How-to Guide to PLHIV Case Management (Thai language)

Page 1

การประสานความร่ วมมือเพื่อการดูแลช่ วยเ หลือผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ เป็ นรายบุคคล

คู่มือ มาตรฐานขันตอนการด ้ าเนินงาน เพื่อการประสานความร่วมมือในการดูแลช่วยเหลือ ผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล และการเข้ าถึงบริการสาหรับผู้ที่อยู่ร่วมกับเชื ้อ

1


สารบัญ บทนา -โครงการ CAP-3D จากการสนับสนุนขององค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ (USAID) Error! Bookmark not defined.6 การเพิม่ การค้ นหาผู้ติดเชื ้อรายใหม่ การริ เริ่ มการรักษา และการได้ รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง …………………..6 ความเป็ นมาของคูม่ ือฉบับนี ้.........................................................................................................................7 เกี่ยวกับคูม่ ือฉบับนี ้.....................................................................................................................................8 หมายเหตุเกี่ยวกับภาษา ..............................................................................................................................9 อักษาย่อและคาย่อ....................................................................................................................................10 ส่ วนที่หนึ่ง: ภาพรวมโครงการ ................................................................................................................11 1. พันธกิจ.................................................................................................................................................12 2. ปรัชญาในการให้ บริ การ.........................................................................................................................13 3. หลักการของระบบบริ การแบบเพื่อนช่วยเพื่อน .........................................................................................16 3.1 การให้ บริ การแบบ การเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายจากกิจกรรมภายในองค์กร หรื อ in-reachError! Bookmark not defined. 3.1.1 การสร้ างความร่วมมือกับหน่วยงานผู้ให้ บริ การด้ านสุขภาพ ......... Error! Bookmark not defined. 3.1.2 การรักษาความสัมพันธ์กบั สถานบริ การสาธารณสุข ...............................................................19 3.2 การให้ คาปรึกษาแบบตัวต่อตัว .......................................................................................................19 3.3 การประสานความร่วมมือเป็ นรายบุคคล .........................................................................................20 3.3.1 เส้ นทางการให้ บริ การลูกค้ า ..................................................................................................21 3.3.2 การจัดการและการจัดสรรปริ มาณผู้รับบริ การ .......................................................................22 3.3.3 ขันตอน ้ วิธีการจัดสรรจานวนผู้รับบริ การ การบริ หารจัดการ และการให้ บริ การ ........................23 4. องค์กรแหล่งทุน.....................................................................................................................................24 ส่ วนที่สอง: การบริหารจัดการเพื่อให้ บริการ..........................................................................................25 5. โครงสร้ างและบทบาทหน้ าที่ ..................................................................................................................26 5.1 แผนกหนุนเสริ ม .............................................................................................................................26 5.2 ผู้ประสานงาน/หัวหน้ าทีม ...............................................................................................................27 5.3 เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ ม ............................................................................. Error! Bookmark not defined. 6. สิทธิและความรับผิดชอบของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ...........................................................................29 7. จรรยาบรรณในการปฏิบตั ิงานสาหรับเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ............... Error! Bookmark not defined.30 8. การกากับดูแล การช่วยเหลือและการประชุมเพื่อปรึกษาปั ญหาเป็ นรายกรณี .............................................31 8.1 การประชุมหารื อและกากับดูแลเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร .................................................................32 8.2 การสนับสนุนการทางานของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร .....................................................................32 2


8.3 การประชุมเพื่อปรึกษาปั ญหาเป็ นรายกรณี ......................................................................................33 9. การบริ หารจัดการเพื่อการเข้ าถึงผู้รับบริ การรายใหม่ ให้ ได้ ตามเป้าหมายทีว่ างไว้ .......................................34 9.1 เป้าหมายของทีม............................................................................................................................34 9.2 เป้าหมายของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มเป็ นรายบุคคล ..............................................................................35 9.3 แรงจูงใจ (ค่าตอบแทนพิเศษ)ของทีม ..............................................................................................36 ส่ วนที่สาม: การให้ บริการ .......................................................................................................................37 10. เส้ นทางการให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริ การ ......................................................................................................38 10.1 คาอธิบายเกี่ยวกับเส้ นทางการให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริ การทัง้ 4 ขันตอน ้ ..............................................39 10.2 ระบบ 4 ขันตอน ้ – แบบฟอร์ ม การดาเนินงาน และผลลัพธ์ .............................................................41 11. คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้ แบบฟอร์ ม ข้ อมูลและนโยบาย ........................................................................43 11.1 แบบฟอร์ มข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับบริ การ ........................................................................................43 11.2 หนังสือยินยอมเข้ าร่วมโครงการ ....................................................................................................49 11.3 มาตราวัดความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ ……………………………..Error! Bookmark not defined.50 11.3.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ ………Error! Bookmark not defined.51 11.3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อวัดความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ .....55 11.4 ชุดข้ อมูลพื ้นฐานสาหรับผู้รับบริ การ ...............................................................................................56 11.5 การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริ การ .......................................................................................57 12. คาแนะนาและข้ อมูลที่มีประโยชน์สาหรับผู้รับบริ การ บนสือ่ ออนไลน์ ......................................................57 ส่ วนที่ส่ :ี ภาคผนวก.................................................................................................................................59 จดหมายชี ้แจงข้ อมูลเบื ้องต้ น สาหรับทีมผู้ให้ บริ การ …………………………………………………………….Error! Bookmark not defined.60 จดหมายขอความร่วมมือจากกรรมการ / ผู้บริ หาร ………………………………………………………………62 จรรยาบรรณในการปฏิบตั ิงานสาหรับเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ………………………………………………. Error! Bookmark not defined.64 ข้ อตกลงเกี่ยวกับการรักษาความลับและการปฏิบตั ิงาน……………………………………………………...….Error! Bookmark not defined.66 รายละเอียดของตาแหน่งงาน: ผู้ประสานงาน ฝ่ ายสนับสนุน…………………………………………………….Error! Bookmark not defined.68 รายละเอียดของตาแหน่งงาน: เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ ม………………………………………………………………73 แบบฟอร์ มข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับบริ การ ......................................................................................................77 3


หนังสือยินยอมเข้ าร่วมโครงการ..................................................................................................................84 มาตราวัดความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ………………………………………..85 ข้ อมูลสาหรับผู้รับบริ การชุดที่ 1: ข้ อกาหนดเรื่ องสิทธิและความรับผิดชอบของผู้รับบริ การ …………………....Error! Bookmark not defined.88 ข้ อมูลสาหรับผู้รับบริ การชุดที่ 2: นโยบายความเป็ นส่วนตัวและการรักษาความลับของเรา …………………..Error! Bookmark not defined. ข้ อมูลสาหรับผู้รับบริ การชุดที่ 3: นโยบายการแก้ ปัญหาสาหรับข้ อร้ องเรี ยน ……………………………..…...Error! Bookmark not defined.92 แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริ การ ...................................................................................................96

สิ่งตีพมิ พ์ : คูม่ ือการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล

4


คูม่ ือฉบับนี ้ได้ รับการพัฒนาโดย AIDS Projects Management Group และมูลนิธิเอชไอวี (The HIV Foundation) ได้ รับการสนับสนุนจากมูลนิธิพีเอสไอ ประเทศไทย (PSI Thailand)

ผู้เขียน: สก็อต แบร์ รี่ (Scott Berry) บรรณาธิการและที่ปรึกษาฝ่ ายเทคนิค: เดฟ เบอร์ โรวส์ (Dave Burrows), ลู แมคคอลล่า (Lou McCallum)

วันที่ตีพมิ พ์ : 15 พฤศจิกายน 2556

5


บทนา -โครงการ CAP-3D ภายใต้ การสนับสนุนขององค์ การเพื่อการพัฒนาระหว่ างประเทศของสหรั ฐฯ (USAID) USAID CAP-3D เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร ร ะ ย ะ เ ว ล า 5 ปี เพื่อช่วยยกระดับสุขภาวะของประชากรในกลุม่ อนุภมู ิภาคลุ่มแม่น ้าโขงโดยการเสริมสร้ างระบบสุขภาพที่ตอบส นองต่อประเด็นเอชไอวี (HIV) วัณโรคและมาลาเรี ย ในปี พ.ศ. 2546 USAID CAP-3D ได้ สนั บ สนุ น การจั ด ตั ง้ “การเพิ่ ม การค้ น หาผู้ ติ ด เชื อ้ ราย ใหม่ การริ เริ่ มการรักษา และการได้ รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง” โดยเจาะกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์ กับชาย (MSM) แ ล ะ ส า ว ป ร ะ เ ภ ท ส อ ง (TG) ที่ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เพื่อตอบสนองต่ออัตราการเพิ่มขึ ้นของการติดเชื ้อเอชไอวีในกลุม่ ประชากรเหล่านี ้

การเพิ่ม การค้ นหาผู้ตดิ เชือ้ รายใหม่ การริเริ่ มการรั กษา และการได้ รับการรั กษาอย่ างต่ อเนื่อง การเพิ่ ม การค้ นหาผู้ ติ ด เชื อ้ รายใหม่ การริ เริ่ มการรั ก ษา และการได้ รั บ การรั ก ษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (ต่ อ จากนี จ้ ะเรี ยกสั น้ ๆ ว่ า โ ค ร ง ก า ร ริ เ ริ่ ม ) ด าเนิ น การโดย AIDS Projects Management Group ร่ วมกับมูล นิธิ เ อชไอวี ประเทศไทย (The HIV Foundation Thailand) ริ เริ่ ม ทางานร่ วมกับ USAID CAP-3D ประจ าประเทศไทย ในการพั ฒ นารู ปแบบการให้ บริ การเกี่ ยวกั บ เอชไ อวี โดยอง ค์ ก รท้ อง ถิ่ น เพื่อตอบสนองต่อความต้ องการที่จะลดอัตราการติดเชื ้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชายและสาวประ เภทสอง (MSM/ TG) ในกรุงเทพ, เชียงใหม่และหนึง่ จังหวัดในภาคใต้ ของประเทศไทย โครงการริเริ่มดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้ างความสามารถขององค์กรท้ องถิ่นที่ทางานประเด็นกลุม่ ชายที่มีเ พ ศสั ม พั น ธ์ กั บ และสาวประเภทสอง (MSM/TG) และเพื่ อยกระดั บ การให้ บริ การด้ านสุ ข ภาพ เพื่อเพิ่มการค้ นหาผู้ตดิ เชื ้อรายใหม่ การเข้ าถึงการรักษา และการได้ รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง USAID ไ ด้ เ ดิ น ห น้ า เ ป ลี่ ย น รู ป แ บ บ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ข อ ง รั ฐ บ า ล ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ใ ห้ เ ป็ น ก า ร ส นั บ ส นุ น แ ล ะ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ข อ ง อ ง ค์ ก ร ท้ อ ง ถิ่ น อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น โดยมุง่ เน้ นไปที่การสร้ างพันธมิตรใหม่ นวัตกรรมการทางานใหม่ๆ และให้ ความสาคัญกับผลลัพธ์ที่จะเกิดใน 23 ปี ข้ า ง ห น้ า ว่ า จ ะ ส่ ง ผ ล อ ย่ า ง ไ ร กั บ ก า ร พั ฒ น า เ พื่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น ร ะ ดั บ โ ล ก ซึ่ ง โ ค ร ง ก า ร ริ เ ริ่ ม ดั ง ก ล่ า ว มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ น โ ย บ า ย นี ้ใ น ก า ร พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม 6


ก า ร ท า ง า น ใ น ชุ ม ช น รู ป แ บ บ ใ ห ม่ เ พื่ อ ใ ห้ บ ริ ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ ส า ห รั บ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ แ ล ะ จ า ก ก า ร ท า ง า น อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด กั บ อ ง ค์ ก ร ท้ อ ง ถิ่ น เ ร า จ ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ พ ว ก เ ข า น า เ อ า รู ป แ บ บ ก า ร ท า ง า น ใ ห ม่ นี ้ ไ ป ป รั บ ใ ช้ แ ล ะ ค่ อ ย ๆ เปลี่ยนรูปแบบการให้ บริการของพวกเขาให้ มีความสมบูรณ์มากขึ ้นและมีความยัง่ ยืน ในปี พ.ศ. 2556 โครงการชี วิ ต ที่ ดี (Good Life Project)

รภาคีในท้ องถิ่น

โครงการชีวิตทีด่ ี: การทดสอบโครงการต้ นแ บบ

รภาคีในท้ องถิ่น

ได้ รับการออกแบบมาจากกลไกความช่วยเหลือทางเทคนิคที่พฒ ั นาขึ ้นมา เพื่อเพิ่มการค้ นพบผู้ติดเชื ้อรายใหม่ ก า ร ริ เ ริ่ ม ก า ร รั ก ษ า แ ล ะ ก า ร ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง โครงการชีวิตที่ดีทาหน้ าที่เป็ นศูนย์กลางทรัพยากรในการทดลองวิธีการทางานรูปแบบใหม่เพื่อการให้ บริ การโด ย อ ง ค์ ก ร ท้ อ ง ถิ่ น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ห ลั ง จ า ก ก า ร ท ด ส อ บ ผ่ า น พ้ น ไ ป โครงการชีวิตที่ดีได้ กลายมาเป็ นเทคนิคการทางานพื ้นฐานที่ พร้ อมจะถูกนาไปปรับใช้ กบั องค์กรท้ องถิ่นภายใต้ ง บประมาณของโครงการ USAID CAP3D จากการทางานร่ วมกับ มูล นิธิ พี เ อสไอ ประเทศไทย (PSI Thailand) และองค์กรพันธมิ ตรภายใต้ โครงการ USAID CAP3D ไ ด้ น า เ อ า รู ป แ บ บ ดั ง ก ล่ า ว ไ ป ป รั บ ใ ช้ กั บ อ ง ค์ ก ร ต่ า ง ๆ โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม ยั่ ง ยื น ใ ห้ แ ก่ อ ง ค์ ก ร ซึ่ ง การท างานกั บ องค์ ก รภาคี ด้ านชายที่ มี เ พศสั ม พั น ธ์ กั บ ชายหรื อสาวประเภทสอง (MSM/TG) เป็ นโครงการที่ดาเนินการอยูใ่ นขณะนี ้ ภายใต้ ความร่วมมือกับมูลนิธิพีเอสไอ ประเทศไทย (PSI Thailand) ความเป็ นมาของคู่มือฉบับนี ้ 7


แนวทางมาตรฐานการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ไ ด้ รั บ ก า ร ผ ลิ ต โ ด ย โ ค ร ง ก า ร USAID CAP-3D ส าหรั บ องค์ ก รชุ ม ชนที่ ท างานประเด็ น เอชไอวี ต ลอดจนองค์ ก รที่ ท างานกั บ ประชากรกลุ่ ม เสี่ ย ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย คู่ มื อ นี ้จ ะ ใ ห้ ก ร อ บ ก า ร ท า ง า น เ พื่ อ ใ ห้ บ ริ ก า ร ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ใ น ท้ อ ง ถิ่ น คูม่ ือนี ้ได้ รับการพัฒนาจากประสบการณ์กบั การให้ บริการแก่กลุม่ ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชายและสาวประเภทส อง ที่เพิ่งทราบผลการวินิจฉัยว่าติดเชื ้อเอชไอวี ในประเทศไทย ผลิตโดย AIDS Projects Management Group (APMG) แ ล ะ มู ล นิ ธิ เ อ ช ไ อ วี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย (THF Thailand) นอกจากนี ้ยังได้ รับการพัฒนาผ่านประสบการณ์การทางานช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของ The Poz Home Center ในกรุงเทพฯ คู่ มื อ เล่ ม นี ไ้ ด้ รั บ การเขี ย นในลั ก ษณะทั่ ว ไปเพื่ อ ให้ มี เ นื อ้ หาที่ เ จาะจงมากพอที่ จ ะใช้ ประโยชน์ แ ต่ ก็ ง่ า ย เ พี ย ง พ อ ที่ จ ะ น า ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ก ร อื่ น ไ ด้ คู่ มื อ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง ม า ก ส า ห รั บ ง า น เ พื่ อ น ช่ ว ย เ พื่ อ น ห รื อ แ ก น น า ชุ ม ช น เ ช่ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร เ อ ง เ ป็ น ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ แ ล ะ / ห รื อ ร ะ บุ ว่ า เ ป็ น ป ร ะ ช า ก ร ก ลุ่ ม เ สี่ ย ง คู่ มื อ จะเป็ นปร ะโยชน์ ต่ อ ผู้ ให้ บริ การอื่ น ๆ ด้ วยเช่ น นั ก สั ง คมสงเคราะห์ หรื อผู้ ให้ ค าปรึ ก ษา ขัน้ ตอนการด าเนิ น งานและนโยบายที่ ถู ก พัฒ นามาจากบริ บ ทของการให้ บริ ก ารแบบเพื่ อ นช่ ว ยเพื่ อ น และแบบหน่วยงานสวัสดิการสังคม เป้าหมายหลักของคู่มือเล่มนี ้ก็คือการเสริ มสร้ างความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานสาธารณสุข สวัสดิการสังคม และภ าคชุ ม ชน เพื่ ออ านวยความสะดวกและเพิ่ ม ช่ อ ง ทาง การเข้ าถึ ง บริ การแก่ ผ้ ู รั บบ ริ ก า ร รู ปแบบใหม่ นี จ้ ะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการท างาน เพื่ อ เพิ่ ม การเข้ าถึ ง ประชากรกลุ่ ม เสี่ ย ง แ ล ะ มี ก า ร เ ฝ้ า ติ ด ต า ม เ พื่ อ ล ด ก า ร สู ญ ห า ย ข อ ง ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ร ะ ห ว่ า ง เ ข้ า รั บ ก า ร รั ก ษ า คูม่ ือนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อนาความท้ าทายนี ้สูร่ ะบบสาธารณสุขของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย

เกี่ยวกับคู่มือฉบับนี ้ แนวทางมาตรฐานการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ฉบับนี ้เป็ นเหมาะสาหรับองค์กรชุมชนที่กาลังมองหาเครื่ องมือในการจัดการและบริหารงานเพื่อให้ บริ การแก่ผ้ อู 8


ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เนื อ้ หาภายในประกอบด้ ว ยข้ อ มูล พื น้ ฐานและทรั พ ยากรที่ จ าเป็ นเพื่ อ การให้ บ ริ ก ารแก่ ผ้ ูอ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ จุดมุง่ หมายหลักคือการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่ว มกับเชื ้อให้ มีชีวิตที่ประส บความสาเร็จและเป็ นอิสระ และช่วยให้ เขาเหล่านันเข้ ้ าถึงบริการสุขภาพที่ต้องการ คู่ มื อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ช่วยให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มสามารถดาเนินงาน “การเข้ าถึงกลุ่มเป้าหมายจากกิจกรรมภายในองค์ กร หรื อ in-reach” ซึง่ เป็ นรูปแบบเฉพาะที่เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจะทางานร่วมกับทีมงานของโรงพยบาลหรื อคลินิกเพื่อให้ บริการแก่ค น ไ ข้ ร่ ว ม กั น จุดมุ่งหมายของกิจกรรมนี ้ก็เพื่อติดตามคนไข้ และลดการสูญหายของผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อที่อยู่ระหว่างรับบริ การด้ า นสุขภาพ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ใ ห้ บ ริ ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น เ พื่ อ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ ป็ น ร า ย ก ร ณี การประสานงานเป็ นรายกรณีนี ้เป็ นรู ปแบบเฉพาะของการให้ ความช่วยเหลือ ตามสวัสดิการที่คนไข้ ควรได้ รับ ซึ่งจะมีการร่วมวางแผนระหว่างเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มกับคนไข้ เพื่อมองหาความต้ องการและบริ การที่เหมาะสมข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล มี ก ารตัด สิ น ใจร่ ว มกั น เกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารที่ ดี ที่ สุ ด เพื่ อ แก้ ปั ญหาและตอบสนองความต้ องการเหล่ า นั น้ เ พื่ อ ใ ห้ มั่ น ใ จ ว่ า ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล อ ย่ า ง ดี เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม จะส่ ง ผู้ รั บ บริ ก ารไปยั ง สถานพยาบาลหรื อ นั ด พบที่ นั่ น เพื่ อ รั บ บริ ก ารพบแพทย์ และรั บ การรั ก ษา เจ้ าหน้ าที่ ข องเรามี ป ระสบการณ์ เ กี่ ย วกั บ ระบบบริ การสุ ข ภาพและสวั ส ดิ ก าร จึงมีความพร้ อมที่จะให้ บริการและคาปรึกษาเพื่อให้ ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อมีชีวิตที่ประสบความสาเร็จและเป็ นอิสระ บริการดังกล่าวเป็ นโครงการที่สง่ เสริมระบบสาธารณสุข โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังนี ้ ก) สร้ างความรู้และทักษะให้ ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อ เพื่อให้ พวกเขามีทางเลือกเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ข ) ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั บ ห น่ ว ย ง า น ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ เพื่อให้ แน่ใจว่าสามารถเข้ าถึงบริการได้ โดยมีอปุ สรรคน้ อยที่สดุ ค) ความส าเร็ จของโครงการจะสามารถมี อิ ท ธิ พลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงนโยบายสาธารณสุ ข และตอบโจทย์ความต้ องการของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อได้ มากขึ ้น

9


หมายเหตุเกี่ยวกับภาษา แนวทางมาตรฐานการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคลฉบั บนี ้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ กบั องค์กรใดๆ ที่ต้องการจะเป็ นองค์กรเจ้ าภาพที่มีแผนจะให้ บริการแก่กลุม่ ผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ เพราะคูม่ ือฉบับนี ้ได้ ให้ ภาพรวมทัว่ ไปของโครงการคาแนะนาเกี่ยวกับการจัดการและการบริหารงาน และคาแนะนาในการให้ บริ การ ซึง่ ภาษาที่ใช้ ในคูม่ ือฉบับนี ้มีลกั ษณะเป็ นคาทัว่ ไป ไม่ใช่ศพั ท์ทางการแพทย์หรื อศัพท์เฉพาะ เน้ นการนาไปปรับใช้ ได้ จริง องค์ กรเจ้ าภาพ คือ องค์กรชุมชน ที่ได้ ตดั สินใจจะให้ บริ การแก่ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อ ตามรูปแบบของการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล และจะใช้ คมู่ ือนี ้เป็ นแนวทางในการจัดตังและบริ ้ หารโครงการ หมายเหตุ เ กี่ ย วกั บ เจ้ า หน้ า ที่ แ ละอาสาสมั ค ร: คู่มื อฉบับนี จ้ ะใช้ คาเรี ยก เจ้ าหน้ าที่ หรื อ อาสาสมัค ร ซึ่งล้ วนหมายถึง เจ้ า หน้ า ที่หนุ นเสริ ม (Caseworkers) ขึน้ อยู่กับชื่อตาแหน่งที่ฝ่ ายบุคคลขององค์กรนัน้ ๆ ก า ห น ด บ า ง อ ง ค์ ก ร อ า จ จ้ า ง เ ป็ น เ จ้ า ห น้ า ที่ ป ร ะ จ า ห รื อ ชั่ ว ค ร า ว ห รื อ เ ป็ น อ า ส า ส มั ค ร ที่ ไ ด้ รั บ ค่ า ต อ บ แ ท น เ ป็ น ค รั ้ ง ค ร า ว ต า ม จ า น ว น ค รั ้ ง ที่ ไ ด้ ใ ห้ บ ริ ก า ร คู่ มื อ ไ ด้ น า เ ส น อ มุ ม ม อ ง เ กี่ ย ว กั บ ก า ร บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ ซึ่ ง ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ไ ด้ ทั น ที หรื อจะนาไปปรับใช้ กบั ระบบที่มีอยูแ่ ล้ วก็ได้

10


อักษรย่ อและคาย่ อ AIDS กลุม่ อาการภูมิค้ มุ กันบกพร่อง ARV การรักษาด้ วยยาต้ านไวรัส BCC การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม CBO องค์กรชุมชน CCM คณะกรรมการกลไกความร่วมมือในประเทศ DIFD กระทรวงการพัฒนาแห่งสหราชอาณาจักร GFATM กองทุนโลกเพื่อการต่อสู้กบั โรคเอดส์วณ ั โรค และมาลาเรี ย HIV เป็ นเชื ้อไวรัสที่จะทาลายระบบภูมิต้านทานในร่างกาย ICT เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร IEC สารสนเทศ การศึกษาและการสื่อสาร ILO องค์การแรงงานระหว่างประเทศ KAP ประชากรกลุม่ ที่ได้ รับผลกระทบ MARP ประชากรกลุม่ เสี่ยง หรื อกลุม่ เป้าหมายที่มีโอกาสสูงต่อการรับเชื ้อเอชไอวี MSM ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชาย MOH กระทรวงสาธารณสุข NSP แผนยุทธศาสตร์ เอดส์ชาติ PEPFAR แผนฉุกเฉินของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริ กาเพื่อบรรเทาปั ญหาด้ านเอดส์ PLHIV ผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ STI โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ UNAIDS องค์การเอดส์แห่งสหประชาชาติ UNDP โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ UNESCO องค์การร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ UNFPA กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ UNICEF องค์การกองทุนเด็กระหว่างประเทศ UNODC สานักงานว่าด้ วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ USAID องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ VCT การตรวจเลือดแบบสมัครใจ WHO องค์กรอนามัยโลก 11


ส่ วนที่ 1: ภาพรวมโครงการ

12


ส่ วนที่ 1: ภาพรวมโครงการ แนวทางมาตรฐานการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ประกอบด้ ว ยรายละเอี ย ดและทรั พ ยากรที่ จ าเป็ นเพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ และบริ ก ารแก่ ผ้ ูอ ยู่ร่ ว มกั บ เชื อ้ เพื่อช่วยให้ พวกเขาเข้ าถึงบริการที่พวกเขาต้ องการและมีสขุ ภาพที่ดี มีความมัน่ ใจในการใช้ ชีวิต คูม่ ือฉบับนี ้ประกอบด้ วยหัวข้ อ ดังนี ้    

พันธกิจ ปรัชญาของการให้ บริการ ระบบบริการแบบเพื่อนช่วยเพื่อน องค์กรแหล่งทุน

1. พันธกิจ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ มี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ ้ น ช่วยให้ คนไข้ เข้ าถึงบริการด้ านสุขภาพและช่วยให้ อยูร่ ่วมกับชุมชนได้ โดยไม่ร้ ูสึกโดดเดี่ยวเพราะมีเพื่อนผู้ติดเชื ้อ ที่เข้ าใจและสามารถพูดคุยด้ วยได้ เพื่ อ ให้ บ รรลุเ ป้ าหมายที่ ว างไว้ ทางโครงการต้ อ งท างานร่ ว มกั บ อง ค์ ก รภาคี ที่ ท างานประเด็ น เอชไอวี ประกอบด้ วยคลิ นิ ก และโรงพยาบาลท้ องถิ่ น และองค์ ก รชุ ม ชนที่ ใ ห้ บริ การแก่ ผ้ ู อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ เ พื่ อ ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ ส า น ง า น ส่ ง ต่ อ เ พื่ อ รั บ ก า ร รั ก ษ า แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ที่ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ด้ า น สุ ข ภ า พ แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ซึ่ง ปั ญ หาส่ว นใหญ่ จ ะเกี่ ย วกับ ผู้ติ ด เชื อ้ รายใหม่ ที่ เ พิ่ ง ทราบผลเลื อ ด การป่ วยด้ ว ยโรคฉวยโอกาสต่ า งๆ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า แ ล ะ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก า ร รั ก ษ า สิ ท ธิ ก า ร รั ก ษ า ที่ มี ทางโครงการมุ่ ง หวั ง ที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ ให้ เข้ าถึ ง ข้ อมู ล และบริ การให้ ได้ มากที่ สุ ด เพื่อให้ เขาเหล่านันมี ้ สขุ ภาพที่แข็งแรง และมีชีวิตที่ดี เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร ที่ ดู แ ล ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ต่ า ง ก็ ผ่ า น ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม จ น มี ค ว า ม ช า น า ญ พร้ อมกั บ ได้ รั บ การก ากั บ ดู แ ลอย่ า งใกล้ ชิ ด ระหว่ า งที่ ใ ห้ บริ ก ารแก่ ผ้ ู อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ ทางโครงการฯ มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะบรรลุ ค วามเป็ นเลิ ศ ในการให้ บริ การ เพื่ อ เป็ นการรั ก ษามาตรฐานของการท างาน 13


จะมีการติดตามประเมินผลอย่างสม่าเสมอ โดยรับข้ อเสนอแนะจากผู้รับบริ การและองค์กรภาคีที่ร่วมงานกัน เพื่อนาคาติชมเหล่านันมาปรั ้ บปรุงบริการให้ ดีมากยิ่งขึ ้น

2. ปรั ชญาในการให้ บริ การ ปรัชญาในการให้ บริการของเรา มุง่ เน้ นในเรื่ องสิทธิของคนไข้ ซึง่ ผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อต้ องตระหนักในสิทธิของตนเอง และต้ องตัดสินใจเองเกี่ยวกับการใช้ ชีวิตของตนเอง มุมมองของผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ชี วิ ต ไ ด้ อ ย่ า ง ป ก ติ สุ ข มีสุขภาพที่ดีและเป็ นอิสระเมื่อพวกเขาเข้ าถึงบริ การด้ านสุขภาพที่พวกเขาต้ องการ แม้ จะอยู่ท่ามกลางวิกฤติ ความเจ็ บ ป่ วยหรื อ ปั ญ หาอื่ น ๆ เขาเหล่ า นี ก้ ็ ส ามารถเลื อ กวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาที่ เ หมาะสมกั บ ตนเองได้ เมื่อพวกเขาอยูใ่ นสภาพแวดล้ อมที่ดี การสร้ างเสริมสุขภาวะที่ดี การมีสภาพแวดล้ อมที่ดีจะช่วยส่งเสริมให้ ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อสามารถดารงชีวิตแบบมีสขุ ภาพที่ดีและพึง่ พาตนเองไ ด้ ทางโครงการจึงได้ ออกแบบกรอบการดาเนินงาน ดังนี ้ (ก ) ห า ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร เ พิ่ ม ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ข อ ง เ ร า และสนับสนุนให้ พวกเขาช่วยเหลือซึง่ กันและกันภายในกลุ่มหรื อชุมชน (ข) การทางานอย่างใกล้ ชิดและร่วมมือกับหน่วยงานที่ให้ บริ การอื่น ๆ และ (ค) ทางานเชิงนโยบาย เพื่อให้ เกิดการพัฒนาและดาเนินการในระดับท้ องถิ่น ไม่ เลือกปฏิบัติ เราให้ บริ การแก่ผ้ อู ยู่ร่วมกับเชื ้อโดยไม่คานึงถึงช่องทางการรับเชือ้ (จากแม่ส่ลู ูก ทางเลื อด หรื อเพศสัมพันธ์ ) เชื ้อชาติ ศาสนา ฐานะ หรื อรสนิยมทางเพศหรื อวิถีทางเพศของพวกเขา เรายินดีต้อนรับผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อทุกคน เราในฐานะเพื่อนหรื อครอบครัว ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ น้ อ ย ร า ย ที่ จ ะ เ ปิ ด เ ผ ย ส ถ า น ะ ติ ด เ ชื ้ อ กั บ เ พื่ อ น ห รื อ ค ร อ บ ค รั ว ท า ง โ ค ร ง ก า ร จึ ง ต้ อ ง มี บ ท บ า ท ม า ก ก ว่ า แ ค่ พี่ เ ลี ้ ย ง เพราะในบางสถานการณ์เราอาจจะต้ องเป็ นทังเพื ้ ่อนหรื อครอบครัว ในการดูแลคนเหล่านี ้ 14


15


เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมไม่ ใช่ ผ้ ูเชี่ยวชาญทางการแพทย์ สิ่ ง ที่ สาคัญ ที่ ทุก คนที่ เ กี่ ยวข้ องต้ องรั บทราบก็ คือ เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม ไม่ไ ด้ เป็ นผู้เชี่ ยวชาญทางการแพทย์ แ ต่ เ ข า มี ห น้ า ที่ ป ร ะ ส า น ง า น เ พื่ อ ใ ห้ บ ริ ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เฝ้ าติ ด ตามดู แ ลผู้ รั บ บริ การอย่ า งใกล้ ชิ ด แต่ เ ขาจะไม่ ต รวจวิ นิ จ ฉั ย โรคหรื อให้ ค าแนะน าใดๆ เกี่ยวกับยาหรื อการรักษาใดๆ แก่ผ้ รู ับบริการ ผู้รับบริการเป็ นศูนย์ กลางการให้ บริการ เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ข อ ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ที่ อ ยู่ ใ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ม้ ใ น ภ า ว ะ วิ ก ฤ ต ที่ เ พิ่ ง จ ะ วิ นิ จ ฉั ย แ ล ะ ท ร า บ ผ ล เ ลื อ ด ว่ า ติ ด เ ชื ้ อ เ อ ช ไ อ วี ค รั ้ ง แ ร ก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ส า ม า ร ถ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง วิ ธี ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง เ ข า ซึ่ ง ผู้ รั บ บริ ก ารและเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม ควรมี ก ารพู ด คุย กั น เพื่ อ ร่ ว มกั น ระบุ ค วามต้ อ งการและวิ ธี ก าร เพื่อความมัน่ ใจว่าผู้รับบริการของเราได้ รับในสิ่งที่พวกเขาต้ องการจริงๆ การปฏิบตั งิ านแบบมีผ้ รู ับบริ การเป็ นศูนย์กลางการให้ บริ การ มีหลักการพื ้นฐาน ดังนี ้  ปฏิบตั ิตอ่ ทุกคนด้ วยความเคารพ – ให้ คณ ุ ค่าผู้รับบริการและให้ บริการที่มีคณ ุ ภาพสูงแก่ทกุ คนอย่างเท่าเทียม ไม่วา่ เขาจะเป็ นใคร  รู้สกึ เห็นอกเห็นใจผู้อื่น – “คุณรู้สกึ อย่างไรหากต้ องเผชิญสิ่งเดียวกันกับเขา?” พยายามที่จะเข้ าใจโลกจากมุมมองของผู้รับบริการ  ทัศนคติที่ไม่ตดั สินผู้อื่น – ให้ บริการโดยไม่ตดั สินจากชีวิต ความคิดเห็นหรื อพฤติกรรมของผู้รับบริการ โ ค ร ง ก า ร ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื อ้ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล มุ่ ง เ น้ น เ พื่ อ ใ ห้ บ ริ ก า ร ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ทัง้ นี ใ้ นบางครั ง้ เจ้ า หน้ า ที่ ห นุ น เสริ ม ก็ อ าจไม่ เ ห็ น ด้ วยกั บ ผู้ รั บ บริ ก ารว่ า อะไรคื อ สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ส าหรั บ เขา น อ ก จ า ก นั ้ น ผู้ อื่ น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เ ช่ น หน่ว ยงานที่ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ านสุขภาพก็ อ าจไม่เห็ น ด้ ว ยกับ ผู้รับ บริ ก ารและขอให้ เราสนับ สนุนวิ ธี การของเขา เราจึงต้ องแสดงจุดยื่นว่าเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจะมุง่ เน้ นไปยังการแก้ ไขปั ญหาผ่า นกระบวนการเจรจาต่อรองอย่า งสันติวิธี เพื่อท้ ายที่สดุ แล้ วสามารถตอบสนองความต้ องการของผู้รับบริ การ ช่วยให้ เขาได้ รับบริการที่ดีที่สดุ 16


ความเชื่อที่สาคัญคือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อต้ องนาทักษะและประสบการณ์ชีวิตไปปรับใช้ ในชีวิตและเขาเหล่านี ้เองที่เ ป็ นผู้แ ก้ ไ ขปั ญ หาได้ ดี ที่ สุด โดยอาศัย ความช่ว ยเหลื อ จากเจ้ า หน้ าที่ ห นุนเสริ ม และหน่ว ยงานที่ ใ ห้ บ ริ การ ในขั น้ ตอนการวางแผนเพื่ อ การแก้ ไขปั ญหา ผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ เองเป็ นผู้ ที่ มี บ ทบาทส าคั ญ ที่ สุ ด จึงควรมีสว่ นร่วมใน กระบวนการประเมินและแก้ ไขปั ญหาในสถานการณ์นนๆ ั ้ ของพวกเขาเอง การแทรกแซงและการป้องกันในระยะต้ น เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร มี ห น้ า ที่ ใ น ก า ร ตั ้ง ค า ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ เ ด็ น แ ล ะ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ที่ อ ยู่ น อ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ การแทรกแซงหรื อการป้องกันปั ญ หาสุขภาพสามารถสร้ างความแตกต่างที่ แท้ จ ริ ง ในชี วิตของผู้รับบริ ก าร ดัง นัน้ เจ้ าหน้ าที่ แ ละอาสาสมั ค รควรระบุ ค วามต้ องการอื่ น ๆ นอกเหนื อ ประเด็ น ที่ ผ้ ู รั บ บริ ก ารกั ง วล และตกลงกั บ ผู้ รั บ บริ ก ารให้ เรี ย บร้ อยเกี่ ย วกั บ ปั ญ หาเหล่ า นั น้ ว่ า จะด าเนิ น การอย่ า งไร ตัว อย่ า งเช่ น ก า ร ร ะ บุ ถึ ง ปั ญ ห า ก า ร ใ ช้ ส า ร เ ส พ ติ ด ห รื อ ก า ร ดื่ ม เ ห ล้ า ค ว า ม รุ น แ ร ง ที่ มี ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น หากเจ้ าหน้ าที่ ห รื ออาสาสมั ค ร ไม่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในปั ญหานั น้ ๆ ควรจะปรึ กษาหั ว หน้ าที ม แ ล ะ ร่ ว ม ห า รื อ กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ข อ ง ที่ ค ลิ นิ ก ห รื อ โ ร ง พ ย า บ า ล เพื่อลดความกังวลใจและสามารถให้ บริการแก่คนไข้ ตอ่ ไป หน้ าที่ในการดูแล มี บ า ง ค รั ้ ง ที่ เ กิ ด ปั ญ ห า ร้ า ย แ ร ง ร ะ ห ว่ า ง ใ ห้ บ ริ ก า ร ซึ่ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม มี ห น้ า ที่ ดู แ ล แ ล ะ จั ด ก า ร ปั ญ ห า อ ย่ า ง เ ร่ ง ด่ ว น เ นื่ อ ง จ า ก เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ไ ม่ มี เ ชี่ ย ว ช า ญ ใ น ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า จึงควรขอคาแนะนาเร่งด่วนจากหัวหน้ าทีมและบุคคลากรทางการแพทย์ของคลินิกหรื อโรงพยาบาลที่ดแู ลคนไข้ เหล่านี ้ ในบางกรณี จาเป็ นต้ องขอคาแนะนา เช่น  ปั ญหาสุขภาพจิต (เช่น ผู้รับบริการหรื อคนอื่น บอกว่าได้ ยินเสียงหรื อมองเห็นภาพบางอย่าง หรื อมีอาการเหมือนจะเป็ นโรคอารมณ์สองขัว้ หรื อโรคซึมเศร้ าอย่างรุนแรง)  อาการที่แสดงให้ เห็นว่ามีความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายหรื อทาร้ ายตนเอง  เป็ นภัยคุกคามหรื ออันตรายต่อผู้อื่น หากสงสัย ว่า จะเกิ ด ความรุ นแรงหรื อ ถูก ล่ว งละเมิ ด (เช่น ผู้รั บ บริ ก ารมี ร อยช า้ ที่ ผิด ปกติ หรื อ มี ค วามกลัว ห รื อ มี ข้ อ บ่ ง ชี ้ ว่ า พ ว ก เ ข า ถู ก ท า ร้ า ย ห รื อ ถู ก คุ ก ค า ม ) เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม 17


มี ภ า ร ะ ผู ก พั น ที่ จ ะ ต้ อ ง ดู แ ล ป ก ป้ อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ใ ห้ มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น แ ล ะ ห า ก ค น ไ ข้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ป ก ป้ อ ง ต น เ อ ง ไ ด้ ห รื อ เ ป็ น บุ ค ค ล ไ ร้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมอาจต้ องเป็ นตัวแทนในการดาเนินการด้ านกฎหมายเพื่อพิทกั ษ์สิทธิของผู้ป่วย

18


3. หลักการของระบบบริการแบบเพื่อนช่ วยเพื่อน โ ค ร ง ก า ร ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื อ้ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ให้ บริการหลักดังต่อไปนี ้  การให้ บริ ก ารแบบ การเข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ (in-reach) – เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจะทาหน้ าที่ในการประสานงานระหว่างโรงพยาบาลหรื อคลินิกเพื่อให้ บริ การแก่ผ้ อู ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น ก า ร เ ฝ้ า ติ ด ต า ม ค น ไ ข้ ใ ห้ ม า รั บ บ ริ ก า ร อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ไม่สญ ู หายไประหว่างช่วงรอยต่อของการย้ ายสิทธิการรักษา  การให้ คาปรึ กษาแบบตัวต่อตัว – เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มมีหน้ าที่รับฟั งและให้ การช่วยเหลือผู้รับบริ การ รวมไปถึงการสนับสนุนทางด้ านจิตใจและภาวะอารมณ์  การประสานงานรายบุค คล – เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม จะช่ว ยอ านวยความสะดวกให้ แ ก่ ผ้ ูรับ บริ การ เพื่อให้ เขาเหล่านันสามารถเข้ ้ าถึงบริการด้ านสุขภาพและสวัสดิการท้ องถิ่น การนัดหมายเพื่อพบแพทย์ การช่วยเหลือผู้รับบริการให้ ไปรับการรักษาในโรงพยาบาล รวมไปถึงการเยี่ยมบ้ าน 3.1 การเข้ าถึงกลุ่มเป้าหมายจากกิจกรรมภายในองค์ กร หรื อ in-reach การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ทางานร่วมกับทีมแพทย์และพ ย า บ า ล ใ น ค ลิ นิ ก ห รื อ โ ร ง พ ย า บ า ล เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ซึ่ ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร นี ้ บ า ง ค รั ้ ง เ รี ย ก ว่ า “ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย จ า ก กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ห รื อ In-reach” และเรี ยกสถานที่ที่ให้ บริ การเหล่านีว้ ่า “แผนกบริ การผู้ป่วยโดยผู้เชี่ยวชาญ หรื อ Expert Patient Services” จะขึ น้ อยู่ กั บ โครง สร้ าง การจั ด การและระบบที่ ใช้ ในโครงการชุ ม ชนเพื่ อ การป้ องกั น เอชไอวี แ ต่ มุ่ ง เ น้ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ส นั บ ส นุ น ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ อาสาสมั ค รหรื อ เจ้ าหน้ าที่ ท างานร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ บริ ก ารแก่ ผ้ ู รั บ บริ ก ารที่ อ ยู่ น อกองค์ ก รของพวกเขา อย่ า งไรก็ ต ามแทนที่ จ ะที ม งานเหล่ า นี ท้ างานในสถานที่ ส าธารณะเพื่ อ แจกจ่ า ยถุ ง ยางอนามั ย เข็มฉีดยาและอุปกรณ์อื่น ๆ (เหมือนงานภาคสนาม - Outreach) ทีมงาน In-reach เหล่านี ้ก็จะทากิจกรรมต่างๆ ภายในสถานที่ทางาน คลินิกหรื อโรงพยาบาล เพื่อให้ ความช่วยเหลือ สนับสนุน และให้ คาปรึกษาแก่ผ้ รู ับบริ การ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย จ า ก กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ห รื อ In-reach เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร เ ป็ น เ จ้ า ห น้ า ที่ ต้ อ น รั บ ห รื อ เ ป็ น ผู้ ช่ ว ย เพื่ อ ให้ ความช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ วยในการรั บ บริ การที่ แ ผนกตรวจและรั ก ษา พาเขาไปยั ง แผนกต่ า งๆ 19


ใ น บ า ง ก ร ณี อ า จ ช่ ว ย พ ย า บ า ล ใ น ก า ร วั ด ค ว า ม ดั น ชั่ ง น ้า ห นั ก วั ด อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง ผู้ ช่ ว ย เ พื่ อ แ บ่ ง เ บ า ภ า ร ะ ง า น แ ล ะ ร่ ว ม ดู แ ล เ ค ส ผู้ ป่ ว ย กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ โ ร ง พ ย า บ า ล แ ล ะ ค ลิ นิ ก ซึ่ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ใ ช้ โ อ ก า ส นี ้ใ น ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ป่ ว ย แ ต่ ล ะ ร า ย เ พื่ อ ใ ห้ พ ว ก เ ข า รู้ ว่ า เ ร า พ ร้ อ ม ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ เ มื่ อ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม แ ล ะ ที ม แ พ ท ย์ แ ล ะ พ ย า บ า ล ดี ขึ ้ น เ จ้ า ห น้ า ที่ ส า ธ า ร ณ สุ ข ก็ จ ะ ส่ ง ต่ อ ค น ไ ข้ ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ไ ป ดู แ ล ต่ อ รวมถึง เขาอาจเชิ ญ เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม ให้ เป็ นที่ ปรึ กษา หรื อร่ วมวางแผนการให้ ความช่วยเหลื อแก่คนไข้ เพื่อร่วมดูแลคนไข้ ตอ่ ในส่วนที่นอกเหนือจากความรับผิดชอบของแพทย์และพยาบาล วัตถุประสงค์หลักในการให้ บริการแบบ การเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายจากกิจกรรมภายในองค์กร หรื อ In-reach คือ:  พั ฒ น า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ โ ร ง พ ย า บ า ล แ ล ะ ค ลิ นิ ก ศู น ย์ บ ริ ก า ร ผู้ ห ญิ ง ศู น ย์ บริ การผู้ ใช้ สารเสพ ติ ด หน่ ว ยง านเภ สั ช และหน่ ว ยสวั ส ดิ ก ารสาธารณสุ ข อื่ น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกในการให้ บริการและการส่งต่อคนไข้  พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ รั บ บริ การหรื อคนไข้ ที่ เ พิ่ ง ได้ รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว่ าติ ด เชื อ้ เอชไอวี เ พื่ อ ที่ พ ว ก เ ข า จ ะ ไ ด้ ไ ม่ รู้ สึ ก โ ด ด เ ดี่ ย ว ห รื อ แ ป ล ก แ ย ก และเป็ นการป้ องกัน การสูญ หายระหว่ า งรั บ การรั ก ษา ซึ่ ง หมายถึ ง หน่ ว ยงานที่ ใ ห้ บริ ก าร VCT จะเป็ นเป้าหมายในการทากิจกรรม In-reach นี ้  พั ฒ น า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ที่ เ ริ่ ม ป่ ว ย ห รื อ มี อ า ก า ร เ พื่ อ ช่ ว ย ใ ห้ พ ว ก เ ข า มี รู้ จั ก ห น่ ว ย ง า น ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร ด้ า น ส า ธ า ร ณ สุ ข ใ น ชุ ม ช น เ ช่ น อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ป ร ะ จ า ห มู่ บ้ า น ( อ ส ม . ) ค ลิ นิ ก ห รื อ โ ร ง พ ย า บ า ล เพื่อให้ คนไข้ สามารถเข้ าถึงช่องทางบริการด้ านสุขภาพและสวัสดิการต่างๆ ได้  พั ฒ น า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ที่ น อ น พั ก รั ก ษ า ตั ว อ ยู่ ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล ซึ่ ง เราจะช่ ว ยจั ด การเรื่ องนั ด หมาย การรั บ การรั ก ษาต่ อ เนื่ อ งหลั ง ออกจากโรงพยาบาล การส่งตัวคนไข้ กลับบ้ าน ซึง่ หมายถึง คลินิกและโรงพยาบาลจะให้ การดูแลผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้ออย่างดีที่สุด ซึ่งนี่คือเป้าหมายหลักของโครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่ว ยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล 3.1.1 การสร้ างความร่ วมมือในการให้ บริการในสถานบริการสาธารณสุข 20


ในเนื ้อหาส่วนนี ้จะให้ ข้อมูลสาหรับองค์กรเจ้ าภาพและเจ้ าหน้ าที่ของพวกเขา ที่ต้องการจัดตังการประสานความร่ ้ วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ขึ ้นเป็ นครัง้ แรก เป้าหมายของการจัดตังนี ้ ้โครงการนี ้ก็เพื่อสร้ างความมัน่ ใจว่าสามารถให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริการภายในโรงพยาบา ลและคลินิกในท้ องถิ่นได้

21


จุดให้ บริการและคาแนะนา 5 แห่ ง ดังนี ้: 1. เ ขี ย น ร า ย ชื่ อ ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ด้ า น สุ ข ภ า พ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง : VCT ค ลิ นิ ก คลิ นิ ก และโรงพยาบาลเกี่ ยวกั บ เอชไ อวี ศูน ย์ บ ริ ก ารสตรี ศูน ย์ บ ริ ก ารผู้ใ ช้ ส ารเสพติ ด คลินิก 1 ศู น ย์ บ ริ ก า ร ด้ า น เ ภ สั ช แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า ศูนย์บริการชุมชน 2. การเข้ าหาบุ ค ลากรทางการแพทย์ :

คลินิก 4

โครงการ

คลินิก 2

คลินิก 3

เ ข้ า ห า เ จ้ า ห น้ า ที่ ที่ คุ ณ อ า จ รู้ จั ก ห รื อ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เ ป็ น ทุ น เ ดิ ม อ ยู่ แ ล้ ว อ ธิ บ า ย แ น ว คิ ด แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ จ ะ ช่ ว ย ทั ้ ง บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ ค น ไ ข้ ให้ เอกสาร ข้ อมู ล เ กี่ ย ว กั บ แ น ว คิ ด ดั ง กล่ า ว เพื่ อให้ ที มแพ ทย์ ส าม าร ถ น าไ ป พู ด คุ ย กั น ไ ด้ พ ร้ อ ม กั บ ม อ ง ห า ก า ร ส นั บ ส นุ น เ พื่ อ เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร ส า ห รั บ ก า ร จั ด ตั ง้ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ การเข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ In-reach ในสถานบริ ก ารสาธารณสุ ข (ดูตวั อย่างเอกสารข้ อมูล) 3. ว า ง แ ผ น ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม แ ล ะ ที ม บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ เพื่ อ ก าหนดวิ ธี ก ารสนั บ สนุ น บุ ค คลากรทางการแพทย์ ใ นแต่ ล ะสถานบริ ก ารสาธารณสุ ข : หมายความว่าเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมต้ องเข้ าใจวิธีการทางานของบุคคลากรทางการแพทย์ของแต่ละสถานบริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข แ ล ะ ร่ ว ม ว า ง แ ผ น ก า ร ท า ง า น เ พื่ อ ห นุ น เ ส ริ ม กั น แ ล ะ กั น ในบางหน่วยงานเจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม อาจจะช่ว ยตัง้ แต่การต้ อ นรั บ การวัดนา้ หนัก -ส่วนสูง -ความดัน แล้ วก็นงั่ รอจนกว่าคนไข้ จะเสร็จกระบวนการตรวจรักษาโดยบุคคลากรทางการแพทย์ 4. ก า ร เ ข้ า ห า ที ม บ ริ ห า ร ข อ ง แ ต่ ล ะ ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข : เ พื่ อ ร่ ว ม ห า รื อ แ ล ะ ห า แ น ว ท า ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ซึ่ ง เ ริ่ ม จ า ก ก า ร เ ขี ย น จ ด ห ม า ย แ น ะ น า อ ง ค์ ก ร ห รื อ โ ค ร ง ก า ร จ า ก ผู้ อ า น ว ย ก า ร ข อ ง คุ ณ 22


ถึ ง ผู้ บ ริ ห า ร ข อ ง ค ลิ นิ ก ห รื อ โ ร ง พ ย บ า ล นั ้น ๆ แ ล ะ อ า จ มี ก า ร นั ด ห ม า ย เ พื่ อ พู ด คุ ย กั น แ ล้ ว ต ก ล ง ร่ ว ม มื อ กั น โ ด ย ท า เ ป็ น เ อ ก ส า ร สั ญ ญ า ห รื อ จ ด ห ม า ย สั่ ง ก า ร ภ า ย ใ น เ พื่ อ อ นุ มั ติ ใ ห้ อ ง ค์ ก ร ข อ ง คุ ณ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ การเข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ In-reach ในหน่ ว ยงานนั น้ ๆ ได้ (ดูตวั อย่างจดหมายแนะนาองค์กร) ก า ร ส ร้ า ง " ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น ภ า ย ใ น " ขึ ้ น ใ น แ ต่ ล ะ ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ซึ่ ง ต า แ ห น่ ง ดั ง ก ล่ า ว มั ก จ ะ เ ป็ น พ ย า บ า ล ที่จะทาหน้ าที่เป็ นผู้ประสานงานให้ ความร่วมมือและช่วยแก้ ปัญหาในสถานที่นนๆ ั้ ก า ร ท ด ล อ ง โ ค ร ง ก า ร น า ร่ อ ง ป ร ะ ม า ณ 3-6 เ ดื อ น ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ร่ ว ม กั น เพื่อประเมินสถานการณ์และปั ญหา เพื่อที่จะสามารถแก้ ไขปั ญหาเหล่านันได้ ้ อย่างรวดเร็ว 3.1.2 การรักษาความสัมพันธ์ กับสถานบริการสาธารณสุข เนื ้อหาส่วนนี ้จะเป็ นข้ อมูลเกี่ยวกับการรักษาความสัมพันธ์ความร่วมมือกับสถานบริการสาธารณสุข 1. แก้ ไขปั ญหาต่างๆ ร่วมกันให้ เร็วที่สดุ 2. ส่งจดหมายหรื อรายงานผลการทางานร่ วมกันให้ แก่ผ้ ูบริ หารของคลินิกและโรงพยาบาล ทุกๆ 3 เดือน เพื่อสรุปผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา และขอบคุณพวกเขาสาหรับความร่วมมือ 3. ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร โ ด ย แ จ ก แ จ ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ บ ท บ า ท ใ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง คุ ณ แ ล ะ ค ลิ นิ ก ห รื อ โ ร ง พ ย า บ า ล แ ล้ ว เ ส น อ ต่ อ ผู้ บ ริ ห า ร ข อ ง ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข นั ้ น ๆ เพื่อให้ พวกเขาสามารถมองเห็นบทบาทของพวกเขา และมีสว่ นร่วมในความสาเร็จนันๆ ้ 4. เมื่ อ ใดก็ ต ามที่ มี ก ารน าเสนอผลงานในที่ ป ระชุ ม ควรจะแสดงรายชื่ อ ขององค์ ก รภาคี แ ล ะ ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ ท า ง า น ร่ ว ม กั บ โ ค ร ง ก า ร เพื่อเป็ นการให้ เกียรติทีมงานและองค์กรดังกล่าว 3.2 การให้ คาปรึกษาแบบตัวต่ อตัว

23


การให้ คาปรึกษาแบบตัวต่อตัวเป็ นการสร้ างพื ้นที่และให้ เวลาในการรับฟั งเรื่ องราวปั ญหาของผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ เ ป รี ย บ เ ส มื อ น ก า ร มี เ พื่ อ น เ ป็ น ผู้ รั บ ฟั ง ที่ ดี ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ค ว ร จ ะ รู้ สึ ก ว่ า เ ข า มี เ พื่ อ น ที่ ค อ ย อ ยู่ เ คี ย ง ข้ า ง แ ล ะ รั บ ฟั ง ปั ญ ห า ข อ ง เ ข า เ รื่ อ ง ร า ว ชี วิ ต ที่ เ กิ ด ขึ ้ น ใ น แ ต่ ล ะ วั น การให้ ค าปรึ กษาจึ ง เป็ นการสร้ างความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ มและผู้ รั บ บริ การ ท า อ ย่ า ง ไ ร ใ ห้ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ รู้ สึ ก ว่ า เ ข า มี โ อ ก า ส ที่ จ ะ ร ะ บ า ย ค ว า ม คั บ ข้ อ ง ใ จ ปั ญ ห า และเป็ นพื ้นที่ปลอดภัยที่เขาสามารถระบายความรู้สึกโดยปราศจากความกลัวหรื อการถูกตีตราจากเจ้ าหน้ าที่ห นุนเสริมที่ดแู ลพวกเขา ฟั งมากกว่ าพูด วิ ธี ที่ ง่ า ยที่ สุ ด ในการสร้ าง ความสั ม พั น ธ์ โดยใช้ กิ จกรรมการให้ ค าปรึ กษาแก่ ผ้ ู อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ ก็ คื อ ก า ร ที่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม มุ่ ง เ น้ น ก า ร ฟั ง ม า ก ก ว่ า ก า ร พู ด เ มื่ อ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เป้ าหมายของพวกเขาคื อ การให้ ความสนใจกั บผู้ รั บบริ การ ไม่ ใ ช่ พู ด คุ ย ในสิ่ ง ที่ ต นเองสนใจ นี ้อาจเป็ นเรื่ องยากที่จะทาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผู้รับบริการมักจะถามคาหรื อขอให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมช่วยแบ่ งปั นประสบการณ์ของตัวเอง ซึง่ มีแนวทางแก้ ไขได้ ดงั นี ้:  ห า ก คุ ณ ก า ลั ง พู ด ม า ก ก ว่ า ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ข อ ง คุ ณ เป็ นสัญญาณว่าตัวคุณกาลังเป็ นจุดสนใจมากกว่าผู้รับบริ การ  ตอบค าถามอย่ า งตรงไปตรงมาและชั ด เจน – อาจจะใช้ เวลาแต่ คุ ณ จ าเป็ นต้ องท า – แต่ขอให้ แน่ใจว่าถ้ าคุณกาลังพูดถึงเรื่ องตัวคุณเอง เพียงเพื่อเป็ นการตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา หรื อตามความต้ องการของผู้รับบริการ ไม่ใช่เพราะคุณอยากจะพูดคุยเรื่ องส่วนตัวเอง  ป ล่ อ ย ใ ห้ มี ช่ ว ง เ ว ล า เ งี ย บ ๆ ซึง่ นี่อาจสร้ างความรู้สึกอึดอัดบ้ างแต่จะช่วยเปิ ดโอกาสให้ ผ้ รู ับบริ การของคุณได้ มีโอกาสในการพูดคุยเ กี่ ย ว กั บ ตั ว เ ข า เ อ ง ก า ร ป ล่ อ ย ใ ห้ มี ช่ อ ง ว่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ส น ท น า จะช่วยให้ ผ้ รู ับบริการได้ คดิ ทบทวนถึงสิ่งที่อยู่ในใจ และมีชว่ งจังหวะที่จะแสดงความรู้สกึ ลึกๆ ออกมา

24


3.3 การประสานความช่ วยเหลือเป็ นรายบุคคล การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล มีจดุ มุ่งหมายเพื่อช่วยให้ ผ้ อู ยูร่ ่ วมกับ เชื อ้ สามารถยอมรั บ และกล้ า ที่ จ ะเข้ า สู่ก ระบวนการเปลี่ ย นแปลงตนเองเพื่ อ ให้ อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ ได้ และมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดี สามารถระบุและแก้ ไขปั ญหาได้ ลดอุปสรรคที่คอยขัดขวางไม่ให้ เขาเหลานันมี ้ ชีวิตที่ดี สิ่ ง เ ห ล่ า นี ้ จ ะ เ กิ ด ขึ ้ น ไ ด้ ต้ อ ง อ า ศั ย ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ที่ เ กื ้ อ ห นุ น กั น ปราศจากการตีตราและด้ วยการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อและเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจนได้ แผนปฏิบั ติการออกมา ว่าทัง้ สองฝ่ ายจะช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกันตลอดช่วงเวลาที่รับบริ การจากโครงการอย่างไร ใ น ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล นี ้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ เ ดิ น ท า ง ไ ป กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ต า ม ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ต่ า ง ๆ เพื่อรับบริ การทางการแพทย์ นัดหมายให้ บริ การทางการแพทย์และอื่น ๆ และพร้ อมที่จะช่วยแก้ ปัญหาที่เกิดขึ ้น ด้ ว ย วิ ธี นี ้เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ก ล า ย เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ เพื่อสนับสนุนให้ พวกเขาปรับเปลี่ยนชีวิตให้ สามารถอยูร่ ่วมกับเอชไอวีได้ เป็ นอย่างดี  คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ส า คั ญ ข อ ง ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ก็เพื่อที่จะส่งเสริ ม ให้ เกิ ดการเชื่ อมต่อความร่ วมมื อระหว่างผู้อยู่ร่วมกับเชื อ้ และผู้ให้ บริ การ คู่นอน ค ร อ บ ค รั ว เ พื่ อ น แ ล ะ ชุ ม ช น โครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล พยายามที่จะ ทางานร่วมกับทุกฝ่ ายเพื่อเพิ่มความช่วยเหลือและการสนับสนุนให้ ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดี

3.3.1 เส้ นทางการให้ บริการลูกค้ า การให้ บริการ 4 ขันตอน ้ ได้ แก่  ขั ้ น ต อ น ที่ 1 – ก า ร ติ ด ต่ อ กั น ค รั ้ ง แ ร ก กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ พื่ อ เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร “การประสานความร่ วมมื อ เพื่ อ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล ” คื อ ผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อติดต่อเข้ ามาเอง หรื อองค์กรภาคีเป็ นผู้สง่ ตัว  ขั ้ น ตอนที่ 2 – ให้ บริ การแก่ ผ้ ู รั บ บริ การ ได้ แก่ ก ารประชุ ม และพู ด คุ ย กั น อย่ า งสม่ า เสมอ และจั ด ท าแผนของการดู แ ลช่ ว ยเหลื อร่ ว มกั น ทั ง้ ผู้ รั บบริ การและเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เ สริ ม โดยปกติจะให้ บริการ 3 เดือน  ขัน้ ตอนที่ 3 – การทบทวนและประเมินผลการให้ บริการ ว่าได้ บรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้ หรื อไม่ 25


 ขั น้ ตอนที่ 4 - ผู้รับบริ การออกจากโครงการ หรื อ ส่ง ต่อผู้รับบริ การไปยัง หน่วยงานอื่ นที่ เกี่ ยวข้ อง เพื่อรับบริการตามความจาเป็ น

ขัน้ ตอนที่ 1: การติดต่อครัง้ แรก ผู้รับบริ การติดต่อเข้ ามาเอง / ส่งต่อจากองค์กรภาคี การดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่: ประเมิน และรับเข้ าโครงการ

ขัน้ ตอนที่ 4: ยุติการให้ บริ การ การดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่: ส่งต่อ ผู้รับบริ การไปยังหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้ อง บันทึกลงแฟ้ มคนไข้ วา่ "ยุติการให้ บริ การ" แต่ ยังคงต้ องติดตามผู้รับบริ การอีกครัง้ หลังจาก 6 สัปดาห์ เพื่อเช็คความเรี ยบร้ อย

ขัน้ ตอนที่ 2: การประสานงานและ ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง การดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่: พบกับ ผู้รับบริ การ และติดตามการดาเนินงานให้ ได้ ตามแผนการประเมิน

ขัน้ ตอนที่ 3: การประเมินผล การดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่: การ ประเมินความก้ าวหน้ าและตัดสินใจที่จะ การให้ บริ การต่อเนื่องหรื อยุตกิ ารให้ บริ การ

26


3.3.2 การจัดการและการจัดสรรจานวนผู้รับบริการ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มแต่ละคนจะดูแลผู้รับบริ การได้ สูงสุด 20 คน โดยจานวนผู้รับบริ การขึ ้นอยู่กับปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ดังนี ้  ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม – เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ที่ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ น้ อ ย จ ะ ดู แ ล ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ไ ม่ ม า ก แ ล ะ จ ะ ค่ อ ย ๆ เพิ่มจานวนขึ ้นตามประสบการณ์การทางานที่เพิ่มขึ ้น  ทั ก ษ ะ แ ล ะ ผ ล ก า ร ท า ง า น ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม – เ จ้ า ห น้ า ที่ ค น ห นึ่ ง อ า จ มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม ผู้ ติ ด เ ชื ้ อ ร า ย ใ ห ม่ ในขณะที่ อี ก คนหนึ่ ง อาจจะมี ทั ก ษะในเรื่ องการดู แ ลรั ก ษาตามอาการของโรคฉวยโอกาส ซึ่งทักษะเหล่านี ้จะช่วยกาหนดบทบาทของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มและสามารถนาทักษะที่มีไปปรับใช้ ให้ เ หมาะกับความต้ องการของผู้รับบริการ  จ า น ว น ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ที่ ต้ อ ง ก า ร ก า ร ดู แ ล อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด – ส าหรั บ ผู้ รั บ บริ ก ารบางคนอาจต้ องได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ อย่ า งมาก และต้ องใช้ เวลามาก ซึง่ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมที่ดแู ลอาจะต้ องลดจานวนผู้รับบริการในมือลงเพื่อให้ เวลาแก่ผ้ รู ับบริการที่มีอยู่แ ล้ วอย่างเต็มที่และเพียงพอต่อความต้ องการ ก า ร จั ด ส ร ร จ า น ว น ผู้ รั บ บ ริ ก า ร คือการใช้ วิธีการกาหนดให้ ผ้ รู ับบริการไปอยู่ในความดูแลของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมบางคน โดยมีหลักเกณฑ์ดงั นี ้  ก า ร จั ด ส ร ร แ บ บ อั ต โ น มั ติ คือเมื่อเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมคนใดเป็ นผู้พบเจอกับผู้รับบริ การเป็ นครัง้ แรกและผู้รับบริ การนันจะอยู ้ ่ภายใ ต้ การดูแลของเจ้ าหน้ าที่คนดังกล่าว นี่อาจจะเป็ นวิธีที่ง่ายที่สดุ ในการจัดสรรจานวนผู้รับบริ การ  การจัดสรรแบบกาหนดตัวบุคคล – หมายความว่าเมื่อเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มได้ พบเจอกับผู้รับบริ การ จ ะ ท า ก า ร รั บ ตั ว เ ข้ า โ ค ร ง ก า ร พ ร้ อ ม กั บ แ จ้ ง ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ท ร า บ ว่ า ทางโครงการดูแ ลผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ เป็ นที ม และจะมี ก ารจัด สรรเจ้ า หน้ า ที่ ม าดูแ ลเป็ นรายบุ ค คล ซึ่ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ค น ดั ง ก ล่ า ว จ ะ ติ ด ต่ อ ก ลั บ ม า อี ก ค รั ้ ง การกาหนดตัวเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มควรทาในที่ประชุมเพื่อจะได้ จดั สรรจานวนผู้รับบริ การให้ พอเหมาะแ ล ะ ต ร ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ ทั ก ษ ะ ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ซึ่ ง วิ ธี ก า ร นี ้ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ล่ า ช้ า ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร 27


แ ล ะ อ า จ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร รู้ สึ ก ว่ า ต น เ อ ง ไ ม่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม ใ ส่ ใ จ แ ต่ ทั ้ ง นี ้ วิธีการดังกล่าวก็มีความจาเป็ นโดยเฉพาะในกลุม่ ผู้รับบริการที่มีความต้ องการที่ซบั ซ้ อนมาก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ต่ ล ะ ร า ย อ า จ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ แ ต ก ต่ า ง ที่ เ ร า ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง เ ช่ น ผู้ ห ญิ ง ที่ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ อ า จ ต้ อ ง ก า ร เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ที่ เ ป็ น ผู้ ห ญิ ง สาวประเภทสองอาจต้ องการเจ้ าหน้ าที่ที่เป็ นสาวประเภทสอง ส่วนผู้ชายก็อาจต้ องการเจ้ าหน้ าที่ผ้ ชู าย เป็ นต้ น ใ น บ า ง ค รั ้ ง อ า จ มี ก า ร โ ย ก ย้ า ย ตั ว เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม เ มื่ อ มี เ จ้ า ห น้ า ที่ บ า ง ค น ล า อ อ ก ห รื อ เ พื่ อ จั ด ส ร ร จ า น ว น ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ใ ห้ พ อ เ ห ม า ะ กั บ จ า น ว น เ จ้ า ห น้ า ที่ ที่ มี อ ยู่ ในบางสถานการณ์อาจมีปัญหาเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างสองฝ่ าย จึงมีความจาเป็ นที่ต้องเปลี่ยนตัวเจ้ าหน้ าที่ ก า ร โ อ น ย้ า ย ตั ว ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ไ ป ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ค น ใ ห ม่ อ า จ ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ หรื ออาจมี ก ารพู ด คุ ย วางแผนร่ ว มกั บ ผู้ รั บ บริ การและเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ มทั ง้ คนใหม่ แ ละคนเก่ า เพื่อให้ ผ้ รู ับบริการรู้สกึ ปลอดภัยและไม่โดดเดี่ยว ผู้ ประสานงานหรื อหั ว หน้ าที ม จะเป็ นผู้ จั ด สรรจ านวนผู้ รั บ บริ การและดู แ ลกระบวนการทั ง้ หมด ซึง่ แผนภาพด้ านล่างได้ แสดงใหเห็นถึงขันตอนในการจั ้ ดสรรจานวนผู้รับบริการและกระบวนการบริ หารจัดการทั ้ งหมด 3.3.3 ขัน้ ตอน วิธีการจัดสรรจานวนผู้รับบริการ การบริ หารจัดการ และการให้ บริการ 1. เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมทางานร่ วมกันเป็ นทีมเพื่อให้ บริ การแก่ ผ้ ูอยู่ร่วมกับเชือ้ – การประสานงานภายในทีมเป็ นหน้ าที่ของผู้ประสานงานหรื อหัวหน้ าทีม ผู้ประสานงาน

เจ้ าหน้ าที่หนุน เสริ ม (ทีมที่ 1)

เจ้ าหน้ าที่หนุน เสริ ม (ทีมที่ 1)

เจ้ าหน้ าที่หนุน เสริ ม (ทีมที่ 2)

เจ้ าหน้ าที่หนุน เสริ ม (ทีมที่ 2)

เจ้ าหน้ าที่หนุน เสริ ม (ทีมที่ 3)

เจ้ าหน้ าที่หนุน เสริ ม (ทีมที่ 3)

28


2. เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมดูแลผู้รับบริการตามจานวนที่ได้ มอบหมาย และบันทึกความคืบหน้ าของแต่ละรายลงในแฟ้มคนไข้

3. ผู้รับบริการจะได้ รับการโอนย้ ายให้ อยูใ่ นการดูแลของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมคนอื่นๆ ตามความเหมาะสม

4. ผู้รับบริการจะได้ รับการดูแลต่อเนื่องหรื อยุติการรับบริ การเพื่อส่งต่อให้ แก่หน่วยงานอื่น ขึ ้นอยู่กบั ผลการประชุมว่าผู้รับบริการได้ รับบริ การตามความต้ องการและสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่ได้ วางแ ผนการดูแลรักษาไว้ แล้ วหรื อไม่

4. องค์ กรแหล่ งทุน

29


อ ง ค์ ก ร เ จ้ า ภ า พ ที่ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร จ ะ ท า กิ จ ก ร ร ม การด าเนิ น การประสานความร่ วมมื อเพื่ อการดู แ ลช่ ว ยเหลื อผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ เป็ นราย บุ ค คล จาเป็ นต้ องแสวงหาเงินทุน ซึง่ สามารถพิจารณาได้ จากแหล่งทุนเหล่านี ้:  องค์กรบริหารส่วนตาบล / จังหวัด /เทศบาล  หน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมควบคุมโรคเอดส์ สานักงานป้องกันควบคุมโรค  คณะกรรมการกลไกความร่วมมือในประเทศ (CCM) สาหรับโครงการภายใต้ กองทุนโลก (GFATM)  กองทุนเพื่อการพัฒนาในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ โดยสหประชาชาติหรื อองค์การอนามัยโลก  การระดมทุนผ่านทวิภาคีและพหุภาคีผา่ น USAID, DFID หรื อหน่วยงานอื่น ๆ  ผู้บริจาคภายในประเทศ

ส่ วนที่ 2 - การจัดการบริการ 30


ส่ วนที่ 2 - การบริหารจัดการเพื่อให้ บริการ อ ง ค์ ก ร ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล” จะมีการบริ หารจัดการเกี่ยวกั บเจ้ าหน้ าที่ แ ละอาสาสมั ค รเป็ นของตนเอง เป็ นแผนกหนึ่ ง ภายใต้ โครงสร้ างการบริ หารงาน การประสานความร่ วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ เป็ นรายบุคคล เรี ยกว่า “แผนกหนุนเสริ ม” ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม แ ล ะ ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น ห รื อ หั ว ห น้ า ที ม ข น า ด ข อ ง แ ผ น ก ห นุ น เ ส ริ ม ขึ ้ น อ ยู่ กั บ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง อ ง ค์ ก ร แ ล ะ เ งิ น ทุ น บ า ง ห น่ ว ย ง า น อ า จ มี แ ผ น ก ห นุ ม เ ส ริ ม ใ น พื ้ น ที่ ท า ง า น แ ห่ ง เ ดี ย ว แต่บางองค์กรที่มีขนาดใหญ่กว่าอาจะมีแผนกหนุนเสริ มหลายทีมช่วยกันให้ บริ การที่แตกต่างกันในพื ้นที่ทางาน ต่างๆ เนื ้อหาส่วนนี ้จะอธิบายถึง:  โครงสร้ างและบทบาทหน้ าที่  จริยธรรมในการทางานของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร  การกากับดูแล การช่วยเหลือและการประชุมเพื่อปรึกษาปั ญหาเป็ นรายกรณี

5. โครงสร้ างและบทบาทหน้ าที่ 5.1 แผนกหนุนเสริม แ ผ น ก ห นุ น เ ส ริ ม เ ป็ น ที ม ที่ มี เ จ้ า ห น้ า ที่ สู ง สุ ด ไ ม่ เ กิ น 7 ค น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น 1 คนต่อเจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม 6 คน ผู้ประสานงานเป็ นผู้รั บผิ ดชอบในการบริ ห ารจัด การกิ จ กรรมของแผนก ตั ้ ง แ ต่ ก า ร จ้ า ง ง า น เ จ้ า ห น้ า ที่ ก า ร ก า กั บ ดู แ ล การแก้ ไขปั ญหากรณี ฉุ ก เฉิ น และการประสานงานกั บ ผู้ รั บ บริ การบางรายที่ มี ค วามซั บ ซ้ อนมาก เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ป็ น คู่ งานของผู้ป ระสานงานและเจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม ขึ น้ อยู่ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการให้ บ ริ ก ารแก่ ผ้ ูรั บ บริ ก าร ซึ่ ง อาจเป็ น “การให้ บริ ก ารแบบ การเข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ in-reach” ใ น บ า ง ค ลิ นิ ก ห รื อ โ ร ง พ ย า บ า ล ห รื อ อ ง ค์ ก ร ภ า คี

31


แ ผ น ก นี ้ จ ะ รั บ ผิ ด ช อ บ เ ฉ พ า ะ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ เ พื่ อ น ช่ ว ย เ พื่ อ น เ ท่ า นั ้ น แผนภาพข้ างล่างจะช่วยอธิบายเกี่ยวกับการทางานของแผนกหนุนเสริม

ผู้ประสานงาน

เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม ทีมที่

เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม

เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม

เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม

เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม

เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม

ทีมที่

ทีมที่

ทีมที่

ทีมที่

ทีมที่

บริ การในพื ้นที่หนึง่

5.2 ผู้ประสานงาน /หัวหน้ าทีม ผู้ ประสานงาน ต้ องมี ป ระสบการณ์ ในการให้ ค าปรึ ก ษา งานสั ง คมสงเคราะห์ ห รื อด้ านการศึ ก ษา เขาอาจมีวุฒิการศึกษาหรื อใบประกาศนียบัตรในหัวข้ อดังกล่าว มีความสามารถในการทางานร่ วมกับผู้อื่น และสามารถทางานได้ เพียงลาพัง มีทกั ษะในการแก้ ไขปั ญหา ผู้ประสานงานจะดูแลสมาชิกในทีมจานวน 6 คน แ บ่ ง เ ป็ น 3 ก ลุ่ ม / คู่ ซึ่ ง ท า ง า น ใ น พื ้ น ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ผู้ ประสานงานจะเป็ นประสานการท างานร่ ว มกั บ ที ม บุ ค คลากรทางการแพทย์ ใ นพื น้ ที่ ใ ห้ บริ ก าร 32


และก ากั บ ดูแ ลเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม ให้ ท างานตามแผนที่ ก าหนดและให้ บริ ก ารที่ เ หมาะสมแก่ ค นไข้ ผู้ประสานงานจะคอยแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้นในแต่ละพื ้นที่ รวมถึงสถานการณ์ฉกุ เฉินต่างๆ ห า ก ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ท า ง า น ที่ สู ง จ ะ ล ง ไ ป ช่ ว ย ป ร ะ ส า น ง า น ห รื อ ก า กั บ ดู แ ล ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ที่ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ ซั บ ซ้ อ น ม า ก แ ล ะ จ ะ ท า ง า น ใ ก ล้ ชิ ด กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ผู้ประสานงานจะจัดประชุมทีมทุกสัปดาห์หรื อสองสัปดาห์เพื่อประชุมหารื อเกี่ยวกับผู้รับบริ การเป็ นรายบุคคล และร่วมกันหาทางออกสาหรับผู้รับบริการแต่ละราย รายละเอียดงานของผู้ประสานงาน:  การรับสมัครเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมตามความเหมาะสม    

การฝึ กอบรม การกากับดูแลและสนับสนุนเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมอย่างต่อเนื่อง กากับดูแลเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มในการให้ บริการ การประสานงานเพื่อช่วยเหลือเป็ นรายบุคคล ตรวจสอบข้ อมูลที่ให้ บริการ รวบรวมและจัดทารายงาน ประสานงานกับทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่โรงพยาบาลและคลินิก ที่ร่วมกันให้ บริ การแบบ การเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายจากกิจกรรมภายในองค์กร หรื อ in-reach

 ประชุมร่วมกับผู้ประสานงานแผนกอื่นๆ (หากมี) ในการวางแผนและประสานงานเพื่อให้ ความช่วยเหลือแก่ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อ รายละเอียดงานเพิ่มเติมดูได้ จากภาคผนวก (อ่านเพิ่มเติม) 5.3 เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ ม ไม่จาเป็ นต้ องมีประสบการณ์ในการให้ คาปรึกษา งานสังคมสงเคราะห์หรื อด้ านการศึกษา พวกเขาไม่จ าเป็ นต้ อ งเป็ นผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ หรื อ เป็ นกลุ่ม ประชากรที่ มี ค วามเสี่ ย งในการรั บ เชื อ้ เอชไอวี แต่พวกเขาควรจะมีประสบการณ์ในการดูแลผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ หรื อกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงในการรับเชือ้ หรื อเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ในเครื อข่ า ยผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ หรื อกลุ่ ม ประชากรที่ มี ค วามเสี่ ย งในการรั บ เชื อ้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ต้ อ ง ท า ง า น เ ป็ น ที ม / คู่ เ พื่ อ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ

33


การให้ บริ การแบบการเข้ าถึงกลุ่มเป้าหมายจากกิจกรรมภายในองค์กร หรื อ in-reach ในโรงพยาบาลท้ องถิ่น หรื อคลินิก หรื อหน่วยงานที่ให้ บริการด้ านสุขภาพ รวมไปถึงกลุม่ ช่วยเหลือตนเองในชุมชน รายละเอียดงานของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม:  การให้ คาปรึ กษาและการให้ บริ การแบบการเข้ าถึงกลุ่ม เป้าหมายจากกิจ กรรมภายในองค์กร หรื อ in-reach ที่โรงพยาบาลและคลินิกหรื อองค์กรท้ องถิ่น  ให้ บริการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล แก่ผ้ รู ับบริการ จ า น ว น 20 ค น ร ว ม ถึ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ รั บ ค น ไ ข้ เ ข้ า โ ค ร ง ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า พาผู้ รั บ บริ การไปรั บ การตรวจและรั ก ษาที่ โ รงพยาบาลและคลิ นิ ก ท าการนั ด หมายอื่ น ๆ ช่วยดูแลแก้ ไขปั ญหา จนถึงการส่งต่อคนไข้ ตามความจาเป็ น .  บันทึกข้ อมูลการให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริ การ และเก็บข้ อมูลสถิตกิ ารให้ บริการต่างๆ  เข้ าร่วมการประชุมเพื่อการวางแผนการให้ บริการคนไข้ และการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง รวมไปถึงการประชุมอื่น ๆ ตามที่ได้ รับมอบหมาย  เข้ ารับการฝึ กอบรมเกี่ยวกับการให้ บริการทางการแพทย์ และการดูแล สนับสนุนคนไข้ ตามที่ได้ รับมอบหมาย รายละเอียดงานเพิ่มเติมดูได้ จากภาคผนวก (อ่านเพิ่มเติม)

6. สิทธิและความรั บผิดชอบของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร ข อ ง โ ค ร ง ก า ร การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล มีทงสิ ั ้ ทธิที่ได้ รับและภาระความ รั บ ผิ ด ชอบ ในการปฐมนิ เ ทศเจ้ า หน้ า ที่ แ ละอาสาสมัค ร จะขอให้ อ่า นข้ อ นี อ้ อกเสี ย งดัง ๆ ให้ ทุก คนได้ ยิ น และจะร่วมกันหารื อเพื่อปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม สิทธิของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร องค์กรมุง่ มัน่ ที่จะ:  รักษาความเป็ นส่วนตัวและความลับของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ ประเด็นอ่อนไหว หรื อข้ อมูลส่วนบุคคล 34


 ให้ คณ ุ ค่า เคารพสิทธิของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร และปฏิบตั ติ อ่ ทุกคนด้ วยความเท่าเทียม  จัดให้ มีการปฐมนิเทศแก่เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครทุกคนในโครงการ  จั ด ใ ห้ มี ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ท า ง า น ที่ ดี ให้ ก ารสนับ สนุน และก ากับ ดูแ ลเจ้ า หน้ า ที่ แ ละอาสาสมัค รทุก คนเป็ นรายบุค คลอย่า งสม่ า เสมอ มีการประชุมทีม และการประชุมเพื่อหารื อการให้ บริการแก่ผ้ รู ับบริ การ  แจ้ งเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครเกี่ยวกับความคืบหน้ าและสิ่งที่เกิดขึ ้นภายในโครงการอย่างตรงไปตรงมา  ให้ ความช่วยเหลือในการวางแผนและการประเมินผลการดาเนินงาน  จ ะ มี ค ว า ม ชั ด เ จ น เ กี่ ย ว กั บ บ ท บ า ท ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร โดยการเขียนออกมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร  จั ด ใ ห้ มี ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ท า ง า น ที่ ดี ป ล อ ด ภั ย ป ร า ศ จ า ก ก า ร ถู ก ข่ ม ขู่ การถูกกลัน่ แกล้ งหรื อการเลือกปฏิบตั ิ  ให้ การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนหรื อให้ ความสาคัญต่อข้ อร้ องเรี ยนของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร  แจ้ งเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครอย่างชัดเจน ตรงไปตรงมาเมื่อมีความกังวลใจเกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ซึง่ ทุกคนมีสิทธิที่จะชี ้แจงข้ อเท็จจริงที่เกิดขึ ้น ความรับผิดชอบ เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครมีความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี ้     

สาหรับอาสาสมัคร จะต้ องทางานภายใต้ โครงการขันต ้ ่า 6 เดือน เข้ าร่วมการประเมินงาน และการประชุมเพื่อวางแผนการทางาน ปฏิบตั ิตามกฎจรรยาบรรณ การรักษาความลับและข้ อตกลงการปฏิบตั งิ าน รายงานความคืบหน้ าของผู้รับบริการให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมและผู้ประสานงานทราบอย่างสม่าเสมอ ปฏิบตั ิตนให้ เป็ นที่น่าเชื่อถือ ซื่อสัตย์ และมีน ้าใจในการให้ บริการแก่ผ้ รู ับบริการ เพื่อนและครอบครัวของพวกเขา รวมไปถึงทีมบุคลากรทางการแพทย์ เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครของโครงการนี ้

 หากมีการเปลี่ยนแปลงที่อยู่หรื อหมายเลขโทรศัพท์ กรุณาแจ้ งเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมหรื อผู้ประสานงาน  ตรงต่อเวลา โดยเฉพาะเมื่อมีการแบ่งกะการทางาน 35


 ให้ บริการตามคาแนะนาที่ระบุไว้ ในแนวทางมาตรฐานการดาเนินการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแ ลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล

7. จรรยาบรรณในการปฏิบัตงิ านสาหรั บเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร “การประสานความร่ วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ เป็ นรายบุคคล” ได้ ให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริ การ ตั ้ ง แ ต่ ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ดู แ ล ซึ่ ง เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ข อ ง ค น ไ ข้ เราจึ ง ต้ องยึ ด หลั ก จริ ย ธรรมในการปฏิ บั ติ ง าน โดยเฉพาะเรื่ อ งก ารรั ก ษาความลั บ ของผู้ รั บ บริ ก าร เพื่อให้ แน่ใจว่าบริการของเราจะไม่ทาร้ ายผู้รับบริการ จ ร ร ย า บ ร ร ณ เ ป็ น สิ่ ง ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น อ ย่ า ง มื อ อ า ชี พ เ พ ร า ะ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ภ า คี จ ะ รู้ สึ ก ไ ว้ ว า ง ใ จ ใ น บ ริ ก า ร ข อ ง เ ร า มั น แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์ แ ล ะ ค ว า ม เ ค า ร พ ต่ อ ง า น ที่ เ ร า ท า แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น โ ด ย ยึ ด ห ลั ก จ ริ ย ธ ร ร ม จ ะ ช่ ว ย รั ก ษ า ชื่ อ เ สี ย ง ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ส่งผลดีตอ่ การประสานขอความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นหรื อการส่งต่อคนไข้

36


จรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ านสาหรับเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ครอบคลุมถึงพฤติกรรมเหล่านี ้ คือ:     

ห้ ามมีเพศสัมพันธ์กบั ผู้รับบริ การ ไม่วา่ จะอยูภ่ ายใต้ สถานการณ์ใดๆ ไม่นินทาผู้รับบริการในระหว่างหรื อหลังการให้ บริ การ ห้ ามใช้ สารเสพติดทุกชนิดกับผู้รับบริการ ไม่วา่ จะอยูภ่ ายใต้ สถานการณ์ใด ๆ ห้ ามยืมเงิน ห้ ามให้ ยืมเงิน และห้ ามมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับธุรกรรมทางการเงินใดๆ กับผู้รับบริการ การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมที่ผิดกฎหมายใด ๆ ในระหว่างการให้ บริ การหรื อหลังจากการให้ บริการแก่ผ้ รู ับบริการ

หากเจ้ าหน้ าที่ ห รื ออาสาสมั ค รมี ส่ ว นร่ วมหรื อประพฤติ ต นขั ด ต่ อ หลั ก จริ ยธรรมของโครง การ มี ผ ลให้ เ ลิ ก จ้ า งในทุก กรณี และนี่ คื อ วิ ธี ก ารที่ ส าคัญ เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า โครงการของเรามี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ สามารถไว้ วางใจในเจ้ าหน้ าที่ของเราได้ สิ่งนี ้จะช่วยรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกบั องค์กรภาคีตา่ งๆ ก่ อ น ก า ร เ ริ่ ม ง า น เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร จ ะ ผ่ า น ก า ร ป ฐ ม นิ เ ท ศ เ จ้ า ห น้ า ที่ ใ ห ม่ และทุ ก คนจะได้ รั บ ทราบเกี่ ย วกั บ จรรยาบรรณในการปฏิ บัติ ง านส าหรั บ เจ้ าหน้ าที่ แ ละอาสาสมั ค ร การรักษาความลับและข้ อตกลงปฏิบตั ิงานสาหรับเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ในตอนท้ ายของการอ่านเอกสาร ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น ค ว ร เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ มี ก า ร ส อ บ ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ห รื อ ค ว า ม กั ง ว ล ใ จ ในตอนท้ ายของกระบวนการนี ้เจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัครจะต้ องลงชื่อรับรู้รายละเอียดในเอกสาร:  จรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ านสาหรับเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร (อ่านเพิ่มเติม)  ข้ อตกลงเกี่ยวกับการรักษาความลับและการปฏิบตั งิ าน (อ่านเพิ่มเติม)

8. การกากับดูแล การช่ วยเหลือและการประชุมเพื่อปรึกษาปั ญหาเป็ นรายกรณี ก า ร ก า กั บ ดู แ ล ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น อ ง ค์ ก ร เ จ้ า ภ า พ / อ ง ค์ ก ร ท้ อ ง ถิ่ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ ว า ง แ ผ น ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ เป็ นพืน้ ฐานของการสร้ างสภาพแวดล้ อมภายในที่สนับสนุนการให้ บริ การที่มีคุณภาพสูงแก่ผ้ ูอยู่ร่วมกับเชื ้อ การกากับดูแลอย่างสม่ าเสมอเพื่ อให้ แน่ใจว่าผู้ประสานงานจะได้ รับทราบความเคลื่ อนไหวของโครงการ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ท า ง า น ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม เราให้ การสนับสนุนองค์กรเจ้ าภาพอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ แน่ใจว่าองค์กรเหล่านันได้ ้ ปฏิบตั ิภารกิจครบถ้ วน เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมและอาสาสมัครสามารถทางานได้ ตามเป้าหมายที่วางไว้ ที่เป็ นการประชุมเพื่อวางแผนช่วยเ หลื อ ผู้ รั บ บริ ก ารอย่ า งสม่ า เสมอ จะช่ ว ยให้ ทราบว่ า ผู้ รั บ บริ ก ารแต่ ล ะรายได้ รั บ บริ ก ารที่ เ หมาะสม 37


ในช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสม และเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ มแต่ ล ะคนจะใช้ ช่ ว งเวลานี ใ้ นการแบ่ ง ปั นข้ อมู ล ความรู้และประสบการณ์ของพวกเขากับคนอื่น ๆ 8.1 การประชุมหารื อและกากับดูแลเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร ผู้ ประสานงานจะจั ด การประชุ ม หารื อและก ากั บ ดู แ ลเจ้ าหน้ าที่ แ ละอาสาสมั ค รแต่ ล ะคนในแผนก เ พื่ อ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ แ ต่ ล ะ ค น ไ ด้ พู ด แ ล ะ ห า รื อ เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ท า ง า น ค ว า ม ส า เ ร็ จ แ ล ะ ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ที่ พ บ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ค ว ร มี ก า ร พู ด คุ ย กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ทุ ก ส อ ง สั ป ด ห์ ใ ช้ ร ะ ย ะ เ ว ล า 30 น า ที ถึ ง 1 ชั่ ว โ ม ง ขึ ้นอยูก่ บั ประเด็นที่ต้องการจะหารื อหรื อลักษณะความช่วยเหลือที่เจ้ าหน้ าที่ต้องการ การประชุมหารื อควรให้ เวลาเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ ทาดังนี ้:  พูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์การให้ บริการที่ผา่ นมาของพวกเขา  พูดคุยเกี่ยวกับปั ญหาอุปสรรคในการทางานและร่วมกันหาทางแก้ ปัญหา  หากเป็ นไปได้ พูดคุยเกี่ยวกับความรู้สกึ ส่วนตัว เกี่ยวกับความช่วยเหลือ การสนับสนุนที่ได้ รับจากหัวหน้ าทีม/ผู้ประสานงาน 8.2 การสนับสนุนการทางานของเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร อ า ก า ร ห ม ด ไ ฟ ใ น ก า ร ท า ง า น เ ป็ น สิ่ ง สิ่ ง ที่ พ บ บ่ อ ย ใ น ห มู่ ค น ท า ง า น สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ เพราะรูปแบบการให้ บริการเป็ นสิ่งที่ซ ้าซาก เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจะเริ่มรู้สกึ เหนื่อยหน่ายกับการทางานให้ บริ การ โดยสัง เกตอาการได้ เช่น หงุดหงิ ดง่ าย เศร้ า ทางานช้ าลง เฉื่ อยชา ไม่มี สมาธิ ทางาน ส่ง มอบงานไม่ทัน ซึ่ ง ส า เ ห ตุ ที่ ท า ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห ม ด ไ ฟ ใ น ก า ร ท า ง า น เ กิ ด ไ ด้ จ า ก ห ล า ย ส า เ ห ตุ แต่สภาพแวดล้ อมในที่ทางานเป็ นปั จจัยหลักที่ชว่ ยให้ เจ้ าหน้ าที่สามารถจัดการกับตนเองได้ ดีขึ ้น การสนับสนุนทางอารมณ์หรื อการให้ กาลังใจแก่เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมเป็ นวิธีการที่สาคัญที่สดุ ที่จะช่วยลดหรื อชะ ลอปั ญหาเจ้ าหน้ าที่ ห มดไฟในการท า งาน องค์ ก รที่ ใ ห้ การสนั บ สนุ น ทางอารมณ์ แ ก่ เ จ้ าหน้ าที่ จะสามารถลดค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพเจ้ าหน้ าที่ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ หารจั ด การ แ ล ะ ช่ ว ย ใ ห้ ฝ่ า ย บุ ค ค ล ไ ม่ ต้ อ ง เ สี ย ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล ที่ มี ศั ก ย ภ า พ อ ง ค์ ก ร ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง ร า บ รื่ น ไ ม่ ส ะ ดุ ด ดังนันการจั ้ ดให้ มีนักจิตวิทยาหรื อที่ปรึ กษาจากภายนอกเข้ ามาให้ คาปรึ กษาแก่เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มทุกเดือน จะช่วยลดหรื อชะลอปั ญหาดังกล่าวไปได้ 38


นั ก จิ ต วิ ท ยาหรื อ ที่ ป รึ ก ษาควรจะเป็ นบุ ค คลที่ ไ ม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ ดๆ กั บ เจ้ าหน้ าที่ ภ ายใต้ โครงการ และเป็ นบุคคลที่ไม่มีความใกล้ ชิดกับงานที่ทา ไม่มีสว่ นได้ สว่ นเสียใดๆ กับโครงการ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ค่ อ ย ๆ ก่ อ ตั ว ขึ ้น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร พู ด คุ ย ห า รื อ กั น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม รู้ สึ ก ส่ ว น ตั ว และการตอบสนองต่อการให้ คาปรึกษานันๆ ้ ของแต่ละคน การให้ คาปรึกษาสามารถทาเป็ นกลุ่มหรื อเดