ ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ เพือ่ สนับสนุน การปฏิบตั งิ านของบุคลากรทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลต่างๆ ช่วงสถานการณ์แพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19)

Engineering Today July - August

2020

“MuM II” หุ ่ น ยนต์ อั ต โนมั ติ อเนกประสงค์ ได้ รั บ การพั ฒ นาโดย ฝ่ายอุตสาหกรรม และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมหุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ ฟีโบ้ ประกอบด้วย ณัฏฐนนท์ ตรังรัตนจิต วสุพล วรวราชัย ภวินท์พล ทองแดง และ อั ย การ สุ ธ าพจน์ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ ทุ น สนับสนุนจากโครงการสนับสนุนการศึกษา และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อรองรับความต้องการของอุตสาหกรรม หุ่นยนต์ของส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัล (depa) ซึ่งนักศึกษาได้รับโอกาสใน

18


ทีมงานวิจัยประกอบด้วยฝ่ายอุตสาหกรรม > และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ ฟีโบ้ ร่วมกัน ออกแบบและพัฒนา MuM II

การฝึกประสบการณ์ และทักษะจนสามารถ พัฒนา MuM II ได้สำ� เร็จตามเป้าหมาย “MuM II” หุ ่ น ยนต์ อั ต โนมั ติ อเนกประสงค์ ถูกออกแบบและพัฒนา ให้รองรับการทํางานหลากหลายหน้าที่ เพือ่ เพิ่มประโยชน์ โดยที่หุ่นยนต์สามารถปรับ เปลี่ยนโมดูลด้านบนได้ตามวัตถุประสงค์ การใช้งาน ได้แก่ โมดูลฆ่าเชื้อด้วย UV-C การส่งอาหาร และจ่ายยาอัตโนมัติ

1

โมดูลฆ่าเชื้อด้วย UV-C

ประกอบด้ ว ย Autonomous Mobile Robot รองรับการควบคุมทั้งแบบ ระบบส่วนกลางและแบบ Stand Alone มีระบบตรวจจับสิ่งกีดขวาง แเละเคลื่อนที่ ไปยังต�ำแหน่งเป้าหมายได้อตั โนมัติ มีระบบ ยูวสี ำ� หรับฆ่าเชือ้ ทีพ่ นื้ ห้อง รับน�ำ้ หนักได้ถงึ 150 กิโลกรัม ระยะเวลาขับเคลื่อน 9-10 ชั่วโมงต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง (3.5 ชั่วโมง) และ UV Disinfection Robot ระบบ ฆ่าเชื้อ 360 องศา ระยะเวลาท�ำงาน 4-5 ชั่วโมงต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง (7 ชั่วโมง)

2

การส่งอาหาร และจ่ายยา อัตโนมัติ Food/Medicine Dispensing Robot มี จ อส� ำ หรั บ

แสดงข้ อ มู ล อาหารในตู ้ แ ละชื่ อ ผู ้ ป ่ ว ย ช่องจ่ายอาหารและยาอัตโนมัตแิ ยกตามชือ่ และเตียงผู้ป่วย ป้องกันความผิดพลาดใน การจ่ายยา มีระบบส่วนกลางส�ำหรับบริหาร จัดการการจัดอาหารและยา มีแสงยูวีด้าน ในส�ำหรับฆ่าเชื้อถาดลิ้นชักอาหารเพื่อลด การปนเปื้อน ปรับความสูงและจ�ำนวนช่อง ได้ตามขนาดของภาชนะ

19

Engineering Today July - August

2020


Cover Story • VEGA

ULTRASONIC WAS YESTERDAY-

THE FUTURE IS 80 GHZ RADAR! As the market leader, VEGA has been developing radar based level sensors for 30 years. These radar sensors are currently in use in more than 750,000 applications. Users all around the globe appreciate the many advantages of this technology: ▪ ▪ ▪ ▪ ▪

Maximum reliability and accuracy Unaffected by temperature fluctuations Resistant to dirt and buildup Measurement under vacuum and high pressure Wear and maintenance free

A new era in radar measurement technology began a few years ago when VEGAPULS sensors based on an operating frequency of 80 GHz were introduced. The 80 GHz technology allows a much more precise focusing of the transmission signal. This makes it easier to separate actual level signals from interfering signals – this means the measurement becomes easier to make and much more reliable. That’s why VEGA radar sensors with 80 GHz are steadily taking over new applications all over the world. VEGA has now added a new compact instrument series to this portfolio of radar sensors. These devices are also ideal for more economical applications such as those found in the water and wastewater industry or for auxiliary measuring points in process automation. Level measurement with ultrasonic sensors, which are still in use today, is thus rapidly becoming a thing of the past. The future is radar!

A new heart for radar sensors

Today, radar sensors can be found in all areas of daily life, from simple motion detectors for door openers to complex distance sensors in vehicles. The technical requirements for industrial level measurement, however, are completely diff erent. While people and vehicles refl ect radar signals very well, process media are oftendiffi cult to detect. For this task, sensors require a much higher signal sensitivity.

Engineering Today July - August

2020

20

About VEGA is a world-leading manufacturer of process instrumentation. Their product portfolio includes sensors for measurement of level and pressure as well as point level detection, with additional devices and software for integrating sensors into process control systems. Founded in the Black Forest in 1959, VEGA today employs over 1,600 people worldwide, more than 750 of them at the headquarters in Schiltach in the Black Forest. Each and every one of them works with great passion to find the best solution for the customer’s application – across all industries.


Made for everyday use

That’s why VEGA have developed their own radar microchip, a component specifically optimized for the requirements of level measurement. This microchip is at the heart of the new sensors. Thanks to its small size, low energy consumption and optimized frequency ranges, very compact radar instruments can now be built. These are considerably less expensive and can replace ultrasonic measurement technology in virtually all applications.

Compact version • Small PVDF process fittings • For liquids and bulk solids • Optional display

VEGAPULS 11, 21, 31

80 GHz radar sensors feature excellent signal focusing capability. Unaff ected by temperature fluctuations and virtually all other operational conditions, they impress users with their reliable measured values. The new compact instrument series is designed for standard measuring tasks and thus ideally compliments the existing range of VEGAPULS 60 series plics® radar sensors.

Cable version

• Fixed cable connection (IP68) • Reliable performance, even during flooding • Direct output signals 4 ... 20 mA, HART, SDI-12, Modbus

VEGAPULS C 11, C 21, C 22, C 23

21

Controllers

in combination with up to two radar sensors • Large graphical display • Optimized for applications in water and wastewater • Weatherproof housing

VEGAMET 841/842, 861/862

Engineering Today July - August

2020


Interview • กองบรรณาธิการ

สุวรรณี สิงห์ฤาเดช

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ ซีอีโอคนไทยคนแรกในประเทศไทย บริษัท ซีเมนส์ อินดัสเทรียล “ซีเมนส์โฟกัสธุรกิจรับเทรนด์ อาคารอัจฉริยะ-Industry 4.0 หลัง COVID-19” หลั ง จากสถานการณ์ COVID-19 ซี เ มนส์ เ ล็ ง เห็ น ความเปลี่ยนแปลงและความส�ำคัญของ 2 Mega Trend คือ Urbanization หรือการเติบโตของมหานครทีอ่ าคารในอนาคตจะ เหมือนมีชีวิต มีความเป็นอาคารอัจฉริยะ โดยจะเชื่อมโยงและ กลายเป็นส่วนส�ำคัญของระบบไฟฟ้าและ Digitalization ในกลุ่ม ธุรกิจอุตสาหกรรม โดยน�ำเทคโนโลยี และระบบ Automation เข้ามาใช้ในอุตสาหกรรม เพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ เพื่อก้าวสู่ Industry 4.0 สุวรรณี สิงห์ฤาเดช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและซีอีโอ คนไทยคนแรกในประเทศไทย บริษัท ซีเมนส์ อินดัสเทรียล กล่าวว่า ซีเมนส์ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2390 มีพนักงาน เพียง 10 คน ปัจจุบันซีเมนส์มีอายุ 172 ปี และเป็นผู้นำ� ด้าน Electrification Automation Digitalization ในปี พ.ศ. 2562 มียอดขาย 86,000 ล้านยูโร มีพนักงานทั่วโลก 385,000 คน ในไทยมีพนักงาน 1,500 คน

นอกจากประเทศไทยแล้ว สุวรรณี ยังดูแลตลาดเมียนมา และกัมพูชา โดยซีเมนส์ ประเทศไทย มีสำ� นักงานใหญ่ที่ตึกชาญ อิสสระทาวเวอร์ 2 กรุงเทพฯ อีกทัง้ มีสำ� นักงานสาขาทีก่ รุงย่างกุง้ เมียนมา และส�ำนักงานตัวแทนจ�ำหน่ายที่กรุงพนมเปญ กัมพูชา

ซีเมนส์ อินดัสเทรียล ในไทย ด�ำเนินธุรกิจครอบคลุม 3 ธุรกิจหลัก ซี เ มนส์ อิ น ดั ส เทรี ย ล ในประเทศไทย ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ครอบคลุมใน 3 ธุรกิจหลัก คือ 1. ธุรกิจสมาร์ทอินฟราสตรัคเจอร์ (Smart Infrastructure) ผู้บุกเบิกตลาดโครงสร้างพื้นฐาน อัจฉริยะที่ให้บริการเทคโนโลยีสาธารณูปโภคต่างๆ โดยเชื่อมต่อ ระบบพลังงานไฟฟ้า อาคาร และภาคอุตสาหกรรมต่างๆ เข้า ด้วยกัน ตั้งแต่ Power Distribution Distributed Energy System จากสถานี Substation เข้ามาจนถึง Switch Plug เพื่อ ต่อยอดไปยังการให้บริการตึกอัจฉริยะ (Smart Building)

Engineering Today July - August

2020

22


นอกจากนี้ ยังมีซีเมนส์ โมบิลิตี้ ผู้น�ำด้านการขนส่งส�ำหรับ รถไฟและรถยนต์ ด้านบริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า ซีเมนส์ กามาซ่า รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี ด�ำเนินธุรกิจจ�ำหน่ายกังหันลม ผลิตไฟฟ้า และซีเมนส์ เฮลท์แคร์ ผู้นำ� ระดับโลกด้านเทคโนโลยี การแพทย์ อาทิ เครือ่ ง CT Scan และเครือ่ งอัลตราซาวนด์ เป็นต้น

ซีเมนส์ โฟกัสธุรกิจ 3 กลุ่ม หลังเกิดวิกฤต COVID-19 สุ ว รรณี กล่ า วว่ า เมื่ อ หลายปี ก ่ อ น ซี เ มนส์ เ คยพู ด ถึ ง 5 Mega Trend ที่จะเข้ามาเปลี่ยนโลก คือ 1. Urbanization ซึ่ง มีการพูดถึง Mega City เช่น กรุงเทพมหานคร ที่จะมีจ�ำนวน ประชากรอาศัยจ�ำนวนมาก 12-20 ล้านคน 2. Digitalization เช่น การเข้า-ออกอาคารและตึกในปัจจุบันที่ต้องใช้บัตรเพื่อให้ ประตูปิด-เปิดโดยอัตโนมัติ 3. Globalization การค้าขายแบบ ไร้พรมแดน 4. Demographic Change มีการคาดการณ์ว่าใน ปี พ.ศ. 2568 อายุเฉลี่ยของคนทั่วไปจะอยู่ที่ 80 ปีขึ้นไป และ อีก 25 ปี นับจากนี้ คนที่มีอายุ 100 ปี จะมีจ�ำนวนมากขึ้น และ 5. Climate Change การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท�ำให้ โลกร้อนขึ้น ท�ำให้ภาคธุรกิจหันมาใส่ใจและให้ความส�ำคัญต่อ สิ่งแวดล้อมกันมาก

2. ธุรกิจดิจิทัล อินดัสทรี (Digital Industries) โดยน�ำ นวัตกรรม Digital Enterprise เข้าไปใช้งานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อ Transform ธุรกิจสู่อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) โดย ซีเมนส์ถือเป็นผู้น�ำอันดับ 1 ด้าน Industrial Software เช่น NX ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ Simulation ออกแบบชิ้นส่วน ยานยนต์ สามารถทดสอบ Strength ซึ่งได้รับการยอมรับจาก อุตสาหกรรมยานยนต์ ส่วน mendix ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการพัฒนา เครือ่ งมือระดับ Industrial Grade เหมาะส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม และกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง “หากรวมบริษัทด้านซอฟต์แวร์ทั้งหมด ซีเมนส์จะอยู่ใน อันดับ 10 แต่เราเป็นผู้นำ� อันดับหนึ่งด้าน Industrial Software เป็นบริษัทผู้น�ำด้านเทคโนโลยี มีสิทธิบัตร 3,600 Patents” สุวรรณี กล่าว

อย่างไรก็ตาม หลังจากวิกฤต COVID-19 ซีเมนส์ได้โฟกัส ไปทีธ่ รุ กิจ 3 กลุม่ คือ 1. Utilities and Power มีลกู ค้ารายส�ำคัญ คือ การไฟฟ้านครหลวง ในอนาคตอาคารจะมี Energy Storage และรถไฟฟ้า ซึ่งจะมีสถานีชาร์จแบตเตอรี่ อาคารแต่ละแห่ง พูดกันได้ (Building can talk) โดยอาคารจะเชื่อมโยงและกลาย เป็นส่วนส�ำคัญของระบบพลังงานไฟฟ้า และในอนาคตสามารถ เข้าใจผู้ใช้งาน โต้ตอบ เรียนรู้และปรับตัวได้ ด้วยการใช้ Building Information Modeling (BIM) และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทวิน (Digital Twins) ที่ช่วยให้สามารถเห็นภาพจ�ำลองด้านดิจิทัลของอาคาร ล่วงหน้าในทุกมิติ ท�ำให้การออกแบบเสมือนจริงมากที่สุด ส่งผล ให้การก่อสร้างเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ในส่วนของการ บริหารจัดการไฟฟ้าจะกระจายจากจุดศูนย์กลาง (Decentralized Energy) ท�ำให้อาคารสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าใช้ได้เองจาก

3. ธุ ร กิ จ ลาร์ จ ไดรฟ์ แ อปพลิ เ คชั น (Large Drives Applications) โดยเป็นผู้ออกแบบและผลิตระบบขับเคลื่อนทาง ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรมสามารถด�ำเนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ ครอบคลุมอุตสาหกรรม ก๊าซและน�้ำมัน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมพลังงาน โรงไฟฟ้า อุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมซีเมนต์ อุตสาหกรรม เหล็ก อุตสาหกรรมกระดาษ รวมทั้งระบบบริหารการจัดการน�้ำ เช่น โรงสูบน�้ำ สถานีจ่ายน�ำ้ เป็นต้น

23

Engineering Today July - August

2020


พลังงานทดแทนและสามารถขายไฟฟ้าคืนกลับได้ ผู้บริโภคจะ กลายเป็น Prosumer คือ เป็นทัง้ ผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้ไฟฟ้า ซึง่ มีการน�ำ ไปใช้งานจริงที่ประเทศฟินแลนด์ “ในช่วงของการบริหารอาคาร อาคารเองจะสามารถให้ ข้อมูลได้ว่า ควรบริหารอาคารยังไงจึงมีประสิทธิภาพสูงสุด และ อาคารยั ง สามารถตรวจพบแนวโน้ ม ของปั ญ หาได้ ก ่ อ นที่ จ ะ เกิดปัญหาจริง ซึ่งท�ำให้ต้นทุนการบริหารอาคารลดลง แต่การ ด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น” สุวรรณี กล่าว 2. Infrastructure and Building ยกตัวอย่าง โครงการ ศูนย์วิจัย Aspern Smart City Research ซึ่งเป็นเมืองอัจฉริยะ ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ ในทวีปยุโรป มีซเี มนส์เป็น Technology Partner ที่ศูนย์วิจัยแห่งนี้มีการเก็บข้อมูลการใช้พลังงานจากผู้ ใช้งานจริง 11 ครัวเรือน โดยมีชดุ ข้อมูลจ�ำนวน 1.5 ล้านชุดต่อวัน ซึ่งถูกส่งมาจากสถานีไฟฟ้า อาคาร สมาร์ทมิเตอร์ และเซ็นเซอร์ กว่า 100 จุด ซึ่งถือเป็น Big Data เข้าสู่จุดศูนย์กลาง Data Analysis เพื่อวิเคราะห์ ค้นหาค�ำตอบ และตอบโจทย์แก่พลังงาน ในอนาคต ซีเมนส์มี Solution for Building เช่น ซอฟต์แวร์หรือ แอปพลิเคชัน ที่ช่วยบริหารจัดการจ�ำนวนคนภายในอาคาร เพื่อ ตอบโจทย์ Social Distancing ภายใต้สถานการณ์ของ COVID-19 ส�ำหรับธุรกิจที่ 3 คือ Digitalization ซึง่ เป็นอีกหนึง่ Mega Trend ที่วิกฤต COVID-19 เป็นตัวเร่งให้เกิดการพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรม การน�ำเทคโนโลยี และระบบ Automation เข้ามาใช้ในอุตสาหกรรม กลายเป็น สิ่งจ�ำเป็นเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ เนื่องจากอุตสาหกรรม ในปั จ จุ บั น ยั ง พึ่ ง พาแรงงานคนเป็ น หลั ก เมื่ อ เกิ ด วิ ก ฤตที่ ค น ไม่สามารถไปท�ำงานได้ จึงส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมการ ผลิตและซัพพลายเชน ดังนัน้ การเริม่ ท�ำ Industry 4.0 Assessment คือสิง่ จ�ำเป็นทีต่ อ้ งการให้ผปู้ ระกอบการได้เริม่ ตรวจเช็คว่าโรงงาน อยู่ในขั้นใดของการพัฒนาสู่ Industry 4.0 แล้ว โดย มี 3 หัวข้อ หลักๆ ได้แก่ 1. กระบวนการ (Process) ว่าธุรกิจของเรามี ขบวนการผลิตยังไง 2. เทคโนโลยี (Technology) เราได้มีการ น�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้บ้างหรือไม่ และ 3. โครงสร้างบริษัท (Organization) ที่ต้องสอดคล้องกับการท�ำงานของเทคโนโลยี รวมถึงทักษะของบุคลากร และการท�ำ Reskill อีกด้วย เมื่อเร็วๆ นี้ ซีเมนส์ได้เข้าร่วมลงนาม MOU กับส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) รวมทั้ง ภาครัฐและเอกชนในการพัฒนา IDA Energy Platform เพื่อช่วย ยกระดับการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย โดยซีเมนส์มีส่วนร่วม ในระบบ Mindsphere Cloud Platform ซึง่ คือ Industrial Cloud Platform ที่ มี ค วามปลอดภั ย และเสถี ย รภาพสู ง อี ก ทั​ั้ ง ยั ง มี

Engineering Today July - August

2020

แอปพลิเคชันที่หลากหลาย สามารถรองรับความต้องการของ ผู ้ ป ระกอบการในภาคอุ ต สาหกรรม เช่ น การบริ ห ารจั ด การ พลังงาน งานบ�ำรุงรักษา การวิเคราะห์ รวมถึงโรงงานอัจฉริยะ และโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ เป็นต้น และ IoT Gateway ที่ใช้ ในการเก็บข้อมูลพลังงาน หรือที่เรียกว่า Industrial Big Data เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

โรงงานผลิตรถวินฟาส-ฟาร์มปลาอัจฉริยะที่สิงคโปร์ ตัวอย่างของ Industry 4.0

สุวรรณี กล่าวถึง โรงงานผลิตรถยนต์วินฟาส (Vinfast) ที่ ประเทศเวียดนาม ซึ่งใช้ระบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบแห่งแรกใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยเทคโนโลยีจากซีเมนส์ วินฟาส สามารถสร้างโรงงาน ออกแบบและผลิตรถยนต์ออกมาจ�ำหน่าย ได้ภายในเวลา 21 เดือน ซึ่งถือว่าเร็วกว่าปกติถึง 50% อีกทั้ง ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 วินฟาสได้รบั ผลกระทบน้อยมาก เนื่องจากเป็นโรงงานระบบอัตโนมัติทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของการน�ำ Industry 4.0 มา ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นภาคเกษตรกรรมที่ ป ระเทศสิ ง คโปร์ ที่ เ รี ย กว่ า Singapore Aquaculture Technologies (SAT) ใช้เงินลงทุน กว่า 90 ล้านบาท ซึ่งเป็น Smart Fish Farm แห่งแรกในสิงคโปร์ ที่นำ� ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Mindsphere IoT เข้ามาใช้ โดยปลาถูกเลี้ยงในระบบปิด และมีกล้องวิดีโอคอยตรวจสอบ ความเคลือ่ นไหวของปลา หากปริมาณออกซิเจนลดต�ำ่ ลง สามารถ เพิม่ ออกซิเจนอัตโนมัตไิ ด้ทนั ที ให้อาหารได้อย่างแม่นย�ำเพียงพอ ต่อความต้องการของปลา โดยไม่เหลือทิ้ง ซึ่งจะช่วยประหยัด ค่าใช้จ่าย เนื่องจากอาหารปลาคิดเป็นต้นทุน 65% ของค่า ด�ำเนินการในฟาร์ม และใช้คนดูแลน้อยกว่าเดิม 50% คาดว่า จะสามารถผลิตปลาได้ 350 ตันต่อปี ซึง่ มีความส�ำคัญมากในเรือ่ ง ความปลอดภัยด้านอาหารของสิงคโปร์ที่ต้องการผลิตขึ้นเอง ภายในประเทศ 30% ภายในปี พ.ศ. 2573

24


Interview • กองบรรณาธิการ

“วราภรณ์ ธรรมจารีย์”

CEO รี้ด เทรดเด็กซ์ คนใหม่

“พัฒนางานแสดงสินค้าด้วย “Hybrid Exhibition” เน้นใช้นวัตกรรม-เทคโนโลยีมากขึ้น”

จากสถานการณ์ COVID-19 ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจต่างๆ มากมายในประเทศไทย โดยเฉพาะธุรกิจการจัดแสดงสินค้า (Exibition) ซึ่งเป็นธุรกิจที่รัฐบาลจัดให้อยู่ในโซนสีแดง ถูกห้ามจัดงานตั้งแต่ช่วงต้นปีเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ต่อมาสามารถ ควบคุมสถานการณ์ได้ดขี นึ้ และได้เริม่ ผ่อนคลายล็อกดาวน์ธรุ กิจต่างๆ ตามความเหมาะสม ในการควบคุมโรคไม่ให้กลับมาแพร่เชื้ออีกครั้ง และได้มีมาตรการคลายล็อกดาวน์ในระยะ ที่ 3 และระยะที่ 4 ส่งผลให้ธรุ กิจการจัดแสดงสินค้าได้รบั การปลดล็อก ท�ำให้ผปู้ ระกอบการ ต่างเดินหน้าฟื้นธุรกิจที่ได้รับผลกระทบในช่วงที่ผ่านมาอย่างเร่งด่วน เฉกเช่นเดียวกับ รี้ด เทรดเด็กซ์ ผู้จัดแสดงสินค้าอุตสาหกรรมรายใหญ่รายหนึ่งของประเทศไทย ที่เพิ่ง ปรับทัพการบริหารงานด้วยการแต่งตั้ง “วราภรณ์ ธรรมจารีย์” เป็น กรรมการผู้จัดการ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด คนใหม่เมื่อช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ที่ผ่านมา วราภรณ์ ธรรมจารีย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด กล่าวว่า สถานการณ์ COVID-19 ได้สง่ ผลกระทบต่อภาคธุรกิจภาคส่วนต่างๆ มากมายในประเทศไทย และทั่วโลก ท�ำให้ธุรกิจ Exibition ของบริษัทฯ ถูกเลื่อนการจัดแสดงงานออกไปในช่วง การเกิด COVID-19 ใหม่ๆ เนื่องจากจากการจัดแสดงงานสินค้าแต่ละครั้งจะมีผู้เข้าชมงาน จ�ำนวนมาก อาจจะเป็นเหตุให้เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อได้ รัฐบาลจึงได้สั่งปิดการ ด�ำเนินงานทันที โดยในระหว่างที่ไม่ได้มีการจัดแสดงงานสินค้าใดๆ เลย รี้ด เทรดเด็กซ์ พยายามที่จะมองหานวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเสริมการจัดแสดงสินค้ารูปแบบ ใหม่ทางออนไลน์มากขึ้น เพราะสถานการณ์ COVID-19 ยากที่จะคาดเดาได้ว่าหาก สถานการณ์ดีขึ้นแล้วรัฐบาลจะคลายล็อกเปิดให้มีการจัดแสดงงานสินค้าได้ในระยะเวลาใด ซึง่ ในเบือ้ งต้นการผ่อนคลายในระยะที่ 3 เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 เป็นวันแรก โดยจ�ำกัดพื้นที่รวมไม่เกิน 20,000 ตารางเมตร ดังนั้นบริษัทฯ จึงได้มีการประชุมรูปแบบการจัดแสดงสินค้าที่สามารถกระท�ำได้ สอดคล้ อ งกั บมาตรการคลายล็ อ กของรั ฐ บาลและความพร้ อ มของการจั ด เตรี ย มงาน โดยบริ ษั ท ฯ มี แ นวคิ ด การจั ด ท� ำ กลยุ ท ธ์ ก ารจั ด แสดงสิ น ค้ า รู ป แบบใหม่ ด ้ ว ยกลยุ ท ธ์

25

Engineering Today July - August

2020


“Hybrid Exhibition 365 วัน” เน้นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี เช่น Big Data เพื่อวิเคราะห์เชิงลึกมากขึ้น เน้นความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การให้บริการแบบ Personalized Exhibition Experience รวมถึงการพัฒนา AI (Artificial Intelligence) เพื่อ ใช้ในการจับคู่เจรจาทางธุรกิจ เสริมโอกาสทางธุรกิจให้กับผู้ร่วมงานมากขึ้น และรองรับ New Normal สร้างความต้องการของผู้จัดแสดงสินค้าและผู้ชมงานภายใต้วิถีใหม่ รวมทั้ง การควบคุมการเว้นระยะห่างในการเข้าชมงาน 1-2 เมตร และพืน้ ทีใ่ นการจัดงานจะต้องการ จ�ำกัดคนเข้างาน 1 คน/4-5 ตารางเมตร มีจุดคัดกรองวัดอุณหภูมิอย่างเข้มงวด จุดบริการ เจลล้างมือ และการจัดบูธจะต้องมีระยะห่างมากขึน้ กว่าเดิมเพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดเชือ้ หากสถานการณ์คลีค่ ลายจะปรับสมดุลการจัดแสดงสินค้ารูปแบบใหม่ทใี่ ช้เทคโนโลยี เข้ามาช่วยกับในส่วนเดิมที่ใช้ Face-to-Face ควบคู่กันไป จนกว่าจะมีการผลิตวัคซีนออก มารองรับการรักษา COVID-19 ได้อย่างเด็ดขาดเพื่อความปลอดภัย สร้างความมั่นใจกับ ทุกคนที่เข้าร่วมงานแสดงสินค้าของบริษัทฯ ในทุก ๆ งานต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ประเมินในส่วนของลูกค้าที่จะน�ำสินค้ามาร่วมจัดแสดงงานผ่านทางวิดีโอ คอนเฟอเรนซ์ ผ่านทางช่องทางออนไลน์ Zoom และช่องทางน�ำเสนอทางออนไลน์อื่นๆ และจะให้ความช่วยเหลือลูกค้าจากต่างประเทศได้อย่างไรโดยเฉพาะลูกค้าจากประเทศญีป่ นุ่ ที่ในช่วงเวลาที่เหลือในปีนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นห้ามผู้ประกอบการในประเทศไปร่วมงานจัดแสดง สินค้านอกประเทศ และผู้เข้าร่วมชมงานจะมีมากน้อยอย่างไร วราภรณ์ กล่าวว่า จากข้อมูลผลกระทบที่เกิดกับงานแสดงสินค้าที่ทางส�ำนักงาน ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ TCEB ที่ให้การสนับสนุน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2563 พบว่าช่วงครึ่งปีแรกมีงาน ที่ถูกเลื่อนออกไป 22 งาน ยกเลิก 3 งาน สูญเสียเงินสะพัดในประเทศที่ควรจะเกิดการใช้ จ่ายของผู้ร่วมงานชาวต่างชาติที่ไม่ได้เดินทางเข้ามา จ�ำนวน 46,000 คน คิดเป็นจ�ำนวน เงินกว่า 3,400 ล้านบาท ส�ำหรับรี้ด เทรดเด็กซ์เอง COVID-19 ส่งผลกระทบต่อทุกๆ ส่วน ในบริษทั ต้องยอมรับว่ามีทงั้ การเลือ่ นจัดงานไปเป็นช่วงปลายปี-ปีหน้า ท�ำให้รายได้ประมาณ การของบริษัทฯ ลดลงประมาณ 10-15% เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2562 จากก่อนหน้าที่จะมี COVID-19 บริษทั ฯ เคยตัง้ เป้าการเติบโตของรายได้ปี พ.ศ. 2563 ประมาณ 10% ภายหลัง จากตลอดปีนจี้ ะมีแนวโน้มยกเลิกการเข้าร่วมจัดแสดงสินค้าประมาณ 10-15% จากข้อจ�ำกัด การเดินทางทีย่ งั ห้ามสายการบินเดินทางระหว่างประเทศ และธุรกิจของผูป้ ระกอบการได้รบั ผลกระทบโดยเฉพาะในประเทศญี่ป่นุ จีน และเกาหลีใต้ ที่เป็นลูกค้าหลักทีเ่ ข้าร่วมจัดแสดง งานทุกๆ ปี แต่ก็ยังมีผู้จัดแสดงสินค้าบางส่วน 15-20% โดยเฉพาะลูกค้าชาวไทยและ ในภูมิภาคอาเซียนที่ยังแสดงความต้องการที่จะเข้าร่วมจัดงาน ส�ำหรับงานจัดแสดงสินค้าของทางบริษัทฯ ที่คาดว่าจะยังจัดได้ในปี พ.ศ. 2563 ตาม สถานการณ์การควบคุม COVID-19 ของทางรัฐบาลที่ดีขึ้นตามล�ำดับนั้น ในช่วงครึ่งปีหลัง บริษัทฯ มีแผนการจัดงานที่ได้วางไว้ 5 งาน แบ่งเป็น 3 งานที่ยังคงก�ำหนดจัดตามเดิม คือ 1. งาน TILOG-LOGISTIX 2020 จัดวันที่ 26-28 สิงหาคม พ.ศ. 2563 2. งาน COSMEX 2020 จัดวันที่ 3-5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 และ 3. งาน METALEX 2020 จัดวันที่ 18-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 และอีก 2 งาน ที่เลื่อนมาจากก�ำหนดจัดงานเดิม ในช่วงเดือนมิถุนายน 2563 ไปจัดวันที่ 14-17 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แทน ได้แก่ งาน InterPlas Thailand 2020 และ งาน NEPCON Thailand 2020 โดยทั้ง 5 งานดังกล่าว จะจัดที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ส่วนงานจัดแสดงสินค้าที่เลื่อนไปจัดแสดงในปี พ.ศ. 2564 มี 2 งาน ได้แก่ 1. งาน Manufacturing Expo 2021 ซึ่งมีการจัดงานย่อยๆ อีก 4 งาน เช่น Assembly &

Engineering Today July - August

2020

26

Automation Technology, Automotive Manufacturing, InterMold Thailand และ Surface & Coatings และ งาน GFT 2021 ซึ่งจะจัดในวันเดียวกันคือ วันที่ 23-26 มิถุนายน พ.ศ. 2564 นอกจากนี้ในปีหน้า บริษัทฯ วางแผน การจัดแสดงงานสินค้าใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2 งาน ได้แก่ งาน FacTech 2021 จัดวันที่ 23-26 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และงาน Thai Corrugated & Thai Folding Carton 2021 จั ด วั น ที่ 28-30 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 “ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพในการจั ด งานแสดงสิ น ค้ า ทุ ก ประเภท อี ก ทั้ ง นานาชาติ ใ ห้ ก าร ยอมรั บ เชื่ อ มั่ น ว่ า เมื่ อ ผ่ า นวิ ก ฤต COVID-19 ไปได้ ผูป้ ระกอบการจัดงาน แสดงสินค้าในประเทศจะมีการปรับตัว น�ำนวัตกรรมการจัดงานรูปแบบใหม่ๆ มาน�ำเสนอในตลาดธุรกิจเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเป็นโอกาสที่ดีที่ผู้ประกอบการ ไทยและต่ า งชาติ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ประชาชนผูเ้ ข้าชมงานจะได้เห็นรูปแบบ ใหม่ๆ ที่ล�้ำสมัยมากขึ้น ส�ำหรับการ ฟืน้ ธุ ร กิ จ การจั ด แสดงสิ น ค้ า ของ ผูป้ ระกอบการแต่ละรายนัน้ หากรัฐบาล สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารจั ด งานเพิ่ ม ขึ้ น โรดโชว์งานในต่างประเทศมากขึ้น และ ส่งเสริมอุดหนุนเม็ดเงินสนับสนุนจะ ช่วยให้ผู้ประกอบการและธุรกิจการจัด แสดงสินค้าของผูป้ ระกอบการไทย กลับ มามี ศั ก ยภาพใหม่ ไ ด้ อี ก ครั้ ง ในระยะ เวลาไม่นาน” CEO รี้ด เทรดเด็กซ์ กล่าวทิ้งท้าย


Report • กองบรรณาธิการ

สวทช.จัดเสวนา

“วิกฤต COVID-19 กับมาตรการการรับมือที่ เข้มข้น ภายใต้จริยธรรม ที่เข้มแข็ง”

ส�ำ

นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย จัด เสวนาในหัวข้อ “วิกฤต COVID-19 กับมาตรการการรับมือที่เข้มข้น ภายใต้จริยธรรมที่เข้มแข็ง” โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญทางด้านสาธารณสุข สังคม และเศรษฐกิจ มาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และ ประสบการณ์การรับมือพร้อมหาทางแก้ปัญหา แผนฟื้นฟู COVID-19 อย่ า งรอบด้านและยุติธรรมกับทุกคน โดยค�ำนึงถึงหลักจริยธรรม มนุษยธรรม และความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงการรักษา การได้รับ การเยียวยา และวัคซีนการรักษาเพือ่ ควบคุมการระบาดของ COVID-19 ในประเทศไทย

27

เสนอแนวทางแก้ปัญหา ด้านจริยธรรม 3 กลุ่ม ศ. ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ อดีตรองนายก รั ฐ มนตรี อดี ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และที่ปรึกษา อาวุ โ สผู ้ อ� ำ นวยการ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ขณะนีป้ ระเทศไทยมีมาตรการรับมือ อย่างเข้มข้น ซึง่ ท�ำให้สถานการณ์ COVID-19 เริ่มคลี่คลาย แต่เราไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับ เรื่ อ งจริ ย ธรรมในการดู แ ลที่ เ ข้ ม ข้ น ส� ำ หรั บ ทุ ก ๆ คน ดั ง นั้ น เราต้ อ งหาทางแก้ ป ั ญ หา จริยธรรมที่เกิดขึ้นจากการหยุดโรคที่ไม่หยุด โลกนี้ ทั้ ง นี้ ข อเสนอทางแก้ ป ั ญ หาทางด้ า น จริยธรรมใน 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. จริยธรรมส่วน ร่วมในด้านมาตรการต่างๆ ต้องมีความทั่วถึง ให้ ทุ ก คนในสั ง คมได้ รั บ ประโยชน์ จ าก

Engineering Today July - August

2020


มาตรการ โดยเฉพาะกลุม่ เปราะบาง ได้แก่ เด็ก ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร นักโทษ ผู้อพยพและผู้ลี้ภัยต่างๆ 2. จริยธรรมส่วนร่วมด้านผลกระทบต่อส่วน อื่นๆ ของระบบสุขภาพ ระบบงบประมาณ บุคลากร เพราะโรคอื่นๆ ใน ระบบยังคงมีอยู่ต้องได้รับการรักษาไม่ใช่รักษาแต่ COVID-19 หรือเด็ก นักเรียนที่ยากจนเมื่อหยุดเรียนต้องได้รับการดูแลในเรื่องอาหารจาก งบประมาณที่มีอยู่ด้วย และ 3. การคุ้มกันหมู่ ซึ่งประเทศไทยไม่มี ภูมิคุ้มกันหมู่ตรงนี้ เป็นต้น “ส�ำหรับจริยธรรมส่วนบุคคลในรายละเอียดอื่นๆ นั้น เราท�ำตาม กฎเกณฑ์และกฎหมาย เช่น การไม่ปิดบังตนเองหากมีความใกล้ชิด สัมผัสผู้ป่วยต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบโรคต่อไป และต้องไม่ รังเกียจตีตราคนเป็นโรค” ศ. ดร.ยงยุทธ กล่าว นอกจากนี้ ในส่วนของจริยธรรมระดับโลก องค์การอนามัยโลก (WHO) เคยตั้งข้อสังเกตมาหลายครั้งแล้วว่าอาจจะมีโรคระบาดเกิดขึ้น ในช่ ว งระยะเวลาที่ ผ ่ า นมา เพราะมี สั ญ ญาณเตื อ นจากธรรมชาติ เนื่องจากเราไปฝืนธรรมชาติ ท�ำลายธรรมชาติ บริโภคของป่าท�ำให้โรค ระบาดที่คาดว่าน่าจะมาจากธรรมชาติ มีโอกาสติดมาสู่คนได้ เราต้อง ช่วยกันหาทางป้องกันภัยจากโรคระบาดอืน่ ๆ หาทางแก้ปญ ั หาเฝ้าระวัง ไม่ให้เกิด COVID-19 ในระลอกที่ 2 หรือระลอกที่ 3 ต่อไป หรืออาจจะ มี COVID-20 หรืออื่นๆ ขึ้นในอนาคตร่วมกัน

ศ. ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และที่ปรึกษาอาวุโสผู้อ�ำนวยการ สวทช.

จริยธรรมทางการแพทย์ ในการรักษา COVID-19 อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง ศ. นพ.ยง ภู่วรวรรณ ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยา คลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โคโรนา ไวรั ส มี อ ยู ่ ม านานแล้ ว ในยามภาวะปกติ ก ารศึ ก ษากลไกของมั น มี น้อยมาก แม้ในการศึกษาทีว่ า่ หากเป็นโคโรนาไวรัสแล้วจะเป็นอีกได้หรือ ไม่นั้น ยังไม่มีข้อรายงานเท็จจริงมากนัก ส่วน COVID-19 คาดว่าน่าจะ เกิดจากการบริโภคสัตว์ที่ย่านตลาดอู่ฮั่นในประเทศจีน แต่ที่พบในช่วง เดือนธันวาคม 2562 คาดว่าอยู่ในช่วง Super Spreader แล้ว ท�ำให้ เชื้อเริ่มแพร่ระบาดไปในหลายๆ พื้นที่ ส�ำหรับในประเทศไทยอย่างที่ทราบกัน คาดว่าเริ่มเข้ามาในช่วง เดือนมกราคมและมีการแพร่ระบาด ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อเพิ่มจ�ำนวน มากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะพบในผู้สูงวัยอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป แต่ยัง โชคดีที่การระบาดในไทยนั้นเป็นการระบาดที่มีมาตรการควบคุมการ แพร่เชื้อได้ดี เพราะมีการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวดและได้รับความร่วมมือ จากประชาชนทุกคน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความร่วมมือ จึงจะท�ำให้การระบาดของเชื้อไวรัสนั้นควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม การแพร่ระบาดนี้ยังไม่มีข้อยุติแน่ชัดว่าจะควบคุม ได้ในระยะเวลาใด ต้องรอวัคซีนที่มาควบคุมเท่านั้น ซึ่งในขณะนี้ทั่วโลก ก�ำลังรอวัคซีนเพื่อรักษา COVID-19 “แต่การที่ทุกคนต้องกักตนเองอยู่กับบ้าน ท�ำงานที่บ้าน สถาน บันเทิง การแข่งกีฬา และอื่นๆ เป็นความเสี่ยงสูง ต้องงดเว้นการจัด กิจกรรมท�ำให้เกิดการเสียโอกาส เสียอาชีพ ไม่มงี านท�ำ จะต้องได้รบั การ

Engineering Today July - August

2020

28

ศ. นพ.ยง ภู่วรวรรณ ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ช่วยเหลือจากรัฐบาล และผูท้ ตี่ ดิ เชือ้ ควรได้รบั การรักษาที่เท่าเทียมและทั่วถึงทั้งเรื่องการ ตรวจรักษาเชื้อ การได้รับยาต้านในระหว่าง ทีร่ กั ษาตัว หรือการถอดเครือ่ งช่วยหายใจออก ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ อ ยู ่ ใ นภาวะวิ ก ฤตและมี โ อกาส น้อยที่จะอยู่รอดใครจะเป็น ผู้ตัดสินใจแพทย์ ครอบครัวต้องมีสว่ นรับทราบร่วมกัน” ศ. นพ.ยง กล่าว นอกจากนี้ทุกคนจะต้องซื่อสัตย์ ไม่ ปกปิดข้อมูลเวลาไปพบแพทย์ หรือในระบบ สาธารณสุขก็ต้องมีการเปิดเผยข้อมูลอย่าง โปร่งใส ทัง้ แพทย์ทดี่ แู ลและผูป้ ว่ ยต้องรายงาน


“ในห้วงที่รัฐบาลเริ่มผ่อนปรนแล้ว เราต้องรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม ไม่ปล่อยข่าวที่ท�ำลายความเชื่อมั่น บั่นทอนก�ำลังใจของ บุคลากรทีม่ งุ่ มัน่ ท�ำงาน ควรให้กำ� ลังใจกันเพือ่ ร่วมกันฝ่าฟัน COVID-19” ศ. นพ.ยง กล่าว

จริยธรรมแวดล้อม COVID-19 มุ่งดูแลควบคุมโรคเป็นระบบ-เท่าเทียมกัน

ศ. ดร.โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ

ผลรายงานสถานการณ์ตามความจริงอย่าปกปิด ข้อมูลเพื่อให้การควบคุมโรคได้ผลดี และจะต้อง เคร่งครัดในระเบียบวินัย ดูแลสุขอนามัย ล้างมือ ใส่หน้ากากอนามัยป้องกันตนเองและผู้อื่น

ชี้รัฐเริ่มผ่อนปรนแล้ว ต้องรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม ส�ำหรับระยะทางในการรักษายังไม่มีใคร ตอบได้จะยาวนานแค่ไหน มีชว่ งผ่อนปรนแต่กไ็ ม่ ประมาท ก�ำหนดระยะห่างส�ำหรับบุคคล ก็จะ เป็นการชะลอ หรือลดการระบาดรอบที่ 2 ยังมี ความหวังอย่าประมาท

ศ. ดร.โสรั จ จ์ หงส์ ล ดารมภ์ อาจารย์ ค ณะอั ก ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ส�ำหรับจริยธรรมที่อยู่แวดล้อม COVID-19 มีอยู่หลายส่วน โดยเฉพาะใน 3 เรื่อง ได้แก่ 1. เรื่องแพทย์ ในกรณีทที่ รัพยากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอต่อผูป้ ว่ ยทีเ่ ข้ารับการรักษา ท�ำอย่างไรให้การรักษาทัว่ ถึงและแพทย์กไ็ ด้รบั ความปลอดภัย ได้รบั การ พักผ่อนด้วยเช่นกัน 2. เรื่องสาธารณสุข มีการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมี พ.ร.ก.ฉุกเฉินมาบังคับการด�ำเนินชีวิต ส่งผลกระทบต่อคนอย่างไร และ 3. เรื่องจริยธรรมทางวิชาการ รวมถึง จริยธรรมทางการวิจัยที่จะตีพิมพ์เอาสิ่งที่เรียกว่าความรู้ไปเผยแพร่ ระหว่างความต้องการที่จะได้ที่เรียกว่าความรู้ แต่อาจจะละเลยการ ตรวจสอบที่น�ำไปสู่ความรู้ที่แท้จริง ทัง้ 3 เรือ่ งล้วนมุง่ ประสงค์ทจี่ ะท�ำให้การดูแลควบคุมโรคเป็นระบบ และเท่าเทียมกันในการจัดการอย่างดีทสี่ ดุ การรักษาผูป้ ว่ ยทุกคนต้องได้ รับการรักษาอย่างดีที่สุด ให้ผู้ป่วยหายดีกลับมาใช้ชีวิตตามปกติโดยเร็ว ควรมีคณะกรรมการจริยธรรมควบคุมโรค COVID-19 ซึ่งเป็นโรค อุบัติใหม่ในทุกโรงพยาบาลที่จะคัดกรองผู้ป่วย เสนอการรักษาล�ำดับ ก่อนและหลังในกรณีที่มีผู้ป่วยจ�ำนวนมาก เพื่อให้การรักษาเกิดความ สะดวกรวดเร็ว “ทุกคนควรได้รับรักษาอย่างเท่าเทียมกันไม่ให้เกิดการวิพากษ์ วิจารณ์ที่ไม่เหมาะสม และต้องหาจุดสมดุลในมาตรการทางการแพทย์ และการดูแลทางด้านเศรษฐกิจควบคู่ไปด้วย เพื่อให้การฟื้นฟูทางด้าน การรักษาผู้ป่วยและการฟื้นฟูทางด้านเศรษฐกิจท�ำงานคู่ขนานเมื่อ สถานการณ์คลี่คลายลง” ศ. ดร.โสรัจจ์ กล่าว

เน้นดูแลผู้ป่วยทุกคนให้ ได้เข้าถึง การรักษา พร้อมดูแลสุขภาพเศรษฐกิจ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการมูลนิธิสาธารณสุข แห่งชาติ (มสช.) กล่าวว่า ในสถานการณ์ที่องค์ความรู้เรื่อง COVID-19 ยังไม่แน่ชัดในการพัฒนาวัคซีนที่ใช้ในการรักษาได้อย่างเด็ดขาด ต้องให้ ความส�ำคัญในการดูแลผู้ป่วยทุกคนให้ได้เข้าถึงการรักษา เคารพความ เป็นส่วนตัว ไม่ลิดรอนสิทธิ์ของผู้ป่วย และต้องดูแลสุขภาพทางด้าน เศรษฐกิจที่ต้องปฏิบัติตามมาตรการควบคุมโรค แม้จะมีมาตรการ เยียวยาจากรัฐบาลในการบรรเทาช่วงที่ประกาศให้หยุดกิจกรรมทุก ประเภทแล้วอยู่บ้าน กักตัวเพื่อชาติ ก็ควรจะจ่ายเงินให้ถึงมือทุกๆ คน อย่างเท่าเทียมกัน แต่กย็ งั มีปญ ั หาทีร่ ฐั บาลต้องไปแก้ไขตามสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นเพราะความไม่พร้อมของฐานข้อมูลบุคคลที่จะได้

29

Engineering Today July - August

2020


รับเงินเยียวยา การบูรณาการข้อมูลของบุคคลจากหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น เพราะยังไม่มีใครที่จะสามารถทราบถึงสถานการณ์ COVID-19 แน่ชัดว่าจะยุติเมื่อใดคงต้องรอวัคซีนที่ก�ำลังผลิตออกมาว่าจะสามารถ ยับยั้งเชื้อได้ทั่วทั้งโลก ขณะนี้ในหลายประเทศมีการระบาดมากขึ้น ในระยะที่ 2 ยิ่งต้อง มีการดูแลตนเอง ดูแลพลเมืองมากขึ้น ส�ำหรับในประเทศไทยแม้ว่า จ�ำนวนผู้ป่วยจะลดลง แต่ยากที่จะคาดเดาได้ว่าในระยะที่ 2 จะกลับมา อีกหรือไม่ และตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินยังไม่มีใครตอบได้แน่ชัดว่าจะยกเลิก เมื่อใด ซึ่งแน่นอนว่าจะกระทบสิทธิ์การใช้ชีวิตของคนในสังคมอย่าง หลีกเลีย่ งไม่ได้ การประกอบอาชีพทีเ่ ป็นแหล่งรวมตัวของคนจ�ำนวนมาก ยังคงต้องปิดกิจการเพือ่ ป้องกันเชือ้ แต่ในทางกลับกัน รายได้ สวัสดิการ ต่างๆ ที่พึงจะได้รับจากการท�ำงาน จากการดูแลของรัฐอาจจะได้รับ ผลกระทบ ต้องกลายเป็นบุคคลว่างงาน การเรียกร้องสิทธิ์ต่างๆ ก็จะ กระทบ เพราะต้นทุนของคนในสังคมไม่เท่ากัน มีความหลากหลาย ในสังคม การเข้าถึงองค์ความรู้ในการใช้อุปกรณ์เครื่องป้องกันโรค หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ จะแบ่งชนชั้นอย่างชัดเจน ดังนั้นการ แบ่งปันเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นและควรร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกันในสังคม เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำลงได้บ้าง

สร้างความจ�ำเป็นพื้นฐานในสังคม เป็นรากฐานให้ประเทศมั่นคง ศ. นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ตัวแทนจาก ส�ำนักงานการวิจัย แห่งชาติ (วช.) กล่าวว่า ความเปราะบางในสังคมในด้านสาธารณสุข ช่วงเกิด COVID-19 ส่งผลกระทบอย่างมาก ทั้งเรื่องจ�ำนวนแพทย์ใน การรักษาผู้ป่วย ระบบการดูแลผู้ป่วย ระบบการเตรียมความพร้อมหา สถานที่กักกัน ผู้ป่วยที่ติดเชื้อแยกออกจากผู้ป่วยปกติ และที่ส�ำคัญ อุปกรณ์ทางการแพทย์เริ่มขาดแคลน ท�ำให้ต้องหาอุปกรณ์ที่สามารถ น�ำมาใช้ทดแทน ซึ่งคิดค้นจากนักวิจัยไทยมากขึ้น เพื่อให้แพทย์และ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ที่ ต ้ อ งเข้ า ไปท� ำ การรั ก ษาได้ ป ้ อ งกั น ตนเอง เนือ่ งจากประเทศทัว่ โลกต่างได้รบั ผลกระทบจาก COVID-19 ขาดแคลน อุปกรณ์ทางการแพทย์เช่นเดียวกับประเทศไทย และมีความจ�ำเป็นมาก ขึ้นในการมองหาแนวทางในการดูแลผู้ป่วย ดูแลสังคมและประเทศภาย หลั ง ที่ COVID-19 เริ่ ม ที่ จ ะคลี่ ค ลายลงภายในประเทศเชื่ อ มั่ นว่ า ประเทศไทยรับมือได้ดี แต่การเปิดประเทศในอนาคตจะต้องมีมาตรการที่เข้มข้นและ ปกป้องคนในประเทศเป็นส�ำคัญ จึงจ�ำเป็นที่จะต้องมีข้อก�ำหนดในการ ท�ำงานในอนาคต 3 ด้าน ได้แก่ 1. ความมั่นคงด้านสุขภาพ COVID-19 ไม่ได้เกิดขึน้ เป็นครัง้ แรก แต่จากประวัตศิ าสตร์เผ่าพันธุม์ นุษย์ถกู รุกราน ด้วยโรคระบาดมาหลายครั้งหลายครา และมีการพัฒนาสาธารณูปโภค ให้ดีขึ้นมาตลอดอย่างต่อเนื่อง แต่โรคอุบัติใหม่ก็มีวิวัฒนาการที่ท้าทาย และโจมตีประเทศที่อ่อนแอและไร้การป้องกันทางด้านสาธารณสุขที่ดี

Engineering Today July - August

2020

30

อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเช่ น กั น ดั ง นั้ น ภายหลั ง ที่ สถานการณ์ COVID-19 คลี่คลายลง ควรที่ จะสร้างความมัน่ คงทางด้านสุขภาพเป็นวาระ แห่งชาติในการปกป้องประเทศให้ทกุ คนเข้าถึง การรักษาสุขภาพ มีสิทธิ์ทางการรักษาถ้วน หน้าทั่วถึงส�ำหรับทุกคนและควรมีการคิดค้น ยารองรับโรคอุบตั ใิ หม่ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ รวมทัง้ เร่งสร้างงานวิจัยทุกรูปแบบมารองรับเป็น เครื่องมือในการยับยั้งเชื้อล่วงหน้า 2. ความ มัน่ คงทางด้านอาหาร หลายประเทศทีม่ คี วาม มัน่ คงทางเศรษฐกิจกลับไม่มกี ำ� ลังส�ำรองเรือ่ ง อาหารภายในประเทศ ท�ำให้เกิดภาพการ ขาดแคลนอาหารในยามวิกฤต และควรมีการ แบ่งปันอาหารแก่ประเทศที่ขาดแคลนด้วย เพื่อมนุษยธรรม และ 3. ความมั่นคงทางด้าน ดิจิทัล ทุกประเทศต่างเจ็บปวดที่ธุร กิจล้ม แต่ธุรกิจที่ยังรอดอยู่ได้เพราะทุกคนไม่ย่อท้อ และคอยช่วยหาทางแก้ปญ ั หาร่วมกัน มีการน�ำ Digital Technology มาใช้ติดต่อสื่อสาร แลก เปลี่ยนองค์ความรู้ พูดคุยให้ก�ำลังใจในช่วงที่ ต้องกักตัวอยู่ท่ีบ้าน การท�ำงานที่ต้องพบปะ กันเริ่มลดลงและหากปล่อยให้กิจกรรมทุกๆ อย่างหยุดชะงักจะส่งผลต่อการฟื้นฟูธุรกิจ สังคม และประเทศชาติในอนาคตได้ยากยิง่ ขึน้

ศ. นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ตัวแทนจาก ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)


ดร.ดอน นาครทรรพ ผู้อำ� นวยการอาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย

“อยากแนะน� ำ ว่ า ถึ ง แม้ ส ถานการณ์ COVID-19 จะค่อยๆ ดีขึ้น ก็อยากให้ทุกคน ยังคงดูแลตนเอง ระวังตนเอง โดยเฉพาะกลุม่ เสี่ ย งติ ด เชื้ อ เป็ น อั น ดั บ แรกเพื่ อ ห่ า งไกล COVID-19 เช่น การล้างมือ สวมใส่หน้ากาก อนามั ย อยู ่ เ สมอไม่ ว ่ า จะป่ ว ยหรื อ ไม่ ป ่ ว ย เรียนรู้การอยู่กับสถานการณ์ COVID-19 รวมทัง้ การออกก�ำลังกายอยูภ่ ายในบ้านหรือ ในพืน้ ทีท่ เ่ี หมาะสม และปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ของ รัฐบาลอย่างเคร่งครัด” ศ. นพ.สมเกียรติ กล่าว

นโยบายด้านเศรษฐกิจ ในการรับมือ สถานการณ์ COVID-19 ดร.ดอน นาครทรรพ ผู้อ�ำนวยการ อาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่ง ประเทศไทย (ธปท.) กล่าวว่า ในสถานการณ์ COVID-19 การสร้างสมดุลระหว่างสุขภาพ กับทางเศรษฐกิจจะต้องประคับประคองรวม ทัง้ มีมาตรการฟืน้ ฟูรว่ มกัน เชือ่ ว่าการท�ำงาน ทีผ่ า่ นมามีความพร้อมและทิศทางการท�ำงาน ที่ดีและมาถูกทาง การดูแลไม่ปล่อยให้การ ระบาดเพิ่มขึ้น ก�ำหนดพื้นที่ระบาด จ�ำกัด วงให้แ คบลง และการเตรียมความพร้อม ทางการแพทย์ แ ม้ จ ะไม่ มี วั ค ซี น รั ก ษาได้ เด็ดขาด แต่การรักษาตามอาการก็ได้ผลที่ดี

เพราะหากปล่ อ ยให้ ร ะบาดเพิ่ ม ขึ้ น จะยิ่ ง ท� ำ ลายเศรษฐกิ จ จนยากที่ จะฟื้นคืนกลับมาได้ แน่นอนว่าการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินของรัฐบาลจะส่ง ผลต่อเศรษฐกิจในการท�ำมาหากินของหลายๆ กิจกรรมโดยเฉพาะ ผู้ประกอบการรายย่อยหรือ SME ที่มีเงินท�ำธุรกิจไม่เพียงพอต้องปิดตัว ลงอย่างต่อเนื่องและตลาดแรงงานเปราะบางขึ้น สะท้อนจากจ�ำนวน ผู้ขอรับสิทธิ์ว่างงานในระบบประกันสังคมที่เพิ่มขึ้นมาก ซึ่งเป็นเรื่องที่ น่ากังวล แต่ภาครัฐพยายามที่จะออกมาตรการช่วยเหลือเข้ามาดูแล ทางด้านการเงินเพื่อประคองทุกๆ อาชีพให้อยู่รอด “แต่วิกฤต COVID-19 เป็นวิกฤตที่สร้างความล�ำบากในทุก ภาคส่วน การแก้ปญ ั หาอาจจะท�ำได้ชา้ กว่าปกติและต้องรอบคอบ อีกทัง้ การด�ำเนินการดูแลทางด้านเศรษฐกิจแม้จะมีการประเมินรอบด้านแล้ว แต่ประเทศไทยยังต้องพึ่งพาการส่งออก การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ เมื่อต่างประเทศได้รับผลกระทบจากวิกฤตนี้เช่นเดียวกัน ก็ยากที่จะ พลิกฟื้นเศรษฐกิจได้ในเร็ววัน รัฐบาลต้องรักษาวินัยการเงินการคลังใน การใช้จ่ายเงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบทุกๆ คน เช่น ออกมาตรการ สินเชือ่ ดอกเบีย้ ต�ำ่ (Soft Loan) การผ่อนผันการจ่ายเงินคืน การลดอัตรา การส่งเงินสมทบให้กับกองทุนประกันสังคม การลดภาษีให้กับวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ที่ไม่ลดจ�ำนวนลูกจ้าง การกระจาย งานสู่ชนบทให้มีงานรองรับ มีเงินเพิ่มขึ้น และการน�ำงบประมาณใช้ ในการฟื้นฟู COVID-19 ของภาครัฐจะต้องกระท�ำโดยความรอบคอบ เป็นต้น” ดร.ดอน กล่าว ที่ส�ำคัญต้องไม่ให้สถาบันการเงินล่มเหมือนในวิกฤตต้มย�ำกุ้ง ปี พ.ศ. 2540 และการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจต้องเร่งกระท�ำทั้งระบบ คนทีถ่ กู เลิกจ้างต้องเดินทางกลับไปต่างจังหวัด ต้องมีแนวทางในการดูแล หางานรองรับในพื้นที่ แรงงานด้านการเกษตรจะต้องปรับเปลี่ยนน�ำ เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต การดูแลด้านการท่องเที่ยวต้องกระตุ้น การท่องเที่ยวภายในประเทศก่อนที่จะเปิดประเทศให้นักท่องเที่ยวชาว ต่างชาติเข้ามา หรืออาจจะเปิดประเทศให้นักท่องเที่ยวในประเทศ ที่ปลอดโรคปลอดเชื้อเข้ามาตามจ�ำนวนที่เหมาะสม ไม่มากเหมือน ในช่วงที่ผ่านมา เพื่อที่จะควบคุมดูแลได้ง่ายขึ้น โดยน�ำจุดแข็งของ ประเทศทางด้านอาหารมาใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น เชื่อว่าภายหลังจาก COVID-19 ยุติ จะเกิดภาวะขาดแคลนอาหารทั่วโลกและประเทศไทย มีศกั ยภาพด้านอาหาร หากรัฐบาลน�ำจุดแข็งตรงนีไ้ ปพัฒนาสร้างโอกาส จะช่วยสร้างรายได้เข้าประเทศได้มากขึ้น และควรมีการน�ำงานวิจัย ทุกๆ บริบทมาใช้ในการขับเคลื่อนประเทศทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ อย่างรู้เท่าทัน ไม่ตระหนก ไม่ประมาท และมีมาตรการรองรับรอบด้าน ทีเ่ ข้มแข็ง อย่างน้อยจนกว่าจะพบวัคซีนในการป้องกัน COVID-19

31

Engineering Today July - August

2020


Report • กองบรรณาธิการ

สภาวิศวกร

ผนึกก�ำลังหน่วยงานท้องถิน่

ส�ำรวจปัญหาน�้ำกัดเซาะ “ชุมชนสนามจันทร์” เตรียมเสนอแผนภาครัฐบริหารจัดการวิถีชุมชนริมน�ำ้ ยั่งยืน ภาพความเสียหายจากปัญหาน�ำ้ กัดเซาะ

สภาวิศวกร ผนึกก�ำลังหน่วยงานท้องถิน่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ปูพรมส�ำรวจปัญหาน�้ำกัดเซาะ “ชุมชนสนามจันทร์” หลังถูกน�้ำ กัดเซาะนานกว่าสิบปี และพืน้ ทีห่ ลายครัวเรือนจมหายไปกับแม่นำ�้ เป็นวงกว้าง เล็งเสนอแนวทางแก้ ไขอย่างเป็นรูปธรรมตามหลัก วิศวกรรม ผ่านการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจความเสียหาย สอบถามปัจจัย เร่งการกัดเซาะ ฯลฯ พร้อมผลักดันสูแ่ ผนพัฒนาพืน้ ทีช่ มุ ชนริมน�ำ้ อย่างยั่งยืน เสนอภาครัฐ ในฐานะชุมชนต้นแบบแก่พื้นที่ริมแม่น�้ำ อื่นในอนาคต ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร >

ร้อมกันนี้ สภาวิศวกร ได้เแนะให้ภาคประชาชนรับมือ ปัญหาน�้ำกัดเซาะ 3 ขั้นตอน ได้แก่ เลี่ยงปลูกบ้านติด ริมตลิง่ เหตุพนื้ ดินริมตลิง่ มีความอ่อนไหวและเสีย่ งกัดเซาะสูง สร้างแนว ชะลอน�ำ้ ทันที เพือ่ ชะลอการถูกกัดเซาะตัง้ แต่ระยะแรก และ หมัน่ สังเกต ระดับน�ำ้ /การพังทลายของดิน ข้อมูลเชิงสถิตหิ นุนหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รุดตรวจสอบ ศ. ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ นายกสภาวิ ศ วกร กล่ า วว่ า สภาวิศวกร พร้อมด้วยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) วิศวกรอาสา และหน่วยงานท้องถิน่ จังหวัดฉะเชิงเทรา อาทิ จังหวัดฉะเชิงเทรา อ�ำเภอบ้านโพธิ์ องค์การบริหารส่วนต�ำบล สนามจันทร์ ส�ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 กรมเจ้าท่าจังหวัดฉะเชิงเทรา

Engineering Today July - August

2020

32

ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ร่ ว มหารื อ ถึ ง แนวทางการบริ ห ารจั ด การ พื้นที่แบบองค์รวมฯ ของ “ชุมชนสนามจันทร์” ชุมชน ริมแม่น�้ำบางปะกง ที่ได้รับผลกระทบจากการกัดเซาะนาน นับสิบปี และพื้นที่หลายครัวเรือนจมหายไปกับแม่น�้ำเป็น วงกว้าง เพือ่ เป็นกรณีศกึ ษา อันน�ำไปสูก่ ารเสนอแผนพัฒนา พื้นที่ชุมชนริมน�้ำอย่างยั่งยืนแก่ภาครัฐ ในการเป็นชุมชน ต้นแบบแก่พื้นที่ริมแม่น�้ำอื่นในอนาคต ผ่านการลงพื้นที่ ส�ำรวจความเสียหายเชิงโครงสร้าง สอบถามประชาชนถึง ปัจจัยร่วมที่มีส่วนเร่งให้เกิดการกัดเซาะของดิน ตลอดจน แนะแนวทางการชะลอการกัดเซาะตามหลักวิศวกรรมศาสตร์


ส�ำรวจความเสียหายปัญหาน�้ำกัดเซาะ “ชุมชนสนามจันทร์”

นายกสภาวิศวกรลงพื้นที่ซักถามข้อมูล พร้อมให้คำ� แนะน�ำ ภาคประชาชนแก้ปัญหาน�ำ้ กัดเซาะ

พร้อมกันนี้ สภาวิศวกรได้แนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการ กัดเซาะในภาคประชาชน สามารถท�ำได้ใน 3 ขัน้ ตอน มีรายละเอียดดังนี้ • เลี่ยงปลูกบ้านติดริมตลิ่ง เพราะพื้นดินบริเวณริมตลิ่ง จะมี ความอ่อนไหวและเสี่ยงต่อการกัดเซาะสูง ดังนั้น เมื่อพื้นดินบริเวณ ดังกล่าว ท�ำหน้าที่รับน�้ำหนักบ้านในปริมาณมาก ย่อมเสี่ยงต่อการทรุด หรือพังทลายของดิน และในกรณีที่มีฝนตกหนัก ยิ่งส่งผลกระทบหรือ สร้างความเสียหายแบบทวีคูณ นอกจากนี้ หากพื้นที่บ้านอยู่ในลักษณะ ที่มีคลองและแม่น�้ำประกบโดยรอบ ย่อมมีความเสี่ยงในการกัดเซาะสูง กว่าพื้นที่บริเวณอื่น • สร้างแนวชะลอน�้ำทันที ประชาชนควรด�ำเนินการจัดหาหิน ถมตลิ่งหรือก�ำแพงกันดิน ตั้งแต่ระยะแรกของการก่อสิ่งปลูกสร้าง เพื่อชะลอการถูกกัดเซาะ หรือในกรณีที่น�้ำกัดเซาะอย่างรวดเร็ว และ ใกล้บริเวณบ้านจากอัตราเร่งของน�ำ้ ทีส่ งู ขึน้ จะต้องตอกเสาเข็มท�ำก�ำแพง กันดินให้ลึกมากที่สุด (ขึ้นอยู่กับระดับความสูงของน�้ำ) เพื่อลดการ กัดเซาะที่เพิ่มมากขึ้น

33

• หมั่ น สั ง เกตระดั บ น�้ ำ /การพั ง ทลายของดิ น การหมั่ น สั ง เกตระดั บ น�้ ำ และอั ต ราการทลายของดิ น อย่างต่อเนือ่ งทุกเดือน จะเป็นข้อมูลเชิงสถิตทิ สี่ ำ� คัญต่อการ แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรุดตรวจสอบ และในกรณีที่ตรวจ พบความผิ ด ปกติ รุ น แรง สามารถแจ้ ง มายั ง หน่ ว ยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ค�ำนวณความเสีย่ ง ตลอดจนแนะน�ำวิธกี าร แก้ไขได้อย่างตรงจุด โดยประชาชนสามารถสังเกตระดับน�ำ้ และการพังทลายของดินด้วยตนเองอย่างง่าย ด้วยการน�ำ ไม้ไปปักในจุดที่สังเกตเห็นและมั่นคง หรือถ่ายภาพเก็บไว้ อย่างไรก็ดี ภายหลังจากการลงพื้นที่ส�ำรวจความ เสียหายของชุมชนสนามจันทร์นั้น สภาวิศวกร และหน่วย งานทีเ่ กีย่ วข้อง ต้องด�ำเนินการศึกษาข้อมูลเชิงลึกทางสถิติ จากหน่วยงานราชการอย่างถี่ถ้วน อาทิ อัตราการเร่งของ น�้ำรายปี ขณะเปิดหรือปิดประตูเขื่อน การเปลี่ยนแปลง ระดับความสูงของน�้ำโดยเฉลี่ยต่อเดือน เพื่อวิเคราะห์ถึง สาเหตุทแี่ ท้จริงของการกัดเซาะ และการสูญเสียทีด่ นิ ไปกับ แม่น�้ำบางปะกงของประชาชน อันน�ำไปสู่การแก้ปัญหาได้ อย่างยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ ปัญหาน�้ำกัดเซาะพื้นที่ริมชายฝั่ง แม่นำ�้ ถือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เพราะพื้นที่ใดที่มี การไหลผ่านของน�ำ้ ย่อมมีปญ ั หาการกัดเซาะเกิดขึน้ ซึง่ เป็น สิง่ ทีพ่ บเจอได้ทวั่ โลก ขณะทีท่ วั่ ประเทศของไทย อาทิ ชุมชน ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำแม่กลอง แม่น�้ำปิง ก็ประสบ ปัญหาดังกล่าว และมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาตามหลัก การทางวิศวกรรม ภายใต้เงื่อนไขของความเสี่ยงอันตราย ตามล�ำดับ “สภาวิศวกร ตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของชุมชนริมน�ำ้ รวมถึงพื้นที่อื่นๆ มาโดยตลอด โดยหากประชาชนประสบปัญหาเรือ่ งโครงสร้างเชิงวิศวกรรม ทางสภาวิศวกร และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ก็ความพร้อมให้ความช่วยเหลือพี่น้องประชาชน ผ่านการ ลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจความเสียหาย และให้คำ� ปรึกษาผ่านสายด่วน สภาวิศวกร 1303 ทันที” นายกสภาวิศวกร กล่าว

Engineering Today July - August

2020


Energy Today • กองบรรณาธิการ

อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ รับตราสัญลักษณ์

“อาคารประหยัดพลังงาน” จาก กฟน. ตอกย�ำ้ “สุดยอดอาคารอนุรักษ์พลังงาน” ของไทย

อ็มไพร์ ทาวเวอร์ อาคารส�ำนักงาน ภายใต้การบริหารงาน ของแอสเสท เวิรด์ คอร์ปอเรชั่น ตอกย�้ำการเป็น ผู้น�ำด้าน อาคารอนุรักษ์พลังงานของเมืองไทย ล่าสุด เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ได้รับ ตราสัญลักษณ์ “อาคารประหยัดพลังงาน” จากการจัดประกวดอาคาร ประหยัดพลังงานของการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA Energy Saving Building ซึ่งจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ลดการใช้พลังงานอย่างเป็นรูปธรรม สนับสนุนให้อาคารด�ำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน มีการปรับปรุง การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมสร้างจิตส�ำนึกของพนักงาน ทุ ก ระดั บ ชั้ น รณรงค์ ใ ห้ เ กิ ด การมี ส ่ ว นร่ ว ม สื่ อ สารผ่ า นกิ จ กรรม ประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อพัฒนาอาคารของตน ให้เป็นต้นแบบอาคารประหยัดพลังงานระดับประเทศ และก้าวไปสูร่ างวัล ส�ำคัญด้านพลังงานระดับสากลต่อไป ส�ำหรับรางวัลดังกล่าวจะมอบให้แก่อาคารที่ด�ำเนินการอนุรักษ์ พลังงานมาอย่างต่อเนื่อง และต้องผ่านเกณฑ์ตามที่ กฟน. ก�ำหนด โดยพิจารณาตัดสินจากเงื่อนไขด้านการใช้พลังงาน MEA Index หรือ ตัวชีว้ ดั ระดับการใช้พลังงานที่ กฟน. ได้พฒ ั นาขึน้ ใหม่ ช่วยสะท้อนให้เห็น ถึงระดับประสิทธิภาพการใช้พลังงานของตนเองเทียบกับค่ามาตรฐาน

Engineering Today July - August

2020

34

ที่ควรจะเป็นในอาคารประเภทเดียวกัน เพื่อเป็นแนวทาง ส�ำหรับการลงทุนทางด้านพลังงาน หรือเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมในการปรับปรุงพัฒนาการใช้พลังงานอย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งนับเป็นอีกหนึ่งความ ส� ำ เร็ จ ที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พลังงานมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มศักยภาพการเติบโต ไปพร้อมกับสังคมไทยอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ได้ดำ� เนินนโยบายด้านการ อนุรกั ษ์พลังงานมาอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในส่วนการปรับเปลีย่ น บริเวณเพดานของลานอเนกประสงค์ชั้น G ให้เป็นลาน กระจกขนาดใหญ่ ที่ใช้แสงสว่างจากพลังงานแสงอาทิตย์ ทดแทนการใช้ไฟฟ้า รวมทั้งการเปลี่ยนหลอดไฟในพื้นที่ ส่วนกลางทัง้ หมดให้เป็นหลอดไฟ LED ซึง่ ช่วยให้ประหยัด พลั ง งานได้ ม ากกว่ า ปกติ ที่ ส� ำ คั ญ ยั ง ประหยั ด การใช้ พลั ง งานด้ ว ยการลดชั่ ว โมงการใช้ พ ลั ง งานของระบบ ส่วนกลาง ส่งผลให้ในแต่ละปี เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ มีผล ประหยัดพลังงานไฟฟ้าต่อปีได้มากขึ้น


Digital Economy @Engineering Today Vol. 4 No. 178

13 พันธมิตร นำแพลตฟอรม IDA ยกระดับอุตสาหกรรมใน EECi เพ�่มประสิทธิภาพการผลิต และอนุรักษพลังงาน หลัง COVID-19

นักว�จัยแนะแนวทาง ในการนำน้ำเสีย กลับมาใชใหมของเมือง มุงใหเปนแหลงน้ำ ตนทุนใหมของ EEC Smart City

EEC แนะเตร�ยมกำลัง บุคลากรทุกดาน ใหมีทักษะสูงข�้น รองรับภาคอุตสาหกรรม และอื่นๆ หลัง COVID-19 ยุติ


Digital • กองบรรณาธิการ

13

พันธมิตร น�ำแพลตฟอร์ม IDA ยกระดับอุตสาหกรรมใน EECi เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและอนุรักษ์พลังงาน หลัง COVID-19

เมือ่ เร็วๆ นี้ มีการจัดพิธลี งนามความร่วมมือแบบพหุพาคี ออนไลน์ ผ ่ า นระบบ Webex โดย 13 พันธมิตรครั้ง แรกใน ประเทศไทย เพื่อประกาศเจตนารมณ์ในความร่ว มมือเพื่อ ยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 โดยการ ผลักดันแพลตฟอร์ม IDA หรือ Industrial IoT and Data Analytics Platform ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มไอโอที (IoT) และ ระบบวิเคราะห์ข้อมูลส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ที่เชื่อมโยง ข้อมูลจากเครื่องจักรการผลิต และน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและอนุรักษ์พลังงานให้ดีที่สุด ตอบสนองความจ�ำเป็นเร่งด่วนต่อการปรับตัวของ SME ใน ภาคการผลิต สอดรับการเปลี่ยนแปลงรอบด้านภายหลังจาก COVID-19 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ส�ำหรับความร่วมมือในครัง้ นีน้ อกจากจะได้รบั การสนับสนุน จากหน่วยงานภาครัฐ ประกอบด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) และ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) แล้ว ยังมีบริษทั เอกชนทัง้ ทีเ่ ป็นผูผ้ ลิตเทคโนโลยีรายใหญ่ในวงการ Industry 4.0 ของโลกและบริษัทเอกชนไทย รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน

Engineering Today July - August

2020

8 บริ ษั ท ร่ ว มท� ำ งานเพื่ อ ส่ ง มอบเทคโนโลยี ที่ เ ข้ า ถึ ง ได้ แ ก่ ผู้ประกอบการ SME ไทย ดังนี้ บริษัท ซีเมนส์ อินดัสเทรียล จ�ำกัด, บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษทั ออมรอน อีเลคทรอนิคส์, บริษทั พาโลอัลโต้ เน็ตเวิรก์ ส์, บริษทั เน็กซ์พาย จ�ำกัด, บริษทั บางกอกอินดัสเทรียลแก๊ส จาํ กัด และ สถาบันเทคโนโลยีการผลิตสุมิพล โดยแต่ละรายจะมีการ สนับสนุนการทดลองใช้เทคโนโลยี/อุปกรณ์/ผลิตภัณฑ์ เพือ่ ท�ำการ ทดสอบการใช้งานจริงในโรงงานน�ำร่อง มีการแบ่งปันองค์ความรู้ เพื่อการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งการพัฒนาก�ำลังคนและบุคลากร ด้าน Industry 4.0 เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนอย่างเป็นระบบ ดร.สุ วิ ท ย์ เมษิ น ทรี ย ์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ประธาน ในพิธี กล่าวว่า โลกหลัง COVID-19 จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมจะมีความจ�ำเป็นในการ ปรับตัวของทุกภาคส่วนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะในภาค การผลิตที่มีการแข่งขันสูง และในปัจจุบันมีความผันผวนสูงเช่น เดียวกัน รัฐบาลจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องช่วยสนับสนุน SME ให้สามารถปรับใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม และรองรับความ ท้าทายใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

36


ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า การ พั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม เพื่ อ ช่ ว ยยกระดั บ ภาค อุ ต สาหกรรมเป็ น พั น ธกิ จ หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญของ สวทช. โดยในปี พ.ศ. 2564 ได้เสนอให้รัฐบาลลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ เพือ่ สนับสนุนการขยายผลงานวิจยั สูก่ ารใช้ประโยชน์ (Translational Research) โดยการจัดตัง้ ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยัง่ ยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC) ขึ้นภายในเมืองนวัตกรรม ARIPOLIS ซึ่งเป็นหนึ่งในเมืองนวัตกรรมเป้าหมายภายใต้ EECi ท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางนวัตกรรมด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอัจฉริยะในอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy) และสามารถตอบโจทย์ความ ต้องการของอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC เป็นการช่วยลดช่องว่าง ของการพัฒนาอุตสาหกรรมและสามารถช่วยยกระดับการผลิต สู่ Industry 4.0 ได้ในอนาคต

ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

โดยเทคโนโลยี “แพลตฟอร์ม IDA” (Industrial IoT and Data Analytics Platform: IDA Platform) เป็นแพลตฟอร์มไอโอที และระบบวิเคราะห์ข้อมูลอุตสาหกรรม ที่ช่วยติดตาม วิเคราะห์ ข้อมูล และตรวจสอบประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงาน รวมถึง ค่าสภาวะต่างๆ ของเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อช่วย ปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิ ต ให้ มี ศั ก ยภาพและแม่ น ย� ำ มากขึ้ น ส�ำหรับการเปิดตัวในวันนี้ก็นับเป็นหนึ่งในงานส�ำคัญที่จะเกิดขึ้น ในศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน ภายใต้ EECi ARIPOLIS แห่งนี้ พัฒนา แสงศรีโรจน์ รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า กฟผ.ได้รบั มอบหมาย จากกระทรวงพลังงานในการด�ำเนินงานตามมาตรการอนุรักษ์ พลั ง งานส� ำ หรั บ ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยพลั ง งาน ซึ่ ง มี เ ป้ า หมาย ประหยัดไฟฟ้า (Energy Efficiency Resources Standards : EERS) ตามกลยุทธ์ในแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) ซึง่ ทีผ่ า่ นมา กฟผ. ด�ำเนิน

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อำ� นวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)

ยกระดั บ ภาคอุ ต สาหกรรมของประเทศไทยให้ เ ข้ า สู ่ ก ารเป็ น Industrial 4.0 สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้ ซึ่งจะสอดคล้อง กับวิสัยทัศน์ของ กฟผ. ที่จะน�ำนวัตกรรมพลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิต ที่ดีกว่าของทุกภาคส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) กล่าวว่า ดีป้าและ สวทช. ได้ ร่วมมือกันเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั ของประเทศ เสมอมา เพราะในการขับเคลือ่ นประเทศสูย่ คุ ดิจทิ ลั นัน้ ไม่ใช่หน้าที่ ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึง่ แต่ตอ้ งเกิดจากการประสานความ ร่วมมือจากหลายฝ่าย เพื่อให้เกิดเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนได้ ความร่วมมือในครั้งนี้เป็นความ ร่วมมือด้านวิชาการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีขับเคลื่อน อุตสาหกรรม 4.0 เพื่อยกระดับการด�ำเนินงานแบบบูรณาการ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ โดยดีป้าและ สวทช. จะมุ่งพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่อยอดงานวิจัยจากหิ้งสู่ห้างเข้าสู่ตลาด

โครงการน�ำร่องศึกษาผลการลดการใช้ไฟฟ้า ผ่านการจัดการด้าน การใช้ไฟฟ้า (Demand Side Management) ที่ด�ำเนินงานมา อย่างยาวนานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ประกอบด้วย งานที่ปรึกษาใน รูปแบบ ESCO ให้กบั ลูกค้าทัง้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ทั้ ง รายใหญ่ แ ละรายเล็ ก (SME) โครงการปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงเรียนและภาคครัวเรือน และ โครงการฉลากประหยั ด ไฟฟ้ า ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง นอกจากนี้ ในปั จ จุ บั น กฟผ. มี น โยบายในการพั ฒนาแนวทางการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานของผู ้ ป ระกอบการโรงงาน อุตสาหกรรมผ่านระบบ Smart Energy Digital Platform ซึ่ง ผสมผสานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กับระบบตรวจวัดอัจฉริยะ และประมวล ผลข้อมูลด้วยระบบ Data Analytic with AI ซึ่งจะตอบโจทย์ เป้ า หมายของการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ พ ลั ง งานสู ง สุ ด ซึง่ ประสบการณ์และ Core Competency ของ กฟผ. ในด้านต่างๆ จะถูกน�ำมาใช้ในการผลักดันโครงการ IDA แพลตฟอร์มเพื่อ

37

Engineering Today July - August

2020


“พพ. พร้ อ มที่ จ ะสนั บ สนุ น และร่ ว มมื อ ในโครงการนี้ อย่างเต็มที่ เพื่อให้เกิดผลในระยะยาวในการลดการใช้พลังงาน ตามเป้าหมายของประเทศที่วางไว้ต่อไป” โกมล กล่าว สุ พั น ธุ ์ มงคลสุ ธี ประธานสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า แพลตฟอร์ม IDA หรือแพลตฟอร์ม IoT นั้ น เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สมาชิ ก ของสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากจะท�ำให้ผู้ประกอบการหรือ เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมนัน้ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีขนั้ สูงได้ ในราคาทีไ่ ม่สงู มาก เพราะว่าเป็นเทคโนโลยีทมี่ กี ารพัฒนาภายใน ประเทศโดยคนไทย” ซึ่งแพลตฟอร์มจะมีการใช้เทคโนโลยี IoT มาช่วยเป็นเครื่องมือ ช่วยให้เกิด KPI (Key Performance Index) ในการปรับปรุงโรงงานอย่างมีทิศทางช่วยส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดการปฏิรปู ของภาคอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ รวมทัง้ ช่วย สถานประกอบการ โรงงาน และบริษทั SME ให้สามารถยกระดับ ความสามารถและประสิทธิภาพสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 เข้าสู่ Industry Transformation ของภาคอุตสาหกรรม ส่งผลให้นโยบาย Thailand 4.0 เกิดผล อย่างเป็นรูปธรรม โดยสมาชิกสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย สามารถเข้าร่วมโครงการเพือ่ ปรับปรุงโรงงานให้มี ประสิทธิภาพมากขึน้ ผ่านทางโครงการและความร่วมมือในครัง้ นี้ ดร.ชั ย วุ ฒิ วิ วั ฒ น์ ชั ย ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. กล่าวว่า แพลตฟอร์ม IDA สามารถประยุกต์ใช้ได้หลายงาน เช่น 1) การตรวจวัดปริมาณการใช้พลังงานในโรงงาน (Energy Monitoring) เพือ่ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และปรับปรุงประสิทธิภาพ การใช้พลังงานในโรงงาน 2) การปรับปรุงประสิทธิภาพของ กระบวนการผลิต หรือ Overall Equipment Effectiveness (OEE) เพื่อเพิ่มผลผลิต (Productivity) แก่โรงงานอุตสาหกรรม 3) การบ�ำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance) เพื่อ ช่วยลดต้นทุนและเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต มีเป้าหมายในการ ขยายผลสู่ 500 โรงงานในระยะ 3 ปี ซึ่งในปี พ.ศ. 2563 นี้ จะมีการติดตัง้ ระบบในโรงงานอุตสาหกรรมน�ำร่อง จ�ำนวน 10-20 โรงงาน โดยเป็ น การร่ ว มทดสอบระบบและอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ใ น แพลตฟอร์ม IDA เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสามารถเชือ่ มต่อกันได้กบั ผูผ้ ลิต เทคโนโลยีชั้นน�ำจากต่างประเทศ ทั้งนี้ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมสามารถสมัคร เข้าร่วมโครงการ IDA แพลตฟอร์มได้ โดยจะได้รับการประเมิน ความพร้อมในการก้าวสู่ Industry 4.0 ด้วยดัชนีชวี้ ดั ความพร้อม อุตสาหกรรมสมัยใหม่ (Smart Industry Readiness Index) และการติดตั้งระบบมอนิเตอร์อัจฉริยะ

โกมล บัวเกตุ รองอธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

เชิงพาณิชย์ที่สนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายของ รัฐบาล รวมถึงการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ดจิ ทิ ลั เพือ่ ยกระดับ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ดิจิทัลในประเทศ ช่วยลดความเสี่ยงของ ประชาชนในการเลือกใช้สินค้าหรือบริการดิจิทัลที่ด้อยคุณภาพ ตลอดจนการร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรและก�ำลังคนทีม่ ที กั ษะ ด้านดิจทิ ลั โดยเฉพาะในสาขาทีข่ าดแคลนป้อนเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรม รองรับกับการขับเคลื่อน Thailand 4.0 นอกจากนี้ในการพัฒนาพื้นที่ EEC ด้านกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) โดยดีป้า ได้เร่งสร้าง Thailand Digital Valley ใน EECd (Digital Park Thailand) เพื่อเป็นการ เตรียมพร้อมโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลของประเทศ ซึ่งดีป้า มุ ่ ง พั ฒนาให้ เ กิ ด เป็ น ศู น ย์ ก ลางของการออกแบบและพั ฒนา เทคโนโลยีดิจิทัลของภูมิภาค หรือ ASEAN Digital Hub เพื่อ รองรับการท�ำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน เป็นพื้นที่ วิเคราะห์ ทดสอบ ทดลอง เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลของ นักลงทุนและของ Digital startup ทั้งของไทยและต่างประเทศ โกมล บัวเกตุ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กล่าวว่า ภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคส่วน ที่มีการใช้พลังงานสูงและมีศักยภาพสูงในการอนุรักษ์พลังงาน เป็นหนึง่ ในเป้าหมายส�ำคัญตามแผนอนุรกั ษ์พลังงานของประเทศ โดย พพ.มีกลไกในการก�ำกับดูแลโรงงานให้มีการจัดการการใช้ พลังงานให้มีประสิทธิภาพและการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่มี ประสิทธิภาพสูงขึน้ ทัง้ ในรูปของเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ การปรับปรุง กระบวนการผลิตและระบบควบคุมที่มีประสิทธิภาพ โดยการ พัฒนาแพลตฟอร์ม IDA ภายใต้ความร่วมมือดังกล่าวจะเป็นเครือ่ ง มือหนึ่งที่ส�ำคัญในการช่วยก�ำกับดูแลการใช้พลังงานของโรงงาน ให้มีประสิทธิภาพอย่างมีมาตรฐานและเป็นระบบ ภายใต้ พ.ร.บ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ที่ พพ. ก�ำกับดูแล และ สามารถขยายผลให้ครอบคลุมในประเภทอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้ ในอนาคต ซึ่งนวัตกรรมนี้จะช่วยยกระดับให้การอนุรักษ์พลังงาน ในระดั บ ประเทศก้ า วไปอี ก ขั้ น โดยน� ำ นวั ต กรรมด้ า นข้ อ มู ล วิ ศ วกรรมมาวิ เ คราะห์ ค้ น หาจุ ด สู ญ เสี ย และวิ ธี ก ารเพิ่ ม ประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ของอุตสาหกรรมแบบเป็นปัจจุบัน และต่อเนื่อง

Engineering Today July - August

2020

38


Smart City • กองบรรณาธิการ

นักวิจัยแนะแนวทางในการน�ำ น�้ำเสียกลับมาใช้ ใหม่ของเมือง

มุ่งให้เป็นแหล่งน�้ำต้นทุนใหม่ของ

EEC Smart City ปัญหาน�้ำเสียในหลายๆ พื้นที่เป็นปัญหาใหญ่ที่ภาครัฐและหลายงาน ทีเ่ กีย่ วข้องต้องร่วมกันหาแนวทางในการแก้ไขเพือ่ น�ำน�ำ้ เสียทีเ่ กิดขึน้ กลับมาใช้ ใหม่เพือ่ ทดแทนน�ำ้ ในหลายๆ พืน้ ทีท่ ขี่ าดแคลน เช่นเดียวกับ พืน้ ทีใ่ นโครงการ พัฒนาระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง นักวิชาการและนักวิจัย นวัตกรรมการบ�ำบัดของเสียและการน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้จดั ท�ำโครงการ “การพัฒนาพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม และเมือง โดยการใช้น�้ำเสียที่บ�ำบัดแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ในพื้นที่ EEC” ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม แผนการบริหาร จัดการน�้ำ การน�ำน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ เพื่อเป็นแหล่งน�้ำต้นทุนใหม่ใน EEC ด้วย 3 แนวทางในการน�ำน�ำ้ เสียกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ประกอบ ด้วย 1. ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขนาดใหญ่ ส�ำหรับชุมชนระดับเมือง 2. ระบบบ�ำบัด น�้ำเสียแบบรวมหรือแบบกลุ่ม (Cluster Treatment) เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ขนาดเล็ก และ 3. ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบ Individual เป็นโมเดลส�ำหรับสถาน ประกอบการแต่ละอาคาร

น�้ำประปาเกรด 2 น�ำมาใช้ ในพื้นที่สีเขียว

39

รศ. ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรม การบ�ำบัดของเสียและการน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ ใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชี้พื้นที่ EEC มี “น�้ำทิ้ง” หรือน�้ำเสียที่มีศักยภาพ สามารถบ�ำบัดกลับมาใช้ ใหม่ได้จาก 2 แหล่งใหญ่ รศ. ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล หัวหน้า หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมการบ�ำบัด ของเสียและการน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะหัวหน้าโครงการ “การพัฒนาพื้นที่ อุตสาหกรรมและเมือง โดยการใช้น�้ำเสียที่ บ�ำบัดแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ในพื้นที่ EEC” กล่าวว่า EEC เป็นพืน้ ทีก่ ำ� ลังพัฒนา ส่งผลให้ เกิดปัญหาน�ำ้ ที่มีปริมาณไม่เพียงพอ จากการ วิเคราะห์เบื้องต้นคาดว่าน่าจะเกิดจากความ ต้ อ งการน�้ ำ ในอนาคตจะเพิ่ ม ขึ้ น อี ก เท่ า ตั ว เพือ่ น�ำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมและการท่อง เที่ยวมากกว่า 800 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และคาดว่าอีก 20 ปีข้างหน้าความต้องการ น�้ำในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นและมีมากกว่า 1,000 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี จึงมีโอกาสเกิดความ ขาดแคลนหากไม่มกี ารหาแหล่งน�ำ้ ต้นทุนใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการน�้ำในปริมาณ

Engineering Today July - August

2020


บ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย

ที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นคณะวิจัยจึงได้น�ำโจทย์การหาแหล่งน�้ำทดแทนความต้องการใช้ น�ำ้ ประปาไม่น้อยกว่า 100 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปีในพื้นที่ EEC เพิ่มเติม จากการศึกษาและส�ำรวจข้อมูลพบว่า ในพื้นที่ EEC มี “น�ำ้ ทิ้ง” หรือน�้ำเสีย ที่มีศักยภาพสามารถน�ำมาบ�ำบัดเอากลับมาใช้ใหม่ได้จาก 2 แหล่งใหญ่ คือ น�ำ้ เสีย จากการอุ ป โภคบริ โ ภคทั้ ง ในภาคชุ ม ชนและภาคบริ ก าร และน�้ ำ เสี ย จากภาค อุตสาหกรรม ที่จะช่วยลดการใช้น�้ำประปาลงได้

ชลบุรีมีน�้ำเสียจากชุมชนเข้าสู่ระบบบ�ำบัดค่อนข้างมาก ระยองมีความต้องการใช้น�้ำในอุตฯ สูงกว่า 200 ล้านคิวต่อปี ปริมาณน�ำ้ เสียในชุมชนในพื้นที่ EEC ภายในปี พ.ศ. 2580 คาดว่าจะมีน�้ำเสีย จากภาคชุมชนเกิดขึ้นประมาณ 859,280 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน หรือ 313.64 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี แบ่งเป็น ชลบุรีมีปริมาณน�ำ้ เสีย 456,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ฉะเชิงเทรามีปริมาณน�้ำเสีย 164,380 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และระยองมีปริมาณ น�้ำเสีย 238,900 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซึ่งหากสามารถรวบรวมมาบ�ำบัดและน�ำ กลับมาใช้ใหม่ได้ จะเป็นแหล่งน�้ำต้นทุนใหม่ในพื้นที่ EEC ได้ในปริมาณที่มากพอ และยังมีราคาถูกกว่าการท�ำน�ำ้ ทะเลให้เป็นน�้ำจืด ส�ำหรับน�ำ้ เสียในพื้นที่จังหวัดชลบุรี มีนำ�้ เสียจากชุมชนที่เข้าสู่ระบบบ�ำบัดส่วน กลางค่อนข้างมาก เนื่องจากมีสถานประกอบการ โรงแรม ที่พักอาศัย และอาคาร ส�ำนักงานค่อนข้างมาก ข้อดีคอื น�ำ้ เสียของภาคอุปโภคบริโภค ชุมชน และภาคบริการ มีการรวบรวมน�้ำเสียเข้าสู่ระบบบ�ำบัดในปริมาณมาก เช่น ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เมืองพัทยาและระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียเทศบาลเมืองแสนสุข ตัวเลขของน�ำ้ เสียทีเ่ ข้าสูร่ ะบบ บ�ำบัดส่วนกลางมีมากถึง 80% ซึ่งถ้ามีการปรับปรุงคุณภาพน�้ำทิ้งเพิ่มเติมให้กลาย เป็นน�้ำรีไซเคิลตามมาตรฐานสากล จะสามารถส่งเสริมให้น�ำน�้ำกลับมาใช้ทดแทน

Engineering Today July - August

2020

40

น�้ำประปาบางส่วนได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ การประหยัดน�ำ้ ทีต่ น้ ทางของกลุม่ อาคารธุรกิจ ขนาดใหญ่ โรงแรมและสถานบริการที่พัก ห้ า งสรรพสิ น ค้ า โดยการติ ด ตั้ ง ชุ ด สุ ข ภั ณ ฑ์ ประหยั ด น�้ ำ จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ลดการใช้น�้ำต้นทางได้อีกประมาณ 5-15% และจะได้มากกว่านี้ถ้ามีการพัฒนาต่อยอด นวัตกรรมสุขภัณฑ์ประหยัดน�ำ้ อย่างจริงจังใน พื้นที่ EEC ส่ ว นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ระยอง มี ค วาม ต้องการใช้น�้ำ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม สูงกว่า 200 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซึ่ง หากมีการบ�ำบัดน�้ำเสียแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ ตัวเลขน�้ำรีไซเคิลจะสูงมาก โดยปัจจุบันนี้ มีนิคมอุตสาหกรรมบางแห่งที่ใช้น�้ำปริมาณ มากเริ่มให้ความสนใจถึงแนวทางการน�ำน�้ำ เสียทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่เพือ่ แก้ปญ ั หาน�ำ้ ขาดแคลน ซึง่ จากการส�ำรวจและ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาในภาคสนามพบว่ า มี นิ ค ม อุตสาหกรรมและโรงงานอุตสาหกรรมหลาย แห่งที่มีศักยภาพในการด�ำเนินการรีไซเคิลน�้ำ สามารถรีไซเคิลน�้ำเสียได้มากกว่า 15% ของ น�้ำใช้ และค่าน�้ำรีไซเคิลก็มีราคาถูกกว่า โดย


ข้อมูลที่รวบรวมโดยโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการน�้ำอัจฉริยะของภาคบริการ ความต้องการใช้น�้ำภาคบริการในพื้นที่ EEC

สามารถน�ำน�้ำที่ได้กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ของเมือง 2. ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบรวมหรือ แบบกลุ่ม (Cluster Treatment) เป็นระบบ บ�ำบัดน�้ำเสียขนาดเล็ก เหมาะกับชุมชนที่มี พืน้ ทีจ่ ำ� กัด ส�ำหรับพืน้ ทีท่ มี่ นี ำ�้ เสียเข้าสูร่ ะบบ บ�ำบัด 500-1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และ 3. ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบ Individual เป็น โมเดลส�ำหรับสถานประกอบการแต่ละอาคาร ซึง่ มีขอ้ จ�ำกัดของระบบนีค้ อื อาคารในปัจจุบนั มีเพียงท่อประปาท่อเดียว ไม่มที อ่ แยกส�ำหรับ น�้ำรีไซเคิล ในอนาคตเมื่อค�ำนึงถึงการสร้างเมือง ใหม่ (Smart City) สามารถท�ำได้ทงั้ 3 แนวทาง เช่น โรงแรม อาคารธุรกิจหรือห้างสรรพสินค้า ตัวเลขการใช้นำ�้ จ�ำนวนมากจะมาจากสุขภัณฑ์ ถ้าอาคารใหม่มกี ารออกแบบแยกระบบท่อน�ำ้ รี ไ ซเคิ ล กั บ ท่ อ น�้ ำ ประปาออกจากกั น จะ เป็นการส่งเสริมการใช้น�้ำรีไซเคิลในอาคาร หรื อ การน� ำ น�้ ำ รี ไ ซเคิ ล ของเมื อ งหมุ น เวี ย น กลับมาใช้ใหม่ได้อีกจ�ำนวนมาก จึงต้องมีการ ก�ำหนดมาตรฐานคุณภาพน�ำ้ รีไซเคิลทีป่ ลอดภัย สร้างความมั่นใจกับผู้ใช้น�้ำ เช่นเดียวกับใน หลายประเทศ เช่น ญีป่ นุ่ สิงคโปร์ จีน เป็นต้น

ศักยภาพของปริมาณ น�้ำต้นทุนในพื้นที่ EEC

ศักยภาพการน�ำน�ำ้ ทิ้งกลับมาใช้ใหม่ของพื้นที่ EEC

บางโรงงานทีใ่ ช้นำ�้ ปริมาณมาก ได้แก่ โรงงานประเภทอาหารและเครือ่ งดืม่ เมือ่ ลงทุน ติดตั้งระบบรีไซเคิลน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่พบว่าสามารถประหยัดน�้ำได้มากกว่า 15% และน�้ำรีไซเคิลช่วยให้ประหยัดค่าน�้ำประปาได้ถึง 7 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ส�ำหรับ ภาคชุมชน จากการส�ำรวจน�้ำทิ้งจากเทศบาลนครระยอง เทศบาลมาบตาพุด พบว่า มีคุณภาพค่อนข้างดี สามารถปรับสภาพน�้ำเพิ่มเติมก็จะสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ ในพื้นที่รอบๆ ได้ ที่ส�ำคัญช่วยลดค่าใช้จ่ายของผู้บริโภคและสถานประกอบการ

แนวทางในการน�ำน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ของเมือง

จากการลงพื้นที่ส�ำรวจเก็บข้อมูลทั้งภาคอุปโภคบริโภค ภาคบริการ และ ภาคอุตสาหกรรม ช่วง 9 เดือนที่ผ่านมา ท�ำให้ได้แนวทางการจัดการระบบบ�ำบัด น�้ำเสียที่เหมาะสมส�ำหรับชุมชนและอุตสาหกรรม เพื่อการน�ำน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ ของเมือง มี 3 แนวทาง ประกอบด้วย 1. ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียขนาดใหญ่ ส�ำหรับชุมชน ระดับเมือง ซึ่งจะมีปริมาณน�้ำเสียค่อนข้างมาก โดยเพิ่มระบบการปรับสภาพน�้ำ

41

จากการคาดการณ์ศักยภาพปริมาณ น�้ำต้นทุนที่ประหยัดได้ของทุกภาคส่วนใน พื้นที่ EEC สามารถพิจารณาได้ 2 กรณี คือ 1. เมื่อภาคอุตสาหกรรมลดได้ 15% ภาคอุปโภคบริโภคและภาคบริการลดได้ 10% ภาคเกษตรลดได้ 10% และมีศักยภาพของ ต้นทุนน�้ำรีไซเคิลของเมืองที่มีปริมาณน�้ำเสีย มากกว่ า 40,000 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ วั น จากบ่อบ�ำบัดน�้ำเทศบาล จ�ำนวน 7 แห่ง พบว่าสามารถประหยัดน�้ำต้นทุนได้มากกว่า 600 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี หรือคิดเป็น 19.43% ในปี พ.ศ. 2580 และ 2. เมื่อภาค อุตสาหกรรมลดได้ 10% ภาคอุปโภคบริโภค และภาคบริการลดได้ 10% ภาคเกษตรลดได้ เพี ย ง 5% และมี ศั ก ยภาพของต้ น ทุ น น�้ ำ รีไซเคิลของเมืองที่มีปริมาณน�้ำเสียมากกว่า 40,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จากบ่อบ�ำบัด

Engineering Today July - August

2020


น�ำ้ เทศบาล จ�ำนวน 7 แห่ง พบว่าจะสามารถ ประหยัดน�ำ้ ต้นทุนได้ถงึ 465 ล้านลูกบาศก์เมตร ต่อปี หรือคิดเป็น 16.13% ในปี พ.ศ. 2580 โดยน�ำ้ ต้นทุนทีป่ ระหยัดได้นจี้ ะช่วยลดปัญหา น�้ำขาดแคลนในพื้นที่ EEC เมื่อมีการพัฒนา เมืองค่อนข้างสมบูรณ์แบบแล้ว แต่การน�ำ น�้ำรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่ให้สัมฤทธิ์ผลอย่าง จริงจัง จะต้องพิจารณาครอบคลุมทุกๆ มิติ ทั้งด้านกฎหมาย เศรษฐศาสตร์และสังคม

ข้อเสนอแนะในการ จัดการทางเทคนิค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้ำ

(ที่มา : จากการส�ำรวจข้อมูลภาคสนาม) การวิเคราะห์สถานการณ์น�้ำเสียชุมชนในพื้นที่ EEC

สภาพน�้ำเสีย เปลี่ยนเป็นน�ำ้ ใส หลังการบ�ำบัด ปรับสภาพ และรี ไซเคิล

การคาดการณ์การใช้นำ�้ ใน EEC ในปี พ.ศ. 2580 (ข้อมูลอ้างอิงจาก สทนช.)

Engineering Today July - August

2020

42

ส� ำ หรั บ ข้ อ เสนอแนะในการเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใช้น�้ำนั้น ควรมีมาตรการ ทั้งผลักและดัน เช่น 1. แนวทางการจัดการ ทางเทคนิค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้นำ�้ อีก 15% ในภาคอุตสาหกรรม ควรมีการ ก�ำหนดคุณภาพและมาตรฐานของน�ำ้ รีไซเคิล ให้เหมาะกับกิจกรรม เช่น เพื่อการหล่อเย็น และใช้ประโยชน์อื่นๆ ในระบบอุตสาหกรรม เพื่อใช้กับพื้นที่สีเขียว หรือการใช้นำ�้ กับระบบ สุขภัณฑ์ เป็นต้น 2. แนวทางด้านกฎหมาย เสนอให้มีการผลักดันข้อกฎหมายใหม่ๆ เพื่อ ตอบโจทย์ลดการใช้น�้ำและน�ำน�้ำกลับมาใช้ ใหม่ ใ นพื้ น ที่ EEC ประกอบด้ ว ย พ.ร.บ. ส่งเสริมการประหยัดน�้ำ เช่น ส่งเสริมการใช้ สุขภัณฑ์ประหยัดน�้ำ เป็นต้น พ.ร.บ.ส่งเสริม การน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ และ พ.ร.บ.การกัก เก็บน�้ำฝนในอาคารและสถานประกอบการ ซึ่ ง กฎหมายทั้ ง 3 นี้ ถ้ า เกิ ด ขึ้ น ได้ จริ ง จะ เป็นการประหยัดน�ำ้ ต้นทุนของเมือง ส่งเสริม ให้เกิด นวัต กรรม รวมทั้งระบบรีไซเคิลน�้ ำ ระบบการเก็ บ น�้ ำ ฝนมาใช้ ป ระโยชน์ และ เกิดการสร้างธุรกิจใหม่ๆ เพื่อสิ่งแวดล้อม และ 3. แนวทางด้านเศรษฐกิจ ควรมองเรื่อง ของความคุม้ ทุนในการลงทุนระบบรีไซเคิลน�ำ้ ที่ ไ ม่ เ พี ย งช่ ว ยลดปริ ม าณน�้ ำ ทิ้ ง ยั ง ได้ น�้ ำ ประปาที่ราคาถูกเมื่อเทียบกับค่าน�้ำประปา ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เป็นการตอบโจทย์การ มีแหล่งน�้ำต้นทุนใหม่ ขณะเดียวกันก็มอง แนวทางในการสร้างแรงจูงใจให้ชมุ ชนยอมรับ การน�ำน�ำ้ เสียกลับมาใช้ใหม่ด้วยเช่นกัน


EEC • กองบรรณาธิการ

EEC แนะเตรียมก�ำลัง

บุคลากรทุกด้านให้มีทักษะสูงขึ้น

รองรับภาคอุตสาหกรรมและอื่นๆ หลัง COVID-19 ยุติ

ดร.คณิศ แสงสุพรรณ

ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์

เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC)

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)

ส�ำ

มาตรการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ - แรงงาน ที่ ได้รับผลกระทบจาก COVID-19

นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดเวที Recover Forum เพื่อหาแนวทางในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและ สังคมของไทยหลัง COVID-19 ยุติ โดยเลขาฯ EEC แนะควร เตรี ย มความพร้ อ มด้ า นก� ำ ลั ง คนให้ มี ทั ก ษะที่ สู ง ขึ้ น รองรั บ ภาคอุตสาหกรรมและภาคส่วนอื่นๆ ในอนาคต ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบาย เขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก (Eastern Economic Corridor : EEC) กล่าวว่า ประเทศไทยโชคดีที่สามารถควบคุม สถานการณ์ COVID-19 ได้อย่างรวดเร็ว ในส่วนของ EEC ได้รับ ผลกระทบจาก COVID-19 เช่นกัน แต่ยงั เชือ่ มัน่ ว่าแผนการลงทุน ใน EEC ยังไปถึงเป้าหมายเหมือนเดิมเพียงแค่ขยายเวลาออกไป เพื่อทดแทนในช่วงที่ได้รับผลกระทบ แต่ก็มีข่าวดีจากการที่จีน ฟืน้ ประเทศได้เร็วส่งผลให้ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของ ไทย พลิกกลับมาดี มีการน�ำเข้าทุเรียน มังคุด และข้าว ส่งผลให้ ผลผลิตทุเรียนและมังคุดท�ำรายได้ได้ดี ข้าวราคาดี เพราะเราเร่ง การส่งออกทันทีที่มีโอกาส นอกจากนี้ยังมีธุรกิจที่มีการปรับตัวไปในทางที่ดีขึ้น ได้แก่ อุตสาหกรรม 5G กลุ่มโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมสุขภาพ กลุ่มการ พัฒนาเมือง ที่อยู่อาศัยและธุรกิจชุมชนที่ส่งเสริมให้เกิดสังคม สุขภาพดี เป็นต้น ซึ่งจะต้องมีการหารือเพื่อต่อยอดต่อไป

ส�ำหรับมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการและแรงงานที่ได้ รับผลกระทบ COVID-19 ซึ่งได้มีการหารือกันในคณะกรรมการ EEC ประกอบด้วย การหารือถึงการให้สินเชื่อธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม การขยายตลาดส่งออกกับประเทศที่มีการฟื้น ตัวเร็ว เช่น กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม (CLMV), จีน, ไต้หวัน และญี่ปุ่น การบรรเทาปัญหาการว่างงาน การจัดหางาน ภายในและภายนอกนิ ค มอุ ต สาหกรรม การฝึ กอบรมทั ก ษะ ความรู้ที่มีความจ�ำเป็นในอนาคต เพื่อ Upskill - Reskill โดยถือ โอกาสในวิกฤต COVID-19 นี้เตรียมความพร้อมด้านก�ำลังคน ให้เต็มที่เพื่อรองรับการกลับมาเดินเครื่องของภาคอุตสาหกรรม ที่ ต ้ อ งการก� ำ ลั ง คนทั ก ษะสู ง ขึ้ น การสนั บ สนุ น ไทยเที่ ยวไทย ดึงคนไทยที่จากเดิมที่เดินทางไปเที่ยวแต่ต่างประเทศ ให้กลับมา เที่ยวในประเทศมากขึ้น การลงทุนเพื่อพัฒนาชุมชน เชื่อมโยงกับ การท่องเที่ยว การสร้างตลาดสด แหล่งน�ำ้ และสนับสนุนบัณฑิต อาสาพัฒนาชุมชนในการลงพืน้ ทีเ่ ก็บและหาข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นในการ พัฒนาชุมชน การพัฒนาส�ำมะโนประชากร เป็นต้น

43

Engineering Today July - August

2020


มาตรการช่วยเหลือทางด้าน ต่างประเทศ - ด้านสาธารณสุข

ขณะนี้ อว.ได้ด�ำเนินการช่วยเหลือ และพัฒนาก�ำลังคนในทุกมิติ ตามแนวทางการพัฒนาก�ำลังคน โดยใช้จุดแข็งของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาออกแบบหลักสูตร เสริมทักษะ Reskill - Upskill ระยะสั้น - ระยะยาว ผ่านโครงการ พัฒนาทักษะก�ำลังคนของประเทศ เพื่อให้มีงานท�ำและเตรียมความพร้อม รองรับการหางานในอนาคต หลังวิกฤตการระบาดของ COVID-19

ดร.คณิศ กล่าวถึงมาตรการช่วยเหลือทางด้านต่างประเทศ และทางด้ า นสาธารณสุ ข ส�ำหรั บ ผู ้ ป ระกอบการไทยว่ า EEC อยู่ระหว่างการหารือกับกระทรวงการต่างประเทศ ในประเด็น ความร่วมมือในการสร้างภาคีเครือข่ายระหว่างองค์กร หรือ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ใ นประเทศต้ น ทางกั บ สถานเอกอั ค ร ราชทูตไทยหรือสถานกงสุลใหญ่ โดยเฉพาะประเทศต้นทาง ที่มีความไม่สะดวกในด้านการหาบริการตรวจสุขภาพ และยังอยู่ ระหว่างการหารือกับกระทรวงสาธารณสุข ในการร่วมกันพิจารณา ก�ำหนดประเทศต้นทางและจ�ำนวนบุคลากรที่จะอนุญาตให้เดิน ทางเข้ามาในประเทศได้ในแต่ละช่วงเวลา, การร่วมกันก�ำหนด มาตรการกักกัน Flexible Alternative Quarantine ให้บุคลากร ที่เดินทางเข้ามา สามารถท�ำภารกิจที่จ�ำเป็นได้ ภายใต้หลักการ การกั ก กั น และการร่ ว มกั น พิ จ ารณาการขึ้ น ทะเบี ย นเพื่ อ เป็ น Alternative State Quarantine เพิ่มเติมในพื้นที่ EEC โดยมี โรงพยาบาลเอกชนที่มีบุคลากรที่สามารถสื่อสารภาษาประเทศ ต้นทางได้ เพื่อความสะดวกในการดูแลสุขภาพ

เสริมทักษะ Reskill - Upskill ระยะสั้น - ระยะยาว ผ่านโครงการ พัฒนาทักษะก�ำลังคนของประเทศ (Reskill / Upskill / Newskill) เพื่ อ ให้ มี ง านท� ำ และเตรี ย มความพร้ อ มรองรั บ การหางานใน อนาคตหลังวิกฤตการระบาดของ COVID-19 โดย อว. สนับสนุน ค่าลงทะเบียน 95-100% และเป็นหลักสูตรในรูปแบบ Online, โครงการจัดตัง้ หน่วยรับรองมาตรฐานหลักสูตรและหน่วยฝึกอบรม เพื่อการพัฒนาก�ำลังคนตามความต้องการของประเทศ ภายใต้ มาตรการ Thailand Plus Package ส�ำหรับสถานประกอบการ ทั้งนี้ผู้ประกอบการสามารถน�ำค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และการจ้ า งงานบุ ค ลากรต� ำ แหน่ ง งานทั ก ษะสู ง ในสาขา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรม ที่มีทักษะเข้าข่ายตาม ประกาศก�ำหนด Future Skills Set หรือทักษะความเชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นที่ต้องการ ตามประกาศของ อว. สามารถยื่นขอยกเว้น ภาษีได้ 1.5-2.5 เท่าของค่าใช้จา่ ยดังกล่าว เพือ่ รองรับการยกระดับ ทักษะของบุคลากรภายในประเทศให้มีทักษะความรู้ และความ เชีย่ วชาญสอดคล้องต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมทัง้ ในปัจจุบนั และ อนาคต รวมถึงเพื่อเป็นการวางระบบสนับสนุนการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ทั้งใน รูปแบบของการจัดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) และ หลักสูตรระดับปริญญา (Degree) นอกจากนี้ ในระยะ 3-6 เดือน อว. ยังได้สนับสนุนการ จ้ า งงานนั ก ศึ ก ษาจบใหม่ ห รื อ คนว่ า งงานลงพื้ น ที่ ส� ำ รวจและ เก็บข้อมูลชุมชน เพื่อสร้างงานและให้นักศึกษามีรายได้อีกทาง หนึ่งด้วย

สอวช.เร่งพัฒนาก�ำลังคนในทุกมิติ ดร.กิ ติ พ งค์ พร้ อ มวงค์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานสภา นโยบายการอุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรม แห่งชาติ (สอวช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า ขณะนี้ อว.ได้ด�ำเนินการช่วยเหลือ และพัฒนาก�ำลังคนในทุกมิติตามแนวทางการพัฒนาก�ำลังคน ตลอดจนให้ความมั่นใจในการผลิตก�ำลังคนตอบโจทย์ประเทศ ตามนโยบายของกระทรวง อว.ร่วมกับมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ โดยใช้จุดแข็งของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาออกแบบหลักสูตร

Engineering Today July - August

2020

44


Research & Development • กองบรรณาธิการ

เทคโนโลยี การเชื่อมต่อยานอวกาศ ความท้าทายด้านวิศวกรรม บทพิสูจน์ความสามารถเด็กไทย

> ดร.พีรพงศ์ ต่อฑีฆะ

วิศวกรด้านระบบควบคุม และเมคาทรอนิกส์ สถาบันวิจัย ดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARIT)

จากความส�ำเร็จของนาซาและสเปซเอกซ์ ที่ส่ง 2 นักบินอวกาศสหรัฐเดินทางสู่สถานี อวกาศนานาชาติจากแผ่นดินอเมริกาโดยยาน อวกาศของบริษัทเอกชน และเชื่อมต่ออย่าง ปลอดภัย เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2563 ที่ผ่าน มา เทคโนโลยีอวกาศกลายเป็นหัวข้อที่ผู้คนพูด ถึงกันมาก และหนึ่งในประเด็นที่น่าสนใจคือ “การเชื่อมต่อของยานอวกาศนั้น แท้จริงแล้ว มีเทคนิคด้านวิศวกรรมอย่างไร?”

การเชื่อมต่อยานอวกาศ

หนึ่งในกระบวนการเชิงเทคนิค วิศวกรรมที่ซับซ้อนที่สุด งานวิจัยนี้ต้องใช้หน่วย ประมวลผลเชิงกราฟิก 3 มิติ 32GB จ�ำนวน 4 ตัว และ 16GB จ�ำนวน 4 ตัว ที่จำ� เป็น อย่างยิ่งในการค�ำนวณ เชิงลึก ท�ำให้งานวิจัยนี้ ได้รับการตีพิมพ์ ในการ ประชุมวิชาการระดับ นานาชาติที่จัดขึ้น โดยสถาบันวิศวกรรม ไฟฟ้าและวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์นานาชาติ (Institute of Electrical and Electronics Engineers : IEEE) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา

ดร.พีรพงศ์ ต่อฑีฆะ วิศวกรด้านระบบ ควบคุ ม และเมคาทรอนิ ก ส์ สถาบั น วิ จั ย ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT กล่าวว่า กระบวนการเชือ่ มต่อยานอวกาศ เป็นหนึง่ ในกระบวนการเชิงเทคนิควิศวกรรมด้าน ระบบการควบคุมและน�ำร่อง ควบคู่กับความรู้ ด้ า นวิ ศ วกรรมอากาศยานที่ ซั บ ซ้ อ นมากที่ สุ ด หากจินตนาการว่าวงโคจรของยานอวกาศเปรียบ เสมือนถนน ผู้ขับขี่ก็เปรียบเสมือนตัวควบคุม

ทีต่ อ้ งมีความรูด้ า้ นพลวัตของระบบถึงจะสามารถ ควบคุมวัตถุใดๆ ได้อย่างแม่นย�ำทัง้ เวลา ต�ำแหน่ง และการวางตัว หากมีความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ย่ อ มมี ค วามเสี่ ย งต่ อ ทั้ ง ยานอวกาศและสถานี อวกาศที่ ต ้ อ งการเชื่ อ มต่ อ ตลอดจนชี วิ ต ของ นั ก บิ น อวกาศด้ ว ย การค� ำ นวณต่ า งๆ ตาม กระบวนดังกล่าว วิศวกรจ�ำเป็นต้องมีความเข้าใจ และอุดรอยรั่วของระบบทั้งหมดก่อนเริ่มภารกิจ เนื่ อ งจากเป็ น โจทย์ ย ากที่ ท ้ า ทายความ สามารถด้านวิศวกรรมขั้นสูง จึงท�ำให้วิศวกร สนใจพัฒนาอัลกอริธึมด้านการเชื่อมต่อของวัตถุ อวกาศอยู่จ�ำนวนไม่น้อย ส่วนใหญ่เป็นประเทศ มหาอ�ำนาจ ได้แก่ อเมริกา รัสเซีย จีน ญี่ปุ่น ส�ำหรับประเทศไทย ก็มีวิศวกรรุ่นใหม่ชาวไทย ที่ ส นใจด้ า นวิ ศ วกรรมอวกาศ ได้ พั ฒ นาและ ต่อยอด “งานวิจัยการประมาณค่าพิกัดและการ วางตัวของยานอวกาศเพื่อประยุกต์ใช้ในพันธ กิจการเชือ่ มต่อวัตถุอวกาศทีแ่ ม่นย�ำ” ทีป่ ระยุกต์ ระเบียบวิธีการเรียนรู้เชิงลึก หนึ่งในกระบวนการ ด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) เข้ามาเป็นสมองกลให้กบั ระบบ เพือ่ ช่วยประมาณ ค่าเชิงพิกัดของยานอวกาศที่จะมาเชื่อมต่อ

แบบจ�ำลองรูปภาพยานอวกาศ Soyuz ของรัสเซีย ที่สร้างจากโปรแกรม Unreal Engine 4 โดย ทวีรชั ต์ พิศาลนพวงศ์ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 3 ภาควิชาวิศวกรรมการบิน วิทยาลัยอุตสาหกรรมการบินนานาชาติ สจล.

45

Engineering Today July - August

2020


จ.เชียงใหม่ มาช่วยประมวลผลข้อมูลจ�ำนวนมาก

นศ.สจล.ใช้ AI ประมวลผลภาพจ�ำลอง ดังกล่าว ใช้หน่วยประมวลผลเชิงกราฟิก 3 มิติ จากโปรแกรม Unreal Engine 4 32GB จ�ำนวน 4 ตัว และ 16GB จ�ำนวน 4 ตัว มาจ�ำลองภาพยานอวกาศโซยุซของรัสเซีย

> ทวีรัชต์ พิศาลนพวงศ์

นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จากภาควิชา วิศวกรรมการบิน วิทยาลัยอุตสาหกรรม การบินนานาชาติ สจล.

> ดร.พัชรินทร์ ค�ำสิงห์

อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมการบิน และอาจารย์ผู้ดูแลห้องปฏิบัติการ Air-Space Control, Optimization and Management Laboratory สจล.

Engineering Today July - August

2020

ที่จ�ำเป็นอย่างยิ่งในการค�ำนวณเชิงลึก ท�ำให้งาน วิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติที่จัดขึ้นโดยสถาบันวิศวกรรม ไฟฟ้าและวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์นานาชาติ (Institute of Electrical and Electronics Engineers : IEEE) เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ทผี่ า่ นมา “โจทย์งานวิจยั เชิงวิศวกรรมเชิงลึกมักถูกใช้ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้มี องค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีอนั ทันสมัยและล�ำ้ หน้า ในต่างประเทศ และทีผ่ า่ นมายังไม่มใี ครเริม่ ต้นท�ำ ในประเทศไทย อีกทั้งคนส่วนใหญ่มักมองโจทย์ ด้านอวกาศเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต้องใช้การลงทุนที่สูง จากภาครัฐ แต่ในปัจจุบนั มีเครือ่ งมือหลายๆ ชนิด ที่ช่วยท�ำให้เราสามารถศึกษาศาสตร์ด้านนี้ โดย ไม่ต้องลงทุน และไม่จ�ำเป็นต้องไปท�ำถึงอวกาศ แต่สามารถน�ำเสนอแนวคิดและทดสอบในสภาวะ จ� ำ ลองจากพื้ น โลกเช่ น เดี ย วกั บ งานวิ จั ย นี้ ” ดร.พีรพงศ์ กล่าว

งานวิ จั ย ชิ้ น นี้ เ ป็ น ผลงานของ ทวี รั ช ต์ พิศาลนพวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จากภาควิชา วิศวกรรมการบิน วิทยาลัยอุตสาหกรรมการบิน นานาชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ซึ่งใช้หลักการของ ปัญญาประดิษฐ์ ประมวลผลภาพจ�ำลองจาก โปรแกรม Unreal Engine 4 ที่ใช้สร้างภาพ 3 มิ ติ ไ ด้ อ ย่ า งสมจริ ง และท� ำ ให้ วั ต ถุ อ วกาศ สามารถเคลื่อนไหวแบบพลวัตได้ตามต้องการ น� ำ มาจ� ำ ลองภาพยานอวกาศโซยุ ซ ของรั ส เซี ย (ซึ่ ง มี พั น ธกิ จ เดี ย วกั น กั บ ยานดรากอนของ สเปซเอกซ์) ส่งผลให้ได้ข้อมูลมหาศาลเพื่อใช้ ในกระบวนการเรียนรู้ของปัญญาประดิษฐ์ โดย มีที่ปรึกษา ได้แก่ ดร.พัชรินทร์ ค�ำสิงห์ อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมการบิน และ อาจารย์ ผู้ดูแลห้องปฏิบัติการ Air-Space Control, Optimization and Management Laboratory สจล. เป็นที่ปรึกษาหลักด้านระเบียบวิธีการเรียน รู ้ เ ชิ ง ลึ ก และการประมวลผลภาพ ร่ ว มกั บ ดร.พีรพงศ์ ต่อฑีฆะ วิศวกรด้านระบบควบคุม ประยุกต์ ใช้ความรู้ด้านวิศวกรรม และเมคาทรอนิกส์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ ระบบควบคุม ในภารกิจอวกาศด้านอื่น ๆ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT เป็น นอกจากนี้ ยังสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ที่ปรึกษาเกี่ยวกับ Spacecraft Kinematics และ ด้านวิศวกรรมระบบควบคุม ในภารกิจอวกาศ On-orbit Relative Motion ด้านอื่นๆ ได้ เช่น สร้างระบบ Active Debris ใช้หน่วยประมวลผลเชิงกราฟิก Removal : ADR เป็ น การออกแบบระบบ 3 มิติ ในการค�ำนวณเชิงลึก ดาวเทียมเพื่อใช้ก�ำจัดขยะอวกาศ ซึ่งในขณะนี้ ท�ำให้งานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ ในการ องค์การอวกาศแห่งสหภาพยุโรปน�ำโดยสถาบัน ประชุมวิชาการ IEEE เทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส โลซาน ได้พัฒนา อย่างไรก็ตาม การประมวลผลเชิงกราฟิก Payload เพื่อน�ำมาใช้ในกระบวนการเก็บขยะ ของข้ อ มู ล จ� ำ นวนมหาศาล ต้ อ งใช้ ห น่ ว ย อวกาศภายใต้โครงการ CleanSpace-1 อีกทั้ง ประมวลผลจ�ำนวนมาก งานวิจัยชิ้นนี้จึงได้รับ ยังมีบริษัท Actroscale ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน การสนับสนุนจาก NARIT พร้อมค�ำแนะน�ำจาก ด้ า นอวกาศ ของประเทศญี่ ปุ ่ น ได้ พั ฒ นา ดร.อุเทน แสวงวิทย์ นักวิจัยช�ำนาญการและหัว ดาวเที ย มในภารกิ จ นี้ เ ช่ น กั น การวิ จั ย ด้ า นนี้ โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง ถือเป็นเทคโนโลยีชั้นแนวหน้าที่แต่ละประเทศ ศูนย์ข้อมูลดาราศาสตร์แ ห่ง ชาติ ที่ติดตั้งอยู่ ยั ง คงค้ น หาค� ำ ตอบด้ า นวิ ศ วกรรมที่ เ หมาะสม ภายในอุ ท ยานดาราศาสตร์ สิ ริ น ธร อ.แม่ ริ ม ที่สุดมาพัฒนาต่อไป

46


@Engineering Today Vol. 4 No. 178

การวางผังเมือง

หลังว�กฤต COVID-19

การบร�หารสินทรัพย อยางมีประสิทธิภาพ ฟ�จิตสึ นำขอมูลผลักดัน Data-driven Transformation ขับเคลื่อนธุรกิจดิจิทัล


Construction • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

การวางผังเมือง หลังวิกUrban ฤตPlanning COVID-19 After COVID-19

ในช่วงวิกฤต COVID-19 นี้ นอกจากจะท�ำให้เกิดผลกระทบในทุกๆ ด้านของ เมืองต่างๆ ทั่วโลกแล้ว ความเปลี่ยนแปลงด้านผังเมืองโลจิสติกส์ก็เกิดผลกระทบ ตามไปด้วย ดังค�ำกล่าว “โลกยุคก่อนโควิดจบลงแล้ว” ของ ศ. ดร.สุรชาติ บ�ำรุงสุข คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2020 เดิมการเรียนสอนด้านการวางผังเมืองโดยมักยกตัวอย่างเมืองต่างๆ ทัว่ โลก ใน อนาคตผังเมืองทีด่ ใี นรูปแบบของเดิมนัน้ จะใช้ได้ตอ่ ไปได้หรือไม่ จึงต้องท�ำการวิเคราะห์ บทเรียนทัง้ ประเทศไทยและต่างประเทศเสียใหม่ เพือ่ เรียบเรียงให้ถกู ต้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันหรือ “โลกใหม่ New Normal” ที่สถาปนิกนักผังเมืองต้องวางแผนออกแบบ เมืองใหม่ให้เหมาะสมต่อไป เป็นเหมือนการท�ำวิจัยวิชาการในสมมุติฐานว่า “การออกแบบและวางผั ง เมื อ งที่ เ หมาะสมและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพหลั ง วิ ก ฤต COVID-19 นั้นจะมีรูปแบบทางกายภาพอย่างไร” การวางผังเมืองหรือการออกแบบเมืองนั้นเป็นการพยากรณ์ โดยการวิเคราะห์ จากการพัฒนาการของเมือง ประกอบกับปัจจัยทั้งภายนอกและภายใน ซึ่งจะท�ำให้ สถาปนิกนักผังเมืองสามารถคาดการณ์ความเป็นไปของเมืองเดิมทีจ่ ะน�ำไปปรับใช้กบั การพัฒนากับเมืองอนาคตในขั้นตอนต่อไปได้ แต่วกิ ฤตการณ์ COVID-19 นัน้ ไม่เหมือนกับภัยธรรมชาติอนื่ เป็นอุบตั เิ หตุของ การพัฒนาเมือง ที่ไม่สามารถสังเกตการก่อตัวก่อก�ำเนิดเป็นมหันตภัยแล้วรีบหาทาง ป้องกันได้ จะไม่ขออ้างอิงนักวิจัยต่างชาติเพราะยังไม่มีการยืนยันทางวิชาการว่า COVID-19 เป็น Man-Made มิใช่การพัฒนาไวรัสตามธรรมชาติซึ่งอาจจะเกิดได้ ด้วยเวลาเป็นสิบเป็นร้อยปีของการพัฒนาตนเองของไวรัสจนเป็นถึงขั้นนี้นั้น แต่เมื่อ COVID-19 เกิดขึน้ แล้วสถาปนิกนักผังเมืองก็จะต้องหาทางแก้ไขป้องกันให้ได้อย่างไร มีคำ� ถามจากการเรียนผังเมืองโลจิสติกส์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่า “พอทีจ่ ะ คาดการณ์แนวโน้มของเมืองในยุคโลกใหม่นไี้ ด้ไหมว่าจะเป็นรูปแบบใด?” แทนการ ตอบค�ำถามนี้ เราจะต้องมีการวิเคราะห์วจิ ยั และจัดตัง้ กลุม่ องค์กรผูท้ เี่ กีย่ วข้องมาช่วย กันพัฒนาเมืองยุคใหม่ ที่มากกว่าจะเพียงมาแสดงวิสัยทัศน์หรือแสดงความรู้เท่านั้น (เช่น การจัดสัมมนาด้านผังเมืองในปัจจุบันนี้) แต่ต้องช่วยเหลือบ้านเมืองประชาชน อย่างจริงจังด้วย จึงยกตัวอย่างเล็กน้อยในแนวทางการแก้ปญ ั หาเมืองของกรุงเทพมหานคร กับ COVID-19 นี้ ที่นักบริหารและนักผังเมืองสามารถคาดการณ์ได้คือ

ตัวแปรต้น (จุดเริ่มต้นของปัญหา)

1. ประชากรในกรุงเทพมหานคร 15 ล้านคน เป็นประชากรหลัก 8 ล้านคน ประชากรแฝงจากต่างจังหวัดมาท�ำงาน+เรียน+ท�ำกิจกรรมประมาณ 5-6 ล้านคน 2. ประชากรแฝงจากต่างจังหวัด ส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลางและชั้นล่างที่มี รายได้ปานกลางหรือรายได้น้อย และหาเช้ากินค�ำ่ เป็นส่วนใหญ่ พวกเขาไม่มีเงินเก็บ ส�ำรองส�ำหรับการว่างงานได้เป็นหลายๆ เดือน

Engineering Today July - August

2020

48

3. เมื่ อ มี ก ารประกาศในทั น ที ปิ ด สถานทีท่ ำ� งาน ห้างร้าน ใช้เวลา 1 เดือนไม่ให้ ประกอบอาชีพท�ำมาหากินแล้ว

ตัวแปรตาม (ผลลัพธ์ของปัญหา)

ประชากรแฝงจากต่างจังหวัดที่มักจะ หาเช้ากินค�ำ่ หรือมีรายได้และเงินออมน้อยนัน้ เมือ่ ไม่มรี ายได้เข้ามา มีแต่รายจ่าย การเช่าบ้าน หรือค่าครองชีพยังคงเดิม พวกเขาจึงต้อง กลับบ้านเดิม เพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจของ ตนเอง แม้จะไม่ใช่สถาปนิกผังเมือง เป็นเพียง คนธรรมดาที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ก็จะคาดการณ์ได้ทันทีว่า เย็นวันนั้นจะเกิด อะไรขึ้นที่สถานีข นส่ง ทั้งรถบัสและรถไฟ และท�ำให้เกิด Super Spreader กระจายไป ทั่วประเทศดังที่เกิดขึ้น แนวความคิดส่วนหนึง่ ของการพัฒนา เมือง “โลกใหม่ New Normal” คือ จะต้อง ยกเลิกการพัฒนาที่จะให้กรุงเทพมหานคร เป็น “เมื อ งโตเดี่ ย ว Primate City” แต่ ควรจะ “กระจายความเจริญออกสู่ภูมิภาค Decentralization” แม้จะไม่สามารถท�ำให้ ทุ ก จั ง หวั ด เจริ ญ เท่ า กั บ กรุ ง เทพมหานคร ทั้ ง หมด แต่ ห ากสามารถสร้ า งเมื อ งหลั ก เมืองรอง เมืองเล็ก ให้เป็นกลุ่มประชากรใน เมื อ งหลั ก เมื อ งรอง เมื อ งเล็ ก เหล่ า นั้ น ส่วนใหญ่จะรวมกลุม่ กันท�ำงานใกล้ๆ บ้านของ ตนเองมากกว่า ส่วนการทีจ่ ะมีเมืองหลัก เมือง รอง เมืองเล็ก มีขนาดเมืองเท่าใด ลักษณะเป็น อย่างไร จะต้องมีการวิเคราะห์และวางแผน วางผั ง เมื อ งต่ อ ไปนั้ น มั่ น ใจว่ า สถาปนิ ก วิ ศ วกร และนั ก ผั ง เมื อ งของประเทศไทย มากมายสามารถท�ำได้ “พวกเรารู้ แต่นกั การเมือง ไม่ร”ู้ ขอเพียงแต่ผบู้ ริหารประเทศจะให้โอกาส พวกเขาเท่านั้น


แนวทางส่วนหนึ่งหรือ Keyword ที่เมืองในโลกใหม่ โดยเฉพาะในประเทศไทย ควรจะต้องมี ดังนี้ 1) การบริหารเมือง คือ “Decentralization การกระจายอ�ำนาจจาก ศูนย์กลาง” และ “Self-Reliant การพึ่งพาตนเองได้” คือ นอกจากเมืองหลวงแล้ว ทั้งเมืองหลัก เมืองรอง และเมืองเล็ก จะต้องพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สั ง คม การเมื อ ง และประชากร ในระดั บ ของการบริ ห ารจั ด การก็ จ ะเกิ ด ความ เหมาะสมของแนวทางความสมดุลของบ้านและที่ท�ำงาน Job & Housing Balance ประชากรในเมืองนั้นสามารถประกอบอาชีพ (หรือแม้แต่การศึกษาเล่าเรียนที่เป็น กิจกรรมหลักของคนเมือง) ในเมืองนัน้ หรือใกล้เคียงเป็นส่วนใหญ่ จากหลักการบริหาร นี้ก็จะชี้น�ำไปสู่ขั้นตอนต่อไปคือ 2) การจัดการเมือง คือ หลักการจัดการด�ำเนินการ เช่น เมืองหลายขนาด เหล่านี้จะจัดการกับการประกอบอาชีพอย่างไร มีกลุ่มชนชั้นและสังคมอย่างไร และ

มีการจัด Cluster จากเดิมที่เป็นการแบ่ง กลุม่ เมืองจากการปกครอง เช่น กลุม่ ภาคกลาง กลุ่มภาคเหนือ กลุ่มภาคอีสาน และภาคใต้ เป็นต้น หรือแบ่งจากลักษณะภูมปิ ระเทศพืน้ ที่ เช่น ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่ม ลงมาจนเป็น พื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ทะเลและเกาะแก่ ง เป็ น ต้ น กลายมาเป็นการแบ่งตามสังคม เศรษฐกิจ โลจิสติกส์ และการประกอบอาชีพ (เหมือน การพัฒนาเมืองในประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ปั จ จุ บั น ) เช่ น กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม กลุ ่ ม เกษตรกรรม กลุม่ การค้าชายแดน กลุม่ ประมง หรือกลุ่มโลจิสติกส์ เป็นต้น

แผนเหล่านีส้ ภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกรมโยธาธิการและ ผังเมือง ได้เคยวิเคราะห์มาแล้ว แต่ที่ไม่ประสบความส�ำเร็จเพราะแบ่งกลุ่มเพียงแต่ ชือ่ เมืองตามทฤษฎีผงั เมืองเท่านัน้ ในทางปฏิบตั แิ ล้วไม่มกี ารก�ำหนดความร่วมมือหรือ แผนพัฒนา การบริหารร่วมกัน โดยทุกกลุม่ ก็ยงั ขึน้ ตรงต่อเมืองหลวงกรุงเทพมหานคร ทั้งสิ้น ไม่มีการสนับสนุนจากส่วนกลางและการสนับสนุนการประสานงานในกลุ่ม ให้เกิดประสิทธิภาพการปฏิบัติการทั้งสิ้น หากมีการจัดการที่ดีแล้วจะก่อให้เกิด ขั้นตอนต่อไป คือ 3) การวางแผนกายภาพเมือง ลักษณะเมืองจะเป็นเช่นไร การใช้ที่ดินเมือง ร่วมกับกลุม่ พันธมิตรในเศรษฐกิจโลจิสติกส์เป็นอย่างไร สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ของเมืองและของกลุ่ม สอดคล้องสนับสนุนและช่วยแก้ปัญหากันอย่างไร (เช่น กลุ่ม เมืองอุตสาหกรรมโลจิสติกส์นั้น มีเมืองที่ 1 มีศักยภาพด้านการผลิต เมืองที่ 2 มี ศักยภาพการค้าขายผลผลิตของตน ส่วนเมืองที่ 3 รองรับเรื่องส�ำนักงานการบริหาร จัดการการปกครอง สถานศึกษาและสาธารณสุข กลุ่มเมืองทั้งหมดนี้ก็จะท�ำหน้าที่ ของตน โดยเป็นบ้านพี่เมืองน้องของกลุ่มสนับสนุนกิจกรรมนั้น (ยกตัวอย่างกลุ่ม เมืองใหม่ของประเทศเกาหลีใต้ Incheon New Cities: Songdo + Yeoungjong + Cheongna ทั้ง 3 เมืองท่าอากาศยานนี้ท�ำหน้าที่ต่างกันดังกล่าวที่ส่งเสริมและ แก้ปัญหาให้กันและกัน) และชี้น�ำไปสู่ระบบขนส่งในเมืองใน 3 ระดับเช่น 1) ระดับไกล Long-Distance Transportation เมืองนี้อาจต้องการเครื่องบิน และรถไฟความเร็วสูง

2) ระดั บ กลาง Medium-Distant Transportation เมืองนี้อาจต้องการรถไฟ รางคู่ รถไฟชานเมือง รถทัวร์ 3) ระดั บ ใกล้ Short-Distance Transportation เมืองนี้อาจต้องการ BTS MRT BRT BUS & Bicycle เป็นต้น จะท�ำให้ เรารู ้ ว ่ า เมื อ งนี้ ต ้ อ งการสนามบิ น หรื อ ไม่ ต้องการรถไฟฟ้าหรือไม่ หรือจะกลายเป็น รถไฟฟ้าที่ขาดทุน และสนามบินร้าง เป็นต้น (ดังบทความ “บทวิพากษ์ผังเมืองโลจิสติกส์ กรณีท่าอากาศยานนานาชาติภาคตะวันตก” ...วารสาร Engineering Today ปีที่ 18 ฉบับที่ 175 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2563) จ น ถึ ง ขั้ น ต อ น ล� ำ ดั บ สุ ด ท ้ า ย คื อ การออกแบบค� ำ นวณและก่ อ สร้ า งเมื อ ง โดยวิศวกร สถาปนิก นักผังเมืองและผูบ้ ริหาร การก่อสร้าง จะได้เมืองที่มีประสิทธิภาพใน โลกใหม่ New Normal หลังวิกฤตการณ์ COVID-19 แห่งนี้

49

Engineering Today July - August

2020


รูปที่ 1 แสดงผังเมืองกรุงอัมสเตอร์ดัม ที่มีลักษณะเป็นใยแมงมุม มีคูคลองล้อมรอบ

ในส่วนนีจ้ ะขอเสนอตัวอย่างโครงการในการวางผังเมืองทีเ่ หมาะสมกับโลกใหม่ New Normal ภายหลังวิกฤต COVID-19 ที่น่าสนใจของเมืองในยุโรปที่เสนอโดย นิสิตปริญญาโท วิชาผังเมืองโลจิสติกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2563 ในเรื่อง “การวิเคราะห์ผังเมืองโลจิสติกส์ของกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ Urban Logistics Planning Planning: Amsterdam, Netherland” (ณัฏยา, บุญนภางค์, เสาวลักษณ์, 2020) ดังต่อไปนี้ กรุงอัมสเตอร์ดัม เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ พื้นที่ส่วนใหญ่ ของเมืองอยู่ต�่ำกว่าระดับน�้ำทะเล จุดต�่ำสุดอยู่ต�่ำกว่าระดับน�้ำทะเล 6.76 เมตร และ จุดสูงสุดอยู่เหนือระดับน�้ำทะเล 323 เมตร วิศวกรในสมัยก่อนจึงต้องขุดคูคลองเพื่อ การระบายน�้ำ เกษตรกรรม และเส้นทางคมนาคม บ้านเรือนริมคลองในเมืองเก่า ของกรุงอัมสเตอร์ดัมได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลก และได้รับการขนานนามว่า “เวนิสแห่งยุโรปเหนือ”

Engineering Today July - August

2020

50

ด้ ว ยภู มิ ศ าสตร์ ที่ เ ป็ น ที่ ร าบและมี คู ค ลองล้ อ มรอบโค้ ง ตั ว เป็ น รู ป วงแหวน มีผังเมืองเป็นลักษณะใยแมงมุม ท�ำให้เมือง มี ลั ก ษณะเป็ น ตรอกซอกซอย การเข้ า ถึ ง บางพืน้ ทีโ่ ดยใช้การเดินและจักรยานท�ำได้งา่ ย กว่ารถยนต์ จักรยานจึงกลายเป็นยานพาหนะ ที่เป็นที่นิยมของชาวเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงศตวรรษที่ 60 เป็นยุคทีช่ าวเมืองหันมา นิยมใช้ร ถยนต์ม ากขึ้นจนก่อให้เกิดปัญหา วิกฤตจราจรและอุบัติเหตุ ท�ำให้ทั้งภาครัฐ และภาคประชาชนของกรุ ง อั ม สเตอร์ ดั ม รณรงค์ ใ ห้ ผู ้ ค นหั น กลั บ มาใช้ จั ก รยานเป็ น พาหนะกันอีกครั้ง โดยมีการออกมาตรการ สนับสนุน ดังต่อไปนี้ 1. ถนนทุกสายมีการจัดสรรพื้นที่บน ถนนให้เป็นถนนจักรยาน มีการจัดโซนนิง่ และ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับจักรยาน 2. นอกจากถนนทุ ก สายเป็ น ถนน จักรยานแล้ว จักรยานยังมีช่องทางจราจร พิเศษที่เป็นเลนแยกออกมาจากถนน 3. จากเดิมทีถ่ นนบางเส้นสามารถวิง่ ได้ มีทั้งรถยนต์ รถรางสาธารณะ และจักรยาน แต่ จ ากการที่ ภ าครั ฐ รณรงค์ ใ ห้ มี ก ารใช้ จั ก รยานแทนรถยนต์ ท� ำ ให้ ถ นนบางเส้ น กลายเป็ น ถนนหญ้ า ส� ำ หรั บ จั ก รยานโดย สมบูรณ์ โดยชาวเมืองเรียกถนนแบบนั้นว่า “Woonerfs” ซึ่งแปลว่า ถนนที่มีชีวิต 4. ภาครัฐออกกฎหมายจ�ำกัดความเร็ว ของรถยนต์อยู่ที่ 2 ระดับ คือ 18 และ 30 ไมล์ ต ่ อ ชั่ ว โมง เพื่ อ ให้ ร ถยนต์ ต ้ อ งคอย


ระมัดระวังจักรยานที่สามารถขับมาได้โดยไม่ถูกจ�ำกัดความเร็ว 5. เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับจักรยานที่ต้องปั่นบนถนนเส้นหลักหรือ สี่แยกขนาดใหญ่ ภาครัฐได้มีการติดตั้งไฟสัญญาณส�ำหรับจักรยานโดยเฉพาะ

รูปที่ 4 แสดงทางจักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ ณ เมืองครอมเมนี ประเทศเนเธอร์แลนด์ (ที่มา: TNO และ Solar Road)

หลังจากโครงการน�ำร่องเป็นไปได้ดว้ ยดี ต่อมาในปี ค.ศ. 2016-2018 มีการพัฒนา ถนนพลังงานแสงอาทิตย์อย่างต่อเนื่องอีก 5 เมืองรอบกรุงอัมสเตอร์ดัม ทั้งทางจักรยาน ถนนคู่ขนาน และทางรถโดยสารประจ�ำทาง แต่ ยั ง ไม่ มี ก ารวางแผนการพั ฒ นาถนน พลังงานแสงอาทิตย์ในกรุงอัมสเตอร์ดัม

รูปที่ 2 แสดงเส้นทางขับขี่จักรยานของกรุงอัมสเตอร์ดัม (ที่มา: Google Maps)

รูปที่ 3 การออกแบบพื้นที่บนถนนส�ำหรับ Bike Lane (ที่มา: Amsterdam Avenue Bike Lane)

โครงการทางจักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Bike Path)

นอกจากเป็นดินแดนในฝันของนักปัน่ จากทัว่ ทุกมุมโลก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เริ่มใช้ประโยชน์จากพลังงานสะอาด โดยเปลี่ยนจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็นกระแส ไฟฟ้า หนึง่ ในโครงการทีน่ า่ สนใจคือ โครงการถนนพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Road) โดยติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cells) ผสมกับคอนกรีต โดยแผ่นคอนกรีต ขนาด 2.5 x 3.5 เมตร แต่ละแผ่นประกอบด้วยแผงพลังงานแสงอาทิตย์หนา 1 เซนติเมตร และด้านบนสุดเป็นกระจกชนิดโปร่งแสงทีแ่ ข็งแรงทนทานและปลอดภัย สามารถรองรับน�้ำหนักรถดับเพลิงขนาด 12 ตันได้ โครงการน�ำร่อง (Pilot Project) ส�ำหรับทางจักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Bike Path) สาธารณะแห่งแรกของโลกเริม่ ต้นทีเ่ มืองครอมเมนี (Krommenie) ประเทศเนเธอร์แลนด์ ทางตอนเหนือของกรุงอัมสเตอร์ดัม มีความยาว 70 เมตร เปิดใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 2014 หลังจากทดลองการใช้ทาง จักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ในเดือนแรกพบว่า สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพียงพอ ต่อหนึง่ ครัวเรือน หรืออาจกล่าวได้วา่ ทางจักรยานพลังงานแสงอาทิตย์นี้ จะสามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากกว่า 70 กิโลวัตต์ต่อตารางเมตรต่อปี

51

รูปที่ 5 แสดงพื้นที่พัฒนาถนนพลังงานแสงอาทิตย์ 5 เมืองรอบกรุงอัมสเตอร์ดัม (ที่มา: Google Maps)

โครงการที่จอดรถจักรยาน ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (Parking Utrecht Central Station) เริ่มจากปี ค.ศ. 2006 โครงการ Park and Bike เป็นโครงการที่รัฐบาลสนับสนุน ให้ ป ระชาชนจอดรถไว้ น อกเมื อ งและเช่ า จักรยานใช้ในเมือง โดยจัดให้มีตั๋วแพ็กเกจ ที่ ร วมค่ า จอดรถรายวั น บริ เ วณนอกเมื อ ง ตัว๋ รถไฟเข้าเมือง และค่าเช่ารถจักรยานในเมือง

Engineering Today July - August

2020


ในราคาถูก (Cycling to Sustainability in Amsterdam, Ralph Buehler, John Pucher, 2010) 6 ปีต่อมาในปี ค.ศ. 2012 โครงการสร้างที่จอดรถจักรยานที่ใหญ่ ที่สุดในโลกจึงเกิดขึ้นเพื่อลดความแออัดเรื่องที่จอดรถ ลดปัญหาด้านความปลอดภัย ต่อทรัพย์สิน และเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ใช้จักรยานที่เพิ่มมากขึ้น โดยได้รับการ สนับสนุนด้านการออกแบบและบริหารจัดการโดยองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร ที่มี เป้าหมายในการพัฒนาต่อยอดทางด้านสิง่ แวดล้อมและสังคม และเป็นผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลัง การออกแบบอาคารและผังเมือง (Urban Design Planner) ให้สอดคล้องกับ การสร้างเมืองจักรยานในอัมสเตอร์ดัมในจุดต่างๆ โดยมีแนวคิดมุ่งเน้นไปที่การใช้ ชีวิตในเมือง 3 ส่วนหลัก คือ เส้นทาง จุดเชื่อมต่อ และจุดหมายปลายทาง ดังนั้น สถาปนิกจักรยาน (Bicycle Architecture) จึงเข้ามามีส่วนช่วยในการออกแบบร่วม ภายใต้ชื่อโครงการ Bicycle Architecture Biennale เป็นโครงการมุ่งเน้นให้มี นวัตกรรมที่แตกต่างไปจากเดิม (Ground Breaking) เช่น โครงการที่จอดรถจักรยาน บริเวณสถานีรถไฟ Utrecht Central Station ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก สามารถ จุจักรยานได้มากกว่า 12,500 คัน

โครงการทางจักรยานพลังงาน แสงอาทิตย์สามารถวิเคราะห์ โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ด้านผังเมือง

๏ ทางจักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ เริ่ ม ต้ น จากการทดสอบที่ เ มื อ งที่ อ ยู ่ ใ กล้ อัมสเตอร์ดัมก่อน เนื่องจากความหนาแน่น ของพืน้ ทีใ่ นกรุงอัมสเตอร์ดมั ท�ำให้ยากต่อการ ขยับขยาย ๏ การเลื อ กทางจั ก รยานสาธารณะ เป็ น การเพิ่ ม พลั ง งานทางเลื อ กที่ มี ต ้ น ทุ น ถูกกว่าการสร้างแผงพลังงานแสงอาทิตย์บน หลังคาบ้านของแต่ละครัวเรือน

2. ด้านโครงการ

• ทางจักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ ช่วยเพิ่มพลังงานสะอาดโดยใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาติ • ผิ ว ถนนด้ า นบนของทางจั ก รยาน พลังงานแสงอาทิตย์เป็นกระจกอาจจะท�ำให้ เกิดปัญหาทางด้านกายภาพ เช่น ดิน โคลน หิมะ ซึ่งอาจจะท�ำให้เกิดอุบัติเหตุได้

3. ด้านสังคม

รูปที่ 6 แสดง Utrecht Central Station (ที่มา: BYCS)

การวิเคราะห์โครงการทางผังเมืองโลจิสติกส์ของกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์

โครงสร้างและรูปแบบของการออกแบบพัฒนาผังเมืองของกรุงอัมสเตอร์ดัม ด้านการคมนาคมเป็นไปตามกรอบแนวความคิดเชิงพลวัตที่มุ่งเน้นไปที่เครือข่ายของ ถนน กิจกรรมการเคลือ่ นทีข่ องประชาชน และโครงสร้างการเคลือ่ นไหวในเมืองต่างๆ กรุงอัมสเตอร์ดัมได้มีการรณรงค์และออกมาตรการส่งเสริมให้คนหันมาใช้จักรยาน และท�ำการพัฒนาระบบเมืองให้สอดคล้องกับกรอบแนวความคิดนี้ เช่น โครงการทาง จักรยานพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Bike Path) เป็นโครงการที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม ในด้านความยั่งยืนในการใช้พลังงานสะอาด โครงการที่จอดรถสร้างความสะดวกให้ กับประชาชนในการสัญจรโดยจักรยาน อีกทั้งการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนรวมถึง องค์กรอิสระได้มสี ว่ นร่วมในการออกแบบระบบโครงสร้างพืน้ ฐานทีเ่ อือ้ อ�ำนวยต่อการ ขี่จักรยาน ท�ำให้กรุงอัมสเตอร์ดัมเกิดการพัฒนาทางด้านนวัตกรรมการออกแบบ ชุมชนเมืองตามกรอบแนวคิดของเมืองเชิงพลวัตได้อย่างมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ

Engineering Today July - August

2020

52

• โครงการพลังงานสะอาดช่วยปลูกฝัง จิตส�ำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคมในการ ประหยัดพลังงาน • ภาครัฐต้องให้ความส�ำคัญและออก นโยบายคุ้มครองส�ำหรับรถยนต์บนท้องถนน และผู้ใช้ทางเท้าควบคู่ไปกับนโยบายที่เอื้อ ประโยชน์ต่อนักปั่นจักรยาน เพราะหากคน กลุ่มนี้ถูกละเลยอาจก่อให้เกิดความรู้สึกไม่ เท่าเทียม ระยะยาวอาจก่อให้เกิดปัญหาสังคม ตามมา ข้อเสนอแนะของโครงการ หากภาครัฐ ต้องการออกแบบนโยบาย ควรให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการท�ำประชาพิจารณ์ก่อนเริ่มท�ำ โครงการ เพื่อความราบรื่นในการด�ำเนินงาน ควบคู่ไปกับการให้ความรู้การใช้ยานพาหนะ ที่ ถู ก ต้ อ งบนถนน ตรอกซอย และการใช้ ทางเท้าอย่างปลอดภัยผ่านการอบรม เพราะ ประชาชนควรได้ รั บ และตระหนั ก ถึ ง ความ ปลอดภัยที่เท่าเทียมกัน อีกทั้งควรก�ำหนด พื้นที่ทางเท้าชัดเจน และห้ามปั่นจักรยาน บนทางเท้า เป็นต้น


Property • กองบรรณาธิการ

ไรมอน แลนด์

เผยยอดขายโครงการ

“เดอะ ลอฟท์ สีลม” คืบหน้าแล้ว 75% คาดปิดการขายทั้งหมดภายในปี’63

ไลโอเนล ลี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไรมอน แลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ RML

โครงการ “เดอะ ลอฟท์ สีลม” มียอดขายแล้ว 75%

บริษัท ไรมอน แลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ RML บริ ษั ท ผู ้ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ะดั บ หรู ชัน้ น�ำของประเทศไทย เผยโครงการ “เดอะ ลอฟท์ สีลม” มียอดขายแล้วประมาณ 75% จากจ�ำนวน โครงการทัง้ หมดทีม่ อี ยู่ 268 ยูนติ แบ่งเป็นยอดขาย นักลงทุน 40% และยอดขายผู้อยู่อาศัยเอง 35% ส่วนจ�ำนวนห้องทีเ่ หลือคาดว่าจะสามารถปิดการขาย โครงการได้ภายในปี พ.ศ. 2563 ไลโอเนล ลี ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริษัท ไรมอน แลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ RML กล่าวว่า โครงการเดอะ ลอฟท์ สีลม คอนโดมิเนียม High Rise ระดับซูเปอร์ลักซัวรี่ สร้างขึ้นภายใต้ แนวคิ ด “Symphony of Life” โดยน� ำ ความ เป็ น ธรรมชาติ แ ละพื้ น ที่ สี เ ขี ยวมาสู ่ ใ จกลางเมื อ ง มีทั้งหมด 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบ “ไพร์ม” (Prime) เน้นความสดใส สว่าง เป็นตัวอย่างของการใช้ชีวิต ในเมื อ ง สไตล์ ส แกนดิ เ นเวี ย แบบ “มิ ด ไนท์ ” (Midnight) เน้นเฉดสีเข้ม ให้ความรู้สึกเงียบสงบ และแบบ “ดอว์น” (Dawn) แนวคลาสสิก โดยเลือก ใช้วัสดุโทนสีน�้ำตาลที่สื่อถึงความรู้สึกของธรรมชาติ ที่อบอุ่น ส�ำหรับตัวโครงการตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ไร่ 10 ตารางวา หรือ 3,240 ตารางเมตร มีความสูง 37 ชั้น ความสูงเพดานมีตั้งแต่ 3-5.6 เมตร จ�ำนวน 1 อาคาร จ�ำนวนห้องทั้งหมด 268 ยูนิต แบ่งเป็น ห้อง High Ceiling Hybrid ชั้น 9-18 เพดานสูง

4.7 เมตร มีแบบสตูดโิ อและแบบ 1 ห้องนอน พืน้ ทีใ่ ช้สอย 32-58.5 ตารางเมตร ราคาเริ่มต้น 8.96 ล้านบาท, ห้อง Simplex ชั้น 19-28 เพดานสูง 3 เมตร มี 2 แบบ คือ แบบ 1 ห้องนอน และ 2 ห้องนอน พื้นที่ใช้สอย 45.5-84.5 ตารางเมตร ราคาเริม่ ต้น 11.85 ล้านบาท, ห้อง Duplex ชัน้ 29-33 เพดานสูง 5.6 เมตร มี 2 แบบ คือ แบบ 2 ห้องนอน และ 3 ห้องนอน พื้นที่ใช้สอย 108.5-113.5 ตารางเมตร ราคาเริ่มต้น 27.9 ล้านบาท และห้อง Penthouse ชั้น 35-37 เพดานสูง 5 เมตร มี 4 ห้องนอน และมีค่าใช้จ่ายส่วนกลาง รายเดือนที่ 90 บาทต่อตารางเมตร ช�ำระล่วงหน้า 12 เดือน มูลค่ารวมโครงการ ทั้งหมด 3,500 ล้านบาท มีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 230,000 บาทต่อตารางเมตร ด้านท�ำเลที่ตั้งโครงการ เดอะ ลอฟท์ สีลม ตั้งอยู่ในซอยประมวญ ถนนสีลม ห่างจากรถไฟฟ้า BTS สถานีสรุ ศักดิป์ ระมาณ 430 เมตร ใกล้ MRT สีลม และใกล้จุดขึ้น-ลงทางด่วนศรีรัชเพียง 600 เมตร นอกจากนี้ยังมีสถานที่ ส� ำ คั ญ รอบๆ รายล้ อ ม เช่ น โรงเรี ย นเซนต์ โ ยเซฟคอนแวนต์ , โรงเรี ย น กรุงเทพคริสเตียน, โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ สีลม, โรงพยาบาลเลิดสิน, เอ็มไพร์ ทาวเวอร์, อาคารสาทรธานี, สาทร ซิตี้ ทาวเวอร์, เอไอเอทาวเวอร์, ตึกมหานคร, อาคาร ITF, ธนาคารกรุงเทพ ส�ำนักงานใหญ่ เป็นต้น โดยขณะนี้ มียอดขายประมาณ 75% จากจ�ำนวนห้องทัง้ หมด 268 ยูนติ แบ่งเป็นยอดขาย นั ก ลงทุ น ทั้ ง ชาวต่ า งชาติ แ ละคนไทย 40% และยอดขายผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย เอง ทั้งชาวต่างชาติและคนไทย 35% ส่วนจ�ำนวนห้องที่เหลือคาดว่าจะสามารถ ปิดการขายโครงการได้ภายในปีนี้ “ส�ำหรับยอดโอนทั้งหมดที่ขายไปแล้วนั้น ขณะนี้ได้เริ่มทยอยโอนห้อง ให้แก่ลูกบ้านแล้วกว่า 35% และคาดว่าสิ้นปีจะสามารถทยอยโอนห้องพัก ให้แก่ลูกค้าได้ประมาณ 50% เนื่องจากติดสถานการณ์ COVID-19 ลูกค้า ที่เป็นชาวต่างชาติยังไม่สะดวกที่จะเดินทางเข้ามาท�ำการโอนรับห้องพัก” ไลโอเนล ลี กล่าว ส�ำหรับกลยุทธ์ทางการตลาดภายหลังสถานการณ์ COVID-19 ว่า ทางไรมอน แลนด์ ได้มีการปรับตัวด้วยการท�ำการตลาดออนไลน์ทั้งการแชท และวิดีโอคอลคุยกับลูกค้ามากขึ้น ด้วยการน�ำ Raimon-iConnect เข้ามา ให้บริการ ท�ำให้ลูกค้าสามารถติดต่อกับบริษัทได้ง่าย สามารถชมห้องตัวอย่าง ได้ 360 องศา เสมือนเข้าเยี่ยมชมโครงการในสถานที่จริง เพื่อสร้างความ สะดวกสบายให้กับลูกค้ามากที่สุด และคาดว่าจะท�ำการปรับแผนการตลาด ของบริษัทฯ ในทุกๆ โครงการ เพื่อรองรับการแข่งกันในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ภายหลังจากสถานการณ์ COVID-19 คลี่คลายอีกครั้ง

53

Engineering Today July - August

2020


IT Update • กองบรรณาธิการ

ฟูจิตสึน�ำข้อมูลผลักดัน Data-driven Transformation ขับเคลื่อนธุรกิจดิจิทัล ค�ำปรึกษาและการติดตั้งระบบโดยอาศัยข้อมูล เริ่มต้นจากการ ก�ำหนดค่ามาตรฐานส�ำหรับการปรับปรุงข้อมูลภายในองค์กร จากนั้ น ก็ ก� ำ หนดสถาปั ต ยกรรมเป้ า หมาย และสร้ า งสภาพ แวดล้อมด้านข้อมูลเพื่อเป็นพื้นฐานส�ำหรับการสร้างมูลค่าทาง ธุรกิจโดยครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร นอกจากนี้ ฟูจิตสึยังน�ำเสนออัปเดตที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ส�ำหรับโซลูชนั่ ดาต้าเซ็นเตอร์ ทัง้ ในส่วนของเทคโนโลยีและบริการ ต่างๆ รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ชั้นน�ำจากพาร์ทเนอร์ ฟูจิตสึมีความ เชีย่ วชาญทีล่ กึ ซึง้ ในการบูรณาการเทคโนโลยีจากพาร์ทเนอร์หลาย ราย เช่น Microsoft, AWS, NetApp, VMware, Nutanix, Qumulo, Commvault, Veritas, SAP และอื่นๆ อีกมากมาย โดยน�ำเสนอโซลูชนั่ และบริการอย่างครบวงจร มีความหลากหลาย และครอบคลุมมากกว่าบริษัทไอทีรายอื่นๆ

ฟูจิตสึใช้ข้อมูลเป็นพื้นฐานส�ำหรับการปรับเปลี่ยนการ ด�ำเนินงานสู่ดิจิทัล (Digital Transformation) ช่วยให้ลูกค้า สามารถปลดล็อกและใช้ประโยชน์จากโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ได้อย่างเต็มศักยภาพ ทัง้ นีข้ อ้ มูลถือเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญทีร่ องรับธุรกิจดิจทิ ลั โดย จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีการส�ำรวจ ประมวลผล ปกป้อง และสร้างรายได้ จากข้อมูล แนวทางใหม่ Data-driven Transformation ของฟูจติ สึ ช่วยให้ลูกค้าได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากข้อมูล โดยอาศัย การจัดการและปกป้องสินทรัพย์ข้อมูลบนโครงสร้างพื้นฐานไอที ขนาดใหญ่ ครอบคลุมตั้งแต่ส่วนขอบไปจนถึงส่วนแกนหลักของ เครือข่าย รวมถึงระบบคลาวด์ ฟูจติ สึมงุ่ มัน่ ทีจ่ ะช่วยให้ลกู ค้าปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินธุรกิจด้วยการผลักดันโครงการ Digital Transformation โดยน� ำ เสนอกระบวนการที่ เ ป็ น ขั้ น เป็ น ตอนส� ำ หรั บ การให้

Engineering Today July - August

2020

54


นอกจากนั้น พาร์ทเนอร์ด้านช่องทางจัดจ�ำหน่าย Fujitsu SELECT ยังมีบทบาทส�ำคัญในการขยายตลาดในส่วนของธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม ด้วยเหตุนฟี้ จู ติ สึจงึ รับสมัครพาร์ทเนอร์ ด้านบริการเพิ่มเติม และบริษัทฯ ยังมุ่งมั่นที่จะช่วยให้พาร์ทเนอร์ SELECT พัฒนาโมเดลธุรกิจที่สร้างรายได้อย่างต่อเนื่อง และ สนับสนุนระบบนิเวศน์ของผู้ผลิตซอฟต์แวร์อิสระ เพื่อช่วยใน การพัฒนาและน�ำเสนอแอปพลิเคชั่นส�ำหรับการปรับปรุงการ ด�ำเนินงานให้กับลูกค้า ด้วยเครือข่ายพาร์ทเนอร์ที่เติบโตอย่างไม่ หยุดยั้ง ฟูจิตสึตั้งเป้าที่จะน�ำเสนอโซลูชั่นที่ตอบทุกโจทย์ความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างลงตัว คริสเตียน ลิวท์เนอร์ หัวหน้าฝ่ายขายผลิตภัณฑ์ประจ�ำ ภูมภิ าคยุโรปของฟูจติ สึ กล่าวว่า ข้อมูลคือหัวใจส�ำคัญของทุกสิง่ ทีล่ กู ค้าท�ำโครงการ Digital Transformation ทีป่ ระสบความส�ำเร็จ อาศัยการใช้ประโยชน์จากข้อมูลในลักษณะที่แปลกใหม่ อย่างไร ก็ตามในปัจจุบันโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลมีลักษณะซับซ้อน มากเกินไป ท�ำให้องค์กรส่วนใหญ่ไม่สามารถใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลได้อย่างเต็มที่ แนวทาง Data-driven Transformation ยกระดับขีดความสามารถของฟูจิตสึในการให้ความช่วยเหลือแก่ ลูกค้า เพือ่ ให้สามารถควบคุมและใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ขอ้ มูล ได้อย่างเต็มศักยภาพ นั่นคือขั้นตอนพื้นฐานที่จะน�ำไปสู่การ ปรับปรุงธุรกิจในอนาคต ด้ ว ยการใช้ แ นวทาง Human-Centric Experience Design (HXD) ของฟูจิตสึ ที่ปรึกษาของบริษัทฯ จะมุ่งเน้นการ บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่ดีที่สุด โดยสอดคล้องกับสินทรัพย์

ข้ อ มู ล และความต้ อ งการที่ แ ตกต่ า งของลู ก ค้ า แต่ ล ะราย กระบวนการนีค้ รอบคลุมไปถึงการค้นหาโซลูชนั่ ทีต่ อบโจทย์ความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างลงตัวมากทีส่ ดุ โดยอาศัยการผสานรวม เทคโนโลยีและบริการที่หลากหลายของฟูจิตสึและพาร์ทเนอร์ ฟูจิตสึจะประสานงานร่วมกับลูกค้าเพื่อก�ำหนดแบบร่าง ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ การสร้ า งสถาปั ต ยกรรมข้ อ มู ล แบบ กระจัดกระจายที่สอดรับกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย แทนที่จะใช้แนวทางแบบครอบจักรวาลลูกค้าจะได้รับประโยชน์ สู ง สุ ด จากการผนวกรวมทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ เ ข้ า กั บ ฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์แวร์ และบริการใหม่ โดยอาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชิด ระหว่างฟูจิตสึและพาร์ทเนอร์หลายราย “Digital Transformation จะช่วยให้องค์กรควบคุมและ ใช้ขอ้ มูลให้เกิดประโยชน์สงู สุด ลูกค้าของเราต้องการโซลูชนั่ หนึง่ เดียว ที่สามารถจัดการข้อมูลได้อย่างครบวงจร ไม่ใช่ฟีเจอร์ใหม่ๆ ทีเ่ พิม่ เติมให้กบั ผลิตภัณฑ์ แนวทาง Data-driven Transformation ของฟูจิตสึนับเป็นแนวทางใหม่ที่มุ่งเน้นข้อมูลเป็นหลัก และ ผสานรวมเทคโนโลยีดาต้าเซ็นเตอร์ทกี่ า้ วล�ำ้ ของเราเข้ากับโซลูชนั่ ชั้นน�ำจากพาร์ทเนอร์ทั้งเก่าและใหม่ โดยครอบคลุมทั้งส่วน แกนหลักของเครือข่ายส่วนขอบและในระบบคลาวด์ ลูกค้าจะ สามารถเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลที่ตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างลงตัว ฟูจิตสึมีความพร้อมอย่างมากในการ จัดหาโซลูชนั่ ทีเ่ หมาะสมอย่างแท้จริง โดยทีล่ กู ค้าไม่ตอ้ งยึดติดกับ เทคโนโลยีแบบปิดที่มีราคาแพง ซึ่งอาจไม่สามารถรองรับความ ต้องการในอนาคต” ลิวท์เนอร์ กล่าว

55

Engineering Today July - August

2020


บทความ

• *ฟาบิโอ ทิวิติ

การบริหารสินทรัพย์ อย่างมีประสิทธิภาพ รับมือภาวะฉุกเฉินที่กระทบ ต่อความปลอดภัยของชีวติ

การที่โครงสร้างพื้นฐานเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการสาธารณสุข ท�ำให้ ระบบบริหารสินทรัพย์เป็นสิ่งส�ำคัญในการตอบสนองต่อสถานการณ์ ฉุกเฉิน จะดีแค่ไหนหากองค์กรหนึ่งๆ รู้วิธีรับมือกับเหตุฉุกเฉินร้ายแรง พวกเขาเข้าใจดีถึงค่าใช้จ่ายของความล้มเหลวถ้าไม่มีการเตรียมตัว ให้พร้อม และการเตรียมพร้อมนั้นจะเป็นทั้งการช่วยชีวิต และท�ำให้ ธุรกิจเกิดการสูญเสียทางการเงินน้อยทีส่ ดุ และการลงระบบทีต่ อบรับ สถานการณ์ฉกุ เฉินต่างๆ ให้พร้อม ก่อนทีจ่ ำ� เป็นจะต้องใช้ระบบเหล่า นั้น จะช่วยลดเวลาในการกู้คืนระบบ การเตรี ย มความพร้ อ มรั บ มื อ ในสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น ที่ มี ประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถในการติดตามดูความเป็นไป และการบริหารจัดการสินทรัพย์ทางกายภาพรวมถึงทรัพยากรบุคคลได้ ทุกเวลาที่ต้องการ

ท�ำความเข้าใจให้ถ่องแท้

เมื่อเริ่มเห็นเค้าลางของปัญหา องค์กรที่ได้เตรียมการไว้เป็นอย่าง ดีจะเริ่มด�ำเนินการตามชุดแผนปฏิบัติงานที่ก�ำหนดไว้ได้ทันที เช่น การท�ำสัญญาจัดซื้อ การท�ำสัญญาว่าจ้างผู้รับเหมา การเตรียมการเรื่อง บุคลากร และอุปกรณ์เครือ่ งมือต่างๆ ทีจ่ ะช่วยให้องค์กรพร้อมรับมือกับ ภัยพิบตั ทิ กี่ ำ� ลังจะมาถึง และเมือ่ ภัยเหล่านัน้ ใกล้เข้ามา พวกเขาก็จะเดิน หน้าโครงการและน�ำโครงการย่อยต่างๆ ที่ได้พิจารณาวางแผนไว้อย่าง รอบคอบแล้ว มาบูรณาการใช้งานได้ทันที ถ้าประเด็นอยูท่ โี่ ครงสร้างพืน้ ฐานทัง้ หมดอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน สูงสุดก่อนเกิดภัยพิบัติใดๆ องค์กรเหล่านี้ก็จะมีข้อมูลการซ่อมบ�ำรุง แบบเรียลไทม์เพื่อระบุว่าชิ้นส่วนใดจ�ำเป็นต้องได้รับการดูแลทันที และ ถ้าประเด็นอยู่ที่การประเมินสถานการณ์เพื่อหาจุดเปราะบางต่างๆ *รองประธานบริษัท อินฟอร์ อาเซียน Engineering Today July - August

2020

56

ฟาบิโอ ทิวิติ

องค์ ก รเหล่ า นี้ ก็ จ ะมี เ ซ็ น เซอร์ แ ละการตรวจสอบทาง กายภาพเพื่อจัดสรรทรัพยากรตามความเหมาะสม ดั ง นั้ น เมื่ อ สถานการณ์ ค ลี่ ค ลายแล้ ว องค์ ก รจะ สามารถติดตามตรวจสอบการท�ำงานของเครื่องจักรใน แต่ละครัง้ ชิน้ ส่วนอุปกรณ์ และการใช้ทรัพยากรในการผลิต ได้อย่างถี่ถ้วนด้วยระบบติดตามต่างๆ ที่ติดตั้งไว้ นั่นหมายถึงว่า องค์กรจะสามารถรวบรวมค่าใช้จ่าย ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้โดยง่าย เพื่อท�ำการเรียกคืนค่าชดเชย ส่งรายงานข้อมูลหลังการด�ำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้อง และ ท�ำการประเมินได้อย่างตรงไปตรงมาและโปร่งใสว่าการ ด�ำเนินการแบบใดได้ผลดีที่สุด

การบูรณาการการตอบสนอง ของผู้ประกอบการขนส่ง

การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นตัวอย่างของภัย พิบัติเฉียบพลันที่สุด ที่ต้องได้รับการตอบสนองอย่างเป็น ระบบจากผู้ประกอบการขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่งที่จะสามารถรับมือกับภัยพิบัติ ต่างๆ ได้ดีที่สุด จะต้องมีความสามารถต่อไปนี้ • มีความแม่นย�ำและใช้วิธีการที่สามารถจ�ำแนก ยานพาหนะ และอุปกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบ ล่าสุดได้โดยง่าย • สามารถระบุช่วงเวลาที่มีการใช้ยานพาหนะน้อย เพื่อให้สามารถก�ำหนดเวลาซ่อมบ�ำรุงตามปกติ หรือก�ำหนดการซ่อมบ�ำรุงครั้งใหญ่ • สามารถปรับตารางการท�ำความสะอาดได้อย่าง รวดเร็ว และเมื่อมีค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับสุขอนามัย สาธารณะออกมาเมื่อใด ต้องสามารถปรับให้ สอดคล้องเหมาะสมได้ทันที • สามารถปรับกระบวนการซ่อมบ�ำรุงประจ�ำวัน ต่างๆ ให้ตอบรับกับสิ่งที่เกิดจากประสบการณ์ การระบาดของโรค และก�ำหนดกระบวนการให้ได้ อย่างละเอียด


ในกรณีฉุกเฉินใดๆ ซึ่งรวมถึงการระบาดใหญ่ ล้วนมีความเสี่ยง ที่ข้อมูลของระบบซัพพลายเชนที่ส�ำคัญๆ อาจไม่ได้รับการจัดเก็บอย่าง เหมาะสม เครื่องมือใหม่ๆ ที่กระจายอยู่ในระบบซัพพลายเชนส่วนใหญ่ จะเน้นไปที่การน�ำไปใช้งานภาคสนามก่อน แต่หากอุปกรณ์เหล่านั้น ไม่ได้ถูกบันทึกไว้ในรายการสินค้าคงคลัง หน่วยงานก็จะไม่สามารถ ติดตามตรวจสอบการใช้งาน ประสิทธิภาพในการท�ำงาน สภาพการ ท�ำงาน ค่าใช้จ่าย หรือการจ�ำหน่ายออกจากระบบได้ อุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคลเป็นสิง่ ส�ำคัญในภาวะวิกฤต COVID-19 ในปัจจุบัน แต่หากเป็นภัยพิบัติทางกายภาพ ล�ำดับความส�ำคัญอาจ แตกต่างกันออกไป แต่ไม่ว่าในรายละเอียดจะเป็นอย่างไร ภาวะฉุกเฉิน เป็นตัวอย่างที่ท�ำให้เห็นได้ชัดเจนว่า คุณจะไม่สามารถจัดการกับสิ่งที่ คุณไม่สามารถตรวจวัดได้ ในกรณีนี้ หากคุณไม่ทราบว่าสิง่ ทีค่ ณ ุ ต้องการ นั้นอยู่ที่ใด คุณก็จะไม่สามารถติดตามตรวจสอบสิ่งนั้นได้ไม่ว่าเพื่อ จุดประสงค์ใดก็ตาม

สร้างกลับมาใหม่ให้ดีกว่าเดิม

ระบบทุกประเภท รวมถึงระบบขนส่งสามารถเรียนรู้และปรับปรุง ตัวเองได้ตลอดเวลา หากระบบเหล่านั้นได้รับการตั้งค่าให้ใช้หลักการ ที่สามารถสร้างกลับมาใหม่ให้ดีกว่าเดิม โดยเริม่ จากการให้ความสนใจกับหน่วยงานและโครงสร้างพืน้ ฐาน ของหน่วยงานนั้นๆ อย่างใกล้ชิด ก่อนที่จะเกิดการแพร่ระบาดครั้งใหญ่ จากนั้นท�ำการบันทึกการตอบสนองของระบบต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในช่วงวิกฤตพร้อมมุมมองที่ชัดเจนของสิ่งที่เกิดขึ้น รายละเอียดจะต้อง ละเอียดมากพอที่จะทราบได้ถึงความพร้อมใช้ของสินทรัพย์ที่ระบุ และ ความสามารถในการปฏิบัติงานของสินทรัพย์นั้นภายใต้ความกดดัน ระเบี ย บของแต่ ล ะบุ ค คลที่ ช ่ ว ยให้ ค นงานสามารถท� ำ งานในโหมด “สะอาด” ความโปร่งใสของซัพพลายเชน วัสดุต่างๆ รวมถึงการมี ปฏิสัมพันธ์กับคู่สัญญาส�ำคัญๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานขนส่งมวลชนเริ่มได้รับเงิน กองทุนเพื่อการฟื้นฟู ภายใต้พระราชบัญญัติการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ และความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ผูป้ ระกอบการจะ สามารถท�ำการประเมินหลังการปฏิบัติการได้ เพื่อคาดการณ์ปัญหาใน อนาคต สามารถตอบสนองต่อความคาดหวังที่เปลี่ยนแปลง และเข้าใจ อุปสรรคเพือ่ จะได้มปี ระสิทธิภาพในการท�ำงานทีด่ ยี งิ่ ขึน้ และเราอาจจะ ได้เห็นว่า FTA (Free Trade Area) จะรับมือด้วยการยกระดับมาตรฐาน การปฏิบตั งิ าน หรือมาตรการในการชีว้ ดั ประสิทธิภาพในการท�ำงานของ สินทรัพย์ เพือ่ ถอดบทเรียนทีไ่ ด้รบั จากการแพร่ระบาดใหญ่ครัง้ นีอ้ ย่างไร การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นที่ใดก็ตาม การมีส่วนร่วมในสถานการณ์ ฉุกเฉินใดๆ นับเป็นช่วงเวลาส�ำคัญทีเ่ ราจะได้เห็นความส�ำเร็จต่างๆ ตาม มา เป็นโอกาสในการแยกแยะช่องว่างต่างๆ และท�ำความมุ่งมั่นพื้นฐาน ให้ลุล่วงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงการ น�ำระบบการจัดการ และระบบไอทีมาใช้ขับเคลื่อนความส�ำเร็จ

57

Engineering Today July - August

2020



Project Management • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

ผลกระทบจากภัย โรคระบาด COVID-19

ต่อวิชาชีพวิศวกรรมในระยะสั้นและระยะยาว (Short Term and Long Term of COVID-19 Situation on Engineering)

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) และ นานาประเทศว่า เป็นประเทศก�ำลังพัฒนาประเทศเดียวที่ถูกจัด ให้อยู่ใน 10 อันดับประเทศที่สามารถคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ได้ดี รัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขมีการบริหาร จัดการกับการแพร่ระบาดได้เป็นอย่างดี โดยมีปัจจัยสนับสนุน คือความร่วมมือของประชาชนและระบบเครือข่ายการดูแลสุขภาพ ระดับชุมชนผ่านกลไกอาสาสมัครสาธารณสุข

จากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินจากการระบาดของ COVID-19 ในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 เพื่อให้การบังคับใช้มาตรการต่างๆ ในการ ยับยัง้ การแพร่ระบาดของ COVID-19 โดยให้สว่ นราชการบางส่วน และมีการขอความร่วมมือกับภาคเอกชนในการท�ำงานลักษณะ ไม่ท�ำงานในส�ำนักงาน โดยการวางแผนงานการปฏิบัติหน้าที่ ที่บ้านแทนการเข้าส�ำนักงาน จึงมีการปรับรูปแบบการท�ำงานให้ มีความต่อเนื่องและสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เรียกว่า “Work From Home” และยังประกาศมาตรการเคอร์ฟวิ ห้ามการออกจาก ถิ่นฐานที่พักอาศัยในช่วงเวลา 22.00 น. ถึง 04.00 น. โดยให้ถือ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด และมี ก ารผ่ อ นผั น มาตรการข้ อ บั ง คั บ ต่อๆ มาเมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ใน ประเทศไทยดีขนึ้ อย่างต่อเนือ่ ง ไม่มกี ารแพร่ระบาดของประชากร กันเองภายในประเทศ โดยผ่อนปรนให้มีการเดินทางเข้าท�ำงาน เปิ ด ตลาดสดและห้ า งสรรพสิ น ค้ า การเดิ น ทางด้ ว ยรถยนต์ สาธารณะ การประกอบวิชาชีพต่างๆ เริม่ ตัง้ แต่มาตรการผ่อนปรน ระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 5 โดยให้ถอื ปฏิบตั โิ ดยเคร่งครัดในการรักษา ระยะห่าง (Social Distancing) การใส่หน้ากากอนามัยและ หน้ากากใส (Mask and Face Shield) การล้างมือด้วยสบู่และ แอลกอฮอล์ ที่ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 (สบค.) ย�ำ้ เสมอคือ การ์ดอย่าตก ซึง่ ได้ ผลดี ท�ำให้การประกาศล่าสุดได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ ประกาศสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น ดั ง กล่ า วออกไปจนถึ ง วั น ที่ 31 สิงหาคม 2563 และพิจารณามาตรการผ่อนปรนระยะที่ 6 สืบเนื่องจากไม่มีผู้ติดเชื้อในประเทศไทยเป็นศูนย์รายนานถึง 65 วัน และ ณ ปัจจุบนั วันที่ 28 กรกฎาคม 2563 ยอดผูต้ ดิ เชือ้ มีจ�ำนวน 3,297 รายและเสียชีวิตกว่า 58 คน ซึ่งประเทศไทย ได้รับการยกย่องว่ามีการดูแลและรักษาได้ดี มีค�ำชื่นชมจากทั้ง

สถานการณ์การระบาดของ COVID-19

วิกฤต COVID-19 ครั้งนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็น “วิกฤตที่ไม่ เหมือนวิกฤตใดในอดีต (This Time is Really Different)” โดยมี รูปแบบของการเกิดที่ต่างจากวิกฤตอื่นในอดีต เริ่มต้นจากการ แพร่ระบาดอย่างรวดเร็วของไวรัส COVID-19 เป็นสถานกาณ์ที่ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็วและรุนแรงจนแพร่กระจายไปในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ผู้คนเจ็บป่วยและล้มตายจ�ำนวนมาก โดยสถิติยังไม่ สามารถหยุดนิ่งได้ ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2563 ยอด ผู้ติดเชื้อจากทั่วโลกที่สามารถบันทึกได้คือ กว่า 6.11 ล้านราย และเสียชีวิตกว่า 3.71 แสนคน แต่ ณ ปัจจุบัน บันทึกในวันที่ 28 กรกฎาคม 2563 ยอดผู้ติดเชื้อจากทั่วโลกที่สามารถบันทึกได้ คือกว่า 16.64 ล้านราย และเสียชีวิตกว่า 6.565 แสนคน เป็นสถิตทิ เี่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วทีเ่ ป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง อีกครั้งหนึ่งของมนุษยชาติที่ยังไม่สามารถหยุดยั้งได้ กลายเป็น มหาวิกฤตทางสาธารณสุขโลก ภาครัฐในหลายประเทศต้องใช้ มาตรการล็อกดาวน์ครั้งใหญ่ (Great Lockdown) เพื่อจ�ำกัดการ แพร่ ร ะบาด ส่ ง ผลกระทบต่ อ การใช้ ชี วิ ต ของผู ้ ค นและท� ำ ให้ กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ของประเทศต่ า งๆ ทั่ ว โลกหยุ ด ชะงั ก พร้อมกัน (Global Simultaneous Shocks)

59

Engineering Today July - August

2020


วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยภายใต้เงื่อนไขสถานการณ์ ฉุกเฉินการระบาดของ COVID-19

(Twin Demand-Supply Shocks) จากสถานการณ์วิกฤตการ แพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งพูดให้เข้าใจง่ายๆ คือมาตรการ ล็อกดาวน์ (Lockdown) ทั้งประเทศ คือการหยุดกิจกรรมทุก ประเภท ทุกด้านทางธุรกิจ คนไทยเกือบทุกคนต้องอยู่แต่ท่ีบ้าน (Stay at Home) ท�ำให้ความต้องการในการซื้อไม่มี เพราะการ ขาดรายได้จึงไม่มีก�ำลังซื้อ และการไม่สามารถในการผลิตที่ หลายๆ ธุรกิจอุตสาหกรรมไม่สามารถด�ำเนินได้ ท�ำให้หลายธุรกิจ ต้องหยุดกิจการและก้าวสู่การปิดกิจการอีกต่อมา รายได้หลักของประเทศไทยซึง่ สะท้อนโดยตรงกับผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศและอัตราการเติบโต GDP นั้นเป็น ผลจาก ธุรกิจด้านบริการซึง่ ประเทศไทยมีรายได้หลักทีไ่ ด้จากนักท่องเทีย่ ว จากต่างประเทศและนักท่องเที่ยวภายในประเทศ ถ้าเป็นนัก ท่องเทีย่ วต่างชาติมผี ลต่อ GDP ประมาณ 12% ถ้ารวมของไทยด้วย ก็เกือบๆ 20% ของ GDP นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศทั้งปี ในปีที่แล้วอยู่ที่ประมาณ 40 ล้านคน และส่วนใหญ่เป็นนัก ท่องเที่ยวจากประเทศจีน แต่ปีนี้สถานการณ์ COVID-19 เกิดขึ้น ในจีนตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2562 ทางการจีนยืนยันเมือ่ วันที่ 31 ธันวาคม ปีที่แล้วว่า เกิดการระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในเมืองอู่ฮั่น ซึ่งมีประชากรกว่า 11 ล้านคน ซึ่งได้มีการเก็บตัวอย่างไวรัสจาก คนไข้นำ� ไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ และพบว่าเชื้อไวรัสลึกลับ ที่ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการของโรคปอดอักเสบนั้น เป็นไวรัสโคโรนา สายพันธุใ์ หม่ มีผตู้ ดิ เชือ้ ถึงกว่า 8 หมืน่ รายและเสียชีวติ ในเบือ้ งต้น กว่า 4 พันราย และในต้นปี พ.ศ. 2563 ได้ระบาดเข้าสูท่ วีปเอเชีย จนรุกรานไปทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อโรคแล้วกว่า 16 ล้านราย และ เสียชีวิตกว่า 6 แสนราย ซึ่งเป็น ผลให้นักท่องเที่ยวชะงักโดย ฉับพลันในปี พ.ศ. 2563 การประมาณการท่องเทีย่ วจากต่างประเทศ ต้องประมาณกันเข้าใกล้ศูนย์เพราะการล็อกดาวน์กันทั่วโลก ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อภาคบริการคือสายการบินหยุดบินและมีการ ปิดกิจการ โรงแรมหยุดกิจการเพราะไม่มีนักท่องเที่ยวในช่วง ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ซึ่งมีผลกระทบต่อภาคบริการต่างๆ โดยตรง และการขาดรายได้ของบุคคลและธุรกิจสืบเนื่องของการ หยุดกิจการในภาคบริการอย่างเป็นลูกโซ่ เป็นผลให้เกิด Demand Shock โดยตรงกับธุรกิจบริการ อีกทั้งรายได้หลักของประเทศไทยคือภาคการผลิตและ ส่งออกจริงๆ ตัวเลขออกมาทีป่ ระกาศโดยกระทรวงพาณิชย์มลู ค่า การส่งออกของไทยปี พ.ศ. 2561-2563 (มกราคม-มิถุนายน) มีการติดลบกว่า 13% เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2562 บางตัวอย่าง อุตสาหกรรมรถยนต์ติดลบประมาณ -53% นี่คือภาพส่งออก ซึ่ง เราก็คิดว่าไตรมาส 3 น่าจะหดตัวต่อเนื่อง การล็อกดาวน์ของ ต่างประเทศท�ำให้ Demand ลดลงด้วย ผลกระทบคือภาคการผลิต มีการหยุดและปิดกิจการ ส่วนทีย่ งั สามารถด�ำเนินการได้อยูก่ ม็ กี าร ลดก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง มีการลดวันท�ำงานของพนักงาน การปลดพนักงานเกิดขึ้นในนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ จ�ำนวนมาก

สถานการณ์ อั น ผิ ด ปกติ (Abnormal) นั้ น เคยเกิ ด ขึ้ น หลายครั้งในเศรษฐกิจโลก แต่ครั้งที่ส�ำคัญที่เป็นเหตุที่เกิดจาก ประเทศไทยเป็นประเทศต้นเหตุและได้รับผลกระทบด้านวิกฤต ทางการเงินเมื่อปี พ.ศ. 2540 จนได้ขนานนามว่าเป็น “วิกฤต ต้มย�ำกุ้ง” ซึ่งเกิดจากภาคการเงินเป็นหลักการลงทุนเพราะว่ามี ปัญหาฟองสบู่ในตลาดหุ้น ฟองสบู่ในตลาดอสังหาฯ นโยบาย ค่าเงินคงที่ที่ท�ำให้เกิดหนี้ต่างประเทศสูง พอเกิดวิกฤตขึ้นมา ก็ได้มีการประกาศลอยค่าเงินบาทในเดือนกรกฎาคม 2540 เป็น ผลให้ค่าเงินบาทเมื่อเทียบอัตราแลกเปลี่ยนกับค่าเงินยูเอส ดอลลาร์ ลดค่าลงจากอัตรา 25 บาทกว่าต่อ 1 ดอลลาร์ กลายเป็น 50 บาทกว่าต่อ 1 ดอลลาร์ เป็น ผลให้ลูกหนี้ทางการเงินสกุล ต่างประเทศต้องรับภาระหนี้เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในชั่วเวลาเพียง ไม่กี่วันหลังประกาศลอยค่าเงินบาท จนก่อให้เกิดเป็น Negative Demand Shock ขนาดใหญ่ แต่ผลกระทบจริงๆ มันกระจุกอยู่ เพียงในโซนเอเชีย ส่วนอย่างอื่นยังเติบโตได้อยู่ และเป็น ผล ท�ำให้มีทุนต่างชาติเข้ามาซื้อกิจการอสังหาริมทรัพย์ในราคาถูก จ�ำนวนมาก √ ในปี พ.ศ. 2539 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศแบบ ปริมาณลูกโซ่มลู ค่า 5,355.4 พันล้านบาท GDP +5.7% √ ในปี พ.ศ. 2540 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศแบบ ปริมาณลูกโซ่มูลค่า 5,207.9 พันล้านบาท GDP -2.8% √ ในปี พ.ศ. 2541 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศแบบ ปริมาณลูกโซ่มูลค่า 4,810.3 พันล้านบาท GDP -7.6% √ ในปี พ.ศ. 2544 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศแบบ ปริมาณลูกโซ่มลู ค่า 5,435.4 พันล้านบาท GDP +3.4% จากข้ อ มู ล ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยแสดงให้ เ ห็ น ว่ า ประเทศไทยสามารถฟื้นกลับมายืน ณ จุดเดิมก่อนเกิดวิกฤต ต้มย�ำกุ้งใช้เวลามากถึง 5 ปี เศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบรอบ ต้มย�ำกุ้งส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่ในภาคอสังหาฯ ภาคก่อสร้าง ภาคการเงิน และส่วนมากเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ ตอนนั้นยังมี ภาคเกษตรเป็นตัวช่วยให้เรา คนตกงานก็กลับไปอยู่ภาคเกษตร คนตกงานสามารถกลับบ้านตนเองทีต่ า่ งจังหวัดและด�ำรงชีพอยูไ่ ด้ แต่รอบนี้ปี พ.ศ. 2562 มีความต่างเป็นอย่างมาก เพราะ เกิดขึ้นด้วยการระบาดของ COVID-19 แล้วก็ Shock เข้าไป ที่เศรษฐกิจโดยตรงถึงระดับรากหญ้าจนถึงผู้ประกอบการทั้ง ภาคบริการและภาคการผลิต ท�ำให้เกิดทั้ง Supply Shock และ Demand Shock พร้อมๆ กัน และก็เป็น ผลกระทบที่เกิดขึ้น ทั่วโลกพร้อมกัน การที่กิจกรรมการผลิตหยุดชะงักพร้อมกัน (Global Simultaneous Shocks) กับรายได้และก�ำลังซื้อที่ลดลง รุนแรงท�ำให้ลุกลามเป็นวิกฤตทางเศรษฐกิจทั่วโลก ซึ่งในครั้งนี้มี ลักษณะพิเศษคือเป็นวิกฤตคูท่ งั้ ด้านอุปสงค์และอุปทานพร้อมกัน

Engineering Today July - August

2020

60


ผลกระทบต่อวิชาชีพวิศวกรในสถานการณ์วิกฤต ระบาดของ COVID-19

มีเรือ่ งส�ำคัญทางการเงิน กล่าวคือ ธนาคารแห่งประเทศไทย มีการประกาศขอให้ธนาคารพาณิชย์งดจ่าย “เงินปันผลระหว่าง กาล” และ “งดซือ้ หุน้ คืน” แม้วา่ จะกระทบต่อผูถ้ อื หุน้ ของธนาคาร พาณิชย์ในช่วงสั้นๆ แต่จะเป็น ผลดีส�ำหรับผู้ถือหุ้นของธนาคาร พาณิ ช ย์ ใ นระยะยาว ซึ่ ง ประกาศดั ง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง มาตรการการป้องกันเป็นการช่วยให้ธนาคารพาณิชย์สามารถ รั ก ษาสภาพคล่ อ งทางการเงิ น และรั ก ษาความมั่ น คงของ ธนาคารเอง จากที่กล่าวถึงว่าผลจาก COVID-19 เป็นวิกฤตคู่ขนาน ทั้งด้านอุปสงค์และอุปทานพร้อมกัน (Twin Demand-Supply Shocks) ซึง่ แตกต่างจากวิกฤตต้มย�ำกุง้ ในปี พ.ศ. 2540 ซึง่ วิกฤต COVID-19 นั้นมีผลทั้งทางตรงต่อสุขภาพและอาจถึงตายได้ ถ้าทางการสาธารณสุขไม่เข้มแข็งพอ ซึง่ เรือ่ งนีป้ ระเทศไทยมีความ สามารถในการก�ำหนดมาตรการต่างๆ ในการป้องกันและความ ร่วมมือทีด่ จี ากประชาชนด้วยการ “การ์ดไม่ตก” แต่ผลกระทบทาง เศรษฐกิจนัน้ รุนแรงเนือ่ งจากทัว่ โลกยังมีอตั ราการติดเชือ้ และเสียชีวติ อยูใ่ นอัตราสูงและยังไม่มวี คั ซีนป้องกัน ผลของ Demand-Supply Shocks จะมีผลต่อ GDP ประเทศไทยที่อาจติดลบมากถึง 10% และต่อเนื่องยาวนาน ซึ่งอาจประมาณการได้ว่ามากกว่าวิกฤต ต้มย�ำกุ้งที่ใช้เวลาฟื้นกลับสู่ปกติได้ต้องใช้เวลามากถึง 5 ปี โดย มีการสูญเสียภาคธุรกิจที่ล้มสลายไปจ�ำนวนมาก ซึ่งจุดเริ่มต้น เกิดจากประเทศไทยไม่ใช่ทงั้ โลก แต่วกิ ฤตโรคภัยจากโควิด 19 นัน้ เกิดทัง้ Demand-Supply Shocks ทางเศรษฐกิจ เกิดทัง้ อันตราย ถึงชีวิตนับแสนนับล้านคนและเป็นภัยวิกฤตที่เกิดขึ้นทุกพื้นที่ ทั้งโลก

จากสถานการณ์วิกฤตระบาดของ COVID-19 นั้น มี ผลกระทบโดยตรงกับอาชีพวิศวกรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว อย่างเช่น การหยุดบินของสายการบินทั่วโลกและการปิดกิจการ ของสายการบินในเวลาต่อมา ปริมาณของผู้ใช้บริการสนามบิน ที่ลดลงอย่างมากส่งผลกระทบต่อเจ้าหน้าที่ทุกระดับในสาย การบินและธุรกิจทางการบิน การหยุดด�ำเนินกิจการของโรงแรม เนื่องจากไม่มีนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ ซึ่งต่อให้เปิด จ�ำนวน ลูกค้าก็ลดลงจนไม่สามารถมีรายได้พอทีจ่ ะด�ำเนินกิจการ การปิด โรงงานอุตสาหกรรมและลดก�ำลังการผลิต การหยุดงานก่อสร้าง โครงการต่างๆ เพือ่ การชะลอและดูผลกระทบนัน้ เป็นผลโดยตรง ต่ออาชีพวิศวกรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่เนื่องจากวิศวกรมีการท�ำงานในหลายภาคธุรกิจ ซึ่ง บางธุรกิจอาจเป็นโอกาสที่สามารถรุ่งโรจน์ แต่หลายธุรกิจเข้าสู่ สภาวะตกต�่ำหรือล้มละลายได้ วิศวกรต้องเรียนรู้การประเมินว่า ตนเองนั้นอยู่ในธุรกิจประเภทไหน มีผลกระทบอย่างไร จึงขอ น�ำเสนอมุมมองของรูปแบบการฟืน้ ตัวเศรษฐกิจโลกหลัง COVID-19 ใน 5 รูปแบบ ทีเ่ รียกว่า “The 5 Shapes of Economic Recovery” ซึง่ วิกฤตครัง้ นีเ้ ปรียบเสมือนสงครามโรคทีม่ นุษย์ตอ้ งต่อสูก้ บั ศัตรู ที่มองไม่เห็น และไม่มีชาติใดที่จะหนีจากภาวะการถดถอยทาง เศรษฐกิจได้ แต่ขอให้หยั่งรู้สถานการณ์การด�ำเนินธุรกิจว่าเราอยู่ ใน Business Curve อย่างไรในระดับองค์กร และตอนนีเ้ ศรษฐกิจ ประเทศหรือเศรษฐกิจโลกมีรูปแบบอย่างไร จะท�ำให้เราสามารถ เตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ได้ก่อนเพื่อการอยู่รอด ซึ่งทั้ง 5 รูปแบบ มีดังนี้

61

Engineering Today July - August

2020


รูปแบบที่ 1

ระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับโลก การล็อกดาวน์เมือง การล็อกดาวน์ประเทศ COVID-19 เป็นเชื้อร้ายที่ยังไม่สามารถ ควบคุมการระบาดของโรคได้ แต่วิกฤตระบาดของ COVID-19 นัน้ ไม่ใช่จะมีผลกระทบต่อทุกภาคส่วนทีท่ ำ� ให้ตกต�ำ่ ลงอย่างฉับพลัน จากระดับ 1.0 เป็น 0.0 ในทันที ในหลายส่วนธุรกิจและเป็น อันตรายถึงชีวติ กับประชากรโลก ซึง่ ปัจจุบนั องค์การสหประชาชาติ (UN) ประมาณการว่าประชากรโลกมีจำ� นวนราวๆ 7,300 ล้านคน ณ เดือนมกราคม 2563 อย่างไม่มกี ารละเว้นในอันตราย การเกิด Great Depression มีผลต่อทุกภาคส่วน ธุรกิจตกต�ำ่ ซึ่งใช้เวลา นานกว่า 10 ปี ในการฟื้นกลับคืน 2 ปัจจัยที่เกิดวิกฤตระบาด ของ COVID-19 ท�ำความเสียหายต่อธุรกิจทุกภาคส่วนและ สุขภาพ การฟื้นภายใน 5 ปีหรือ 10 ปีนั้นจะเป็นการตอบ ยากมาก แต่รูปแบบ L-Shape จะสามารถประเมินได้ว่ายังอีก ยาวนานกว่าที่คิด

มีลกั ษณะแบบ V-Shape เป็นลักษณะทีต่ กต�ำ่ อย่างรวดเร็ว แต่กลับฟื้นขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน เป็นการ “ลงเร็ว ฟื้นเร็ว” และสามารถรักษาการเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการจะ สามารถด�ำเนินธุรกิจหรือเศรษฐกิจ ต้องเป็นแบบที่ผู้น�ำมีความ สามารถทางเชิงกลยุทธ์สูงสามารถพลิกสถานการณ์อันเลวร้าย ให้ฟื้นกลับมาได้อย่างรวดเร็ว กลยุทธ์ที่ส�ำคัญในช่วงนี้คือการ ใช้แนวคิดที่เรียกกันว่า Disruption เป็นการโดดเด่นที่แตกต่าง ทีอ่ าศัยศักยภาพของบุคลากรทีเ่ ข้าใจในสภาวะตกต�ำ่ และการรวมกัน เป็นหนึ่ง Synergy Power เพื่อความอยู่รอด โดยต้องอาศัยความ สามารถอันเป็นเลิศของผู้น�ำที่สามารถพลิกวิกฤตเป็นโอกาสได้

รูปแบบที่ 2 แบบ U-Shape เป็นลักษณะทีม่ ปี จั จัยปัญหาหลายประการ ทีท่ ำ� ให้การด�ำเนินธุรกิจหรือเศรษฐกิจเกิดการถดถอยอย่างต่อเนือ่ ง และสามารถฟื้นกลับอย่างช้าๆ ด้วยการแก้ไขและฟื้นกลับอย่าง ช้าๆ เป็นการ “หดตัวนาน ฟื้นตัวช้า” รูปแบบที่เป็น U-Shape นั้น จะสามารถผ่านวิกฤตและเก็บบทเรียนจากอดีต ดังเช่นวิกฤตต้มย�ำ กุ้งในปี พ.ศ. 2540 ที่ใช้เวลา 2-3 ปีในช่วงตกต�ำ่ ลง เนื่องจาก ค่าเงินบาทและเงินทุน แต่มีความแข็งแกร่งด้านการเกษตรและ ความสมบูรณ์มาช่วยประคอง และช่วง 5 ปีหลังก็สามารถฟืน้ อย่าง ช้าๆ กลับคืนสูงช่วงขาขึ้น แม้กระทั่งการเกิดวิกฤตแฮมเบอเกอร์ ในสหรัฐอเมริกา ก็ไม่มผี ลกระทบต่อประเทศเพราะเรามีภมู คิ มุ้ กัน และบทเรียนที่ดี

รูปแบบที่ 5 แบบ Swoosh, Tick or Italicized V-Shape “ถดถอย ลงเร็ว ค่อยๆ ฟื้นตัว” คล้ายกับรูปแบบแรก แตกต่างกันตรงที่ ระยะเวลาของผลกระทบที่อาจนานกว่า ท�ำให้ใช้เวลาฟื้นตัวนาน เช่น การเกิด Great Depression ในปี ค.ศ. 1929-1939 มีผลต่อทุกภาคส่วนธุรกิจตกต�่ำ ซึ่งใช้เวลานานกว่า 10 ปี ขอให้วศิ วกรในส่วนธุรกิจต่างๆ พึงประเมินให้ถอ่ งแท้วา่ เรา ด�ำเนินธุรกิจอยู่ในรูปแบบใดใน 5 รูปแบบ อาจเป็น Business Cycle ที่เป็นแบบผสมผสานในแต่ละ Shapes of Economic Recovery ได้แล้ว ตอนนี้เราอยู่จุดไหนของธุรกิจและเศรษฐกิจ ประเทศ ให้ประเมินสถานการณ์แบบคิดไปข้างหน้า (Future Thinking) โดยการมองทิศทางแนวโน้มเศรษฐกิจ (Trend) และ การสร้างความแตกต่างจากเดิม (Disruption) โดยให้มองทัง้ ระยะ สั้นและระยะยาว (Short Term and Long Term) เป็นการมอง ทั้งอนาคตและการป้องกัน โดยพึงระลีกตามที่นักประสาทวิทยา และจิตแพทย์ที่มีชื่อเสียงชาวออสเตรีย ผู้รอดชีวิตจากความ โหดร้ายของค่ายกักกัน Dr.Viktor Frankl ที่กล่าวไว้ว่า “When We are No Longer Able to Change a Situation, We are Challenged to Change Orselves.” เมื่อเราไม่สามารถเปลี่ยน สถานการณ์ ไ ด้ นั่ น หมายถึ ง เวลาที่ เ ราต้ อ งเปลี่ ย นตนเอง” สถานการณ์วิกฤตระบาดของ COVID-19 เป็น “ดังไฟลท์บังคับ” ที่ต้องขึ้นชกโดยคู่ต่อสู้ที่ไม่ปรากฏตัวเด่นชัด การ “การ์ดไม่ตก” ก็สามารถช่วยป้องกันตนเองได้ระดับดีที่สุดในการป้องกันและ การรักษาชีวิต และอีกส่วนส�ำคัญคือการรักษาสภาพคล่องอย่าง ประหยัด (Health Safety and Save Your Money) จึงเป็นกลยุทธ์ ส�ำคัญของวิศวกรเพือ่ ให้ผา่ นช่วงวิกฤต COVID-19 ในช่วงนีใ้ ห้ได้ อย่างปลอดภัยไว้ก่อนเป็นสิ่งที่ดีที่สุด

รูปแบบที่ 3 แบบ W-Shape “ฟื้นเร็ว ดิ่งลงรอบสองแล้วกลับฟื้นเร็ว” เป็นลักษณะทีต่ กต�ำ่ อย่างรวดเร็ว แต่กลับฟืน้ ขึน้ อย่างรวดเร็วด้วย เช่นกัน และมีอาการซ�ำ้ เติมท�ำให้ “ลงเร็ว ฟืน้ เร็ว” ในระลอกทีส่ อง เป็นลักษณะที่มีปัจจัยปัญหาหลายประการที่ท�ำให้ด�ำเนินธุรกิจ หรือเศรษฐกิจลงและขึน้ อย่างรวดเร็ว ซึง่ เป็นลักษณะทีเ่ กิดปัญหา ใหญ่ทไี่ ม่เคยเจอในแต่ละช่วงแต่สามารถแก้ไขและฟืน้ กลับได้อย่าง รวดเร็ว เป็นอัจฉริยะทางความสามารถของผู้น�ำที่สามารถแก้ไข สถานการณ์และปัญหาได้อย่างถูกทางและรวดเร็ว และเป็นความ โชคดีทางธุรกิจที่สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ถูกจุด ถูกวิธี และ ถูกเวลาด้วยเช่นกัน

รูปแบบที่ 4 แบบ L-Shape “หดตัวอย่างรวดเร็ว ไร้สญ ั ญาณการฟืน้ ตัว” เป็นกรณีเลวร้ายสุดของการด�ำเนินธุรกิจหรือเศรษฐกิจ ทีเ่ จออุปสรรค หรือปัญหาอันใหญ่หลวง ซึ่งกรณีนี้ต้องถือว่าวิกฤตระบาดของ COVID-19 นั้นแสดงให้เห็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นท�ำให้เกิดอันตราย ถึ ง ชี วิ ต และเป็ น อั น ตรายถึ ง ฐานเศรษฐกิ จ ในระดั บ ครอบครั ว

Engineering Today July - August

2020

62


ใบสมัครสมาชิก 2020

ที่อยูในการรับวารสาร / สิ่งพิมพ : ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพทที่ทำงาน : ......................................................... มือถือ : ........................................................... E-mail.................................................................................. ID Line : .........................................................

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

แซอึ้ง ุ

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม บุคคล บริษัท/องคกร ที่อยูในการออกใบเสร็จ ............................................... ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. หมายเหตุ : กรุณาสงสำเนาการชำระเงิน (Pay-in Slip) มาใหบริษัทฯ ตามที่อยูที่แนบไวดานลาง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 ID Line : membertechno E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX ADVERTISING July - August 2020

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

0-2036-0500

-

3

www.asew-expo.com

CEBIT ASEAN THAILAND

0-2833-6336

-

6

www.cebitasean.com

INTERMACH

0-2036-0500

-

5

www.intermachshow.com

MATALEX

0-2686-7299

-

67

www.metalex.co.th

PROPAK ASIA

0-2036-0500

-

8

www.propakasia.com

-

-

7

www.boilex-asia.com www.pumpsandvalves-asia.com

SECURESOLUTION ASIA

0-2735-4475

-

10

www.securesolutionsasia.com

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

กุลธร บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

10

คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

66, ปกหลังนอก

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

2

www.bay-corporation.com, E-mail : sales@bay-corporation.com

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

9

www.virtus.co.th, E-mail : welcome@virtus.co.th

ดร.อุดมวิทย์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์)

0-2441-6059

-

11

-

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

02-7028801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

4

E-mail : savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อาทิตย์เวนติเลเตอร์ บจก.

0-2509-3065, 0-2509-2884

0-2943-1814

11

www.artith.com

ไอแซค มาร์เก็ตติ้ง บจก.

0-2735-0581

0-2377-5937

65

www.ตู้สาขา.com, www.notifier.co.th

pumps and valves asia & boilex asia

Engineering Today July - August

2020

64

Website/E-mail

www.vega.com www.kulthorn.com www.kanitengineering.com






Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.