system software

Page 1


ซอฟต์ แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำาสั่งหรื อโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้

คอมพิวเตอร์ทาำ งานตามความต้องการของผูใ้ ช้ ซอฟต์แวร์เป็ นลำาดับขั้นตอนการ ทำางานในรู ปของคำาสั่งที่เขียนมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ ทั้งที่เป็ นภาษาเครื่ องหรื อ ภาษาระดับสู ง เรี ยงกันเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยทัว่ ไปเข้าใจกันว่าซอฟต์แวร์ หมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์


คอมพิวเตอร์เครื่ องเดียวทำางานได้หลายประเภทเพราะว่ามีการพัฒนาพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ยา่ งหลากหลายและซับซ้อน หน่วยงานต่าง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์ใน การทำางาน ไม่วา่ จะเป็ นด้านคำานวณ การพิมพ์เอกสาร การจัดเก็บข้อมูลประเภทต่าง ๆ ซอฟต์แวร์ จึงเป็ นส่ วนสำาคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ ไม่ทาำ งานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งจำาเป็ น และมีความสำาคัญมากและเป็ นส่ วนประกอบ หนึ่ง ที่ทาำ ให้เกิดการจัดการสารสนเทศให้เป็ นไปได้ตามที่ตอ้ งการ


การที่มนุษย์พฒั นาซอฟต์แวร์ข้ ึนมาได้ตอ้ งมีภาษาเป็ นสื่ อกลางสำาหรับการ ติดต่อเพือ่ ให้คอมพิวเตอร์รับรู ้ เราเรี ยกสื่ อกลางนี้ วา่ ภาษาคอมพิวเตอร์ เนื่องจาก คอมพิวเตอร์ทาำ งานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้ า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู ้ ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตวั เลข 0 และ 1 นี้เป็ นรหัสแทนคำาสั่งในการสั่งงาน คอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูลและคำาสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้ เราเรี ยกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็ นชุดคำาสัง่ และใช้สงั่ งาน คอมพิวเตอร์วา่ ภาษาเครื่อง


การใช้ภาษาเครื่ องนี้ ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทนั ที แต่มนุษย์ผใู ้ ช้จะมีขอ้ ยุง่ ยาก มาก เพราะเข้าใจและจดจำาได้ยาก จึงมีผสู ้ ร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบที่เป็ นตัว อักษร เป็ นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวเรี ยกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสู ง ซึ่ งมีอยูม่ ากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สัง่ งานการคำานวณทาง คณิ ตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สัง่ งานทางด้านการ จัดการข้อมูล ในการทำางานคอมพิวเตอร์จะแปลภาษาระดับสู งให้เป็ นภาษาเครื่ อง จึงมีผพู ้ ฒั นา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำาหรับแปลภาษาระดับสู งให้เป็ นภาษาเครื่ อง โปรแกรมที่ใช้ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสู งให้เป็ นภาษาเครื่ อง เรี ยกว่า คอมไพเลอร์ (compiler) หรื อ อินเทอร์ พรี เตอร์ (interpreter)


คอมไพเลอร์จะทำาการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็ นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรม ให้เป็ นภาษาเครื่ องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทาำ งานตามภาษาเครื่ องนั้น ส่ วน อินเทอร์พรี เตอร์จะทำาการแปลทีละคำาสัง่ แล้วให้คอมพิวเตอร์ทาำ ตามคำาสัง่ นั้น เมื่อ ทำาเสร็ จแล้วจึงมาทำาการแปลคำาสั่งลำาดับต่อไป ข้ อแตกต่ างระหว่ างคอมไพเลอร์ และอินเทอร์ พรีเตอร์ จงึ อยู่ทแี่ ปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำาสั่ ง ตัวแปลภาษาที่ รู ้จกั กันดี เช่น ตัวแปลภาษาเบสิ ก ตัวแปลภาษาโคบอล


ชนิดของซอฟต์ แวร์ ในบรรดาซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีผพู ้ ฒั นาขึ้ นเพื่อใช้งาน กับคอมพิวเตอร์มีมากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านี้อาจได้รับการพัฒนาโดยผูใ้ ช้งานเอง หรื อผูพ้ ฒั นาระบบ หรื อผูผ้ ลิตจำาหน่ายหากแบ่งแยกชนิดของซอฟต์แวร์ตามสภาพ การทำางาน พอแบ่งแยกซอฟต์แวร์ไว้เป็ นสองประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)


ซอฟต์ แวร์ ระบบ (system software) เป็ นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นมาเพือ่ ใช้จดั การกับระบบคอมพิวเตอร์ หน้าที่การทำางานของ ซอฟต์แวร์ระบบคือ ดำาเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูล จากแผงแป้ นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำาข้อมูลไปแสดงผล บนจอภาพหรื อนำาออกไปยังเครื่ องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้ มข้อมูล บนหน่วย ความจำารอง เมื่อเราเปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้ า คอมพิวเตอร์จะทำางานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สัง่ คอมพิวเตอร์ทาำ งานนี้ เป็ นซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรื อในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบคอมพิวเตอร์จะทำางานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ


ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (application software) เป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้กบั งานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผูใ้ ช้ ที่สามารถ ใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบนั มีผพู ้ ฒั นาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออก จำาหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่ หลาย เราอาจแบ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็ นสองกลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์สาำ เร็ จ และซอฟต์แวร์ที่พฒั นา ขึ้นใช้เฉพาะงาน


--->> ระบบปฏิบตั กิ าร ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) : OSเป็ นซอฟต์แวร์ใช้ในการ ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทาำ งานไม่ได้ถา้ ไม่มีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิ การที่นิยมใช้กนั มากและเป็ นที่รู้จกั กันดี เช่น ดอส (Disk Operating System : DOS) ระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ (Windows)

โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) และลีนุกซ์ (Lynux) ดอส เป็ นซอฟต์แวร์จดั ระบบที่พฒั นามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาำ สั่งเป็ น ตัวอักษร ดอสเป็ นซอฟต์แวร์ที่รู้จกั กันดีในหมู่ผใู ้ ช้ไมโครคอมพิวเตอร์ .odkime partition ฮาร์ ดดิสก์


วินโดวส์ เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่พฒั นาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่าย ขึ้น สามารถทำางานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยูใ่ นกรอบช่อง หน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรู ปแบบกราฟฟิ ก ผูใ้ ช้งานสามารถใช้ เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาำ แหน่งเพื่อเลือกตำาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำาให้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบนั


โอเอสทู เป็ นระบบปฏิบตั ิการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริ ษทั ผูพ้ ฒั นาคือ บริ ษทั ไอบีเอ็ม เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ให้ผใู ้ ช้สามารถใช้ทาำ งานได้หลายงานพร้อม กันและการใช้งานก็เป็ นแบบกราฟฟิ กเช่นเดียวกับวินโดวส์ ยูนิกซ์ เป็ นระบบปฏฺบตั ิการที่พฒั นามาตั้งแต่ครั้งใช้กบั เครื่ องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทำางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กบั เครื่ องที่เชื่อมโยง และ ต่อกับเครื่ องปลายทางได้หลายเครื่ องพร้อมกัน ลีนุกซ์ เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมจัดการ คอมพิวเตอร์ระบบเครื อข่าย สามารถใช้งานได้ 2 แบบคือแบบ Text Mode และ แบบ X-Windows เป็ นระบบที่ได้รับความนิยมเป็ นคู่แข่งที่สาำ คัญของระบบ Windows ของบริ ษทั ไมโครซอฟต์


--->> ตัวแปลภาษา ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จาำ เป็ นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับ สูงให้เป็ นภาษาเครื่ อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสู งเหล่านี้สร้างขึ้น เพือ่ ให้ผเู ้ ขียนโปรแกรมเขียนชุดคำาสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ ตลอดจนถึงสามารถ ปรับปรุ งแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้ ภาษาระดับสู งที่พฒั นาขึ้นมาทุกภาษา จะต้องมีตวั แปลภาษาสำาหรับแปล ภาษาระดับสู งซึ่งเป็ นที่รู้จกั และนิยมกันมากในปัจจุบนั เช่น ภาษาปาสคาล ภาษา เบสิ ก ภาษาซี และภาษาโลโก


ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พฒั นาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะการ ที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทำาให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนในปัจจุบนั สามารถนำา คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก การใช้งาน คอมพิวเตอร์ตอ้ งมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ประเภทซอฟต์แวร์สาำ เร็ จที่มีผพู ้ ฒั นาเพือ่ ใช้ งานทัว่ ไปทำาให้ทาำ งานได้สะดวกขึ้น ผูใ้ ช้ไม่ตอ้ งพัฒนาขึ้นเอง และประเภท ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานเฉพาะ ซึ่ งผูใ้ ช้เป็ นผูพ้ ฒั นาขึ้นเองเพือ่ ให้เหมาะสมกับสภาพการ ทำางานของตน


--->> ซอฟต์ แวร์ สำาเร็จ ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กนั ทัว่ ไป ซอฟต์แวร์สาำ เร็ จ (package) เป็ นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กนั สูงมาก ซอฟต์แวร์สาำ เร็ จเป็ น ซอฟต์แวร์ที่บริ ษทั พัฒนาขึ้นแล้วนำาออกจำาหน่าย เพื่อให้ผใู ้ ช้งานซื้ อไปใช้ได้ โดยตรง ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการพัฒนา ซอฟต์แวร์สาำ เร็ จแล่งเป็ น 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคำา (word processing software) ซอฟต์แวร์ตารางการ ทำางาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล (database mangement software) ซอฟต์แวร์ นาำ เสนอ (presentation software) และซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (data communication software)


ซอฟต์ แวร์ ประมวลคำา เป็ นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สาำ หรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไขเพิม่ เติม แทรก ลบ และจัดรู ปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พมิ พ์ไว้เป็ นแฟ้ มข้อมูลเรี ยก มาพิมพ์หรื อแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่ องพิมพ์กม็ ีรูปแบบตัวอักษรให้ เลือกหลายรู ปแบบ เอกสารจึงดูเรี ยบร้อยสวยงาม ปัจจุบนั มีการเพิ่มขีดความ สามารถของซอฟต์แวร์ประมวลคำาอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคำาที่นิยมอยูใ่ น ปัจจุบนั เช่น ไมโครซอฟต์วนิ ส์เวิร์ด ,โลตัสเอมิโปร


ซอฟต์ แวร์ ตารางการทำางาน เป็ นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในคิดคำานวณ การทำางาน ของซอฟต์แวร์ตารางการ ทำางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทำางานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่ องมือ คล้ายปากกา ยางลบ และเครื่ องคำานวณเตรี ยมไว้ให้เสร็ จบนกระดาษมีช่องให้ใส่ ตัวเลข ข้อความหรื อสู ตร สามารถสั่งให้คาำ นวณตามสู ตร หรื อเงื่อนไขที่กาำ หนด ผู ้ ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทำางานที่นิยมใช้ เช่น Excell , Lotus


ซอฟต์ แวร์ การจัดการฐานข้ อมูล การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือ การใช้เก็บข้อมูล และจัดการกับข้อมูลที่ จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ เรี ยกซอฟต์แวร์ประเภทนี้ ซอฟต์แวร์ จดั การฐานข้อมูล ที่ นิยมใช้ เช่น MS-Access, Dbase, Foxbase, Paradox, Oracale, Xbase


ซอฟต์ แวร์ นำาเสนอ เป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาำ หรับนำาเสนอข้อมูลการแสดงผลต้องสามารถดึงดูด ความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็ นซอฟต์แวร์ ที่นอกจากสามารถแสดงข้อความใน ลักษณะที่จะสื่ อความหมายได้ง่ายแล้วสามารถสร้างแผนภูมิ กราฟ และรู ปภาพที่มี การเคลื่อนไหวได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นาำ เสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ ,โลตัสฟรี แลนซ์ ,ฮาร์ วาร์ดกราฟิ ก


ซอฟต์ แวร์ สื่อสารข้ อมูล ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูลนี้ หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้ไมโคร คอมพิวเตอร์ติดต่อสื่ อสารกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นในที่ห่างไกล โดยผ่านทางสาย โทรศัพท์ หรื อ Lead Line ซอฟต์แวร์สื่อสารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครื อ ข่ายคอมพิวเตอร์ได้ทวั่ โลก เช่น อินเทอร์เน็ต ทำาให้สามารถใช้บริ การอื่นๆ เพิม่ เติม ได้ สามารถใช้รับส่ งไปรษณี ย ์ อิเล็กทรอนิคส์ใช้โอนย้ายแฟ้ มข้อมูล ใช้แลกเปลี่ยน ข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนี้ยงั ใช้ในการเชื่อมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรื อ เมนเฟรม เพื่อเรี ยกใช้งานจากเครื่ องเหล่านั้นได้ ซอฟต์แวร์ สื่อสารข้อมูลที่นิยมมี มากมายหลายซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เทลิก


--->> ซอฟต์ แวร์ ใช้ งานเฉพาะ การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สาำ เร็ จมักจะเน้นการใช้งานทัว่ ไป แต่อาจ จะนำามาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่น ในกิจการธนาคารมี การฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรื อในห้างสรรพสิ นค้า ก็มีงานขายสิ นค้า การ ออกใบเสร็ จรับเงิน การควบคุมสิ นค้าคงคลัง ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะสำาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้แต่ละราย


ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็ นซอฟต์แวร์ที่ผพู ้ ฒั นาต้องเข้าไปศึกษารู ปแบบ การทำางานหรื อความต้องการของธุรกิจนั้นๆ แล้วจัดทำาขึ้น โดยทัว่ ไปจะเป็ น ซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่ วนรวมกันเพื่อร่ วมกันทำางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กนั ในทางธุรกิจ เช่นระบบทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจำาหน่าย ระบบงานในโรงงาน อุตสาหกรรม บริ หารการเงินและการเช่าซื้ อความต้องการของการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางธุรกิจยังมีอีกมาก ดังนั้นจึงยังมีความต้องการผูพ้ ฒั นาซอฟต์แวร์เพือ่ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะต่าง ๆ อีกมากมาย


จัดทำาโดย สังข์ ทอง

รหัส544188072

นางสาวงามทิพย์ จิตรคำา

รหัส544188056

นางสาวกานต์ สินี แย้ มแตงอ่ อน

รหัส544188081

นางสาววัลศิกา

การประถมศึกษาหมู่ 2



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.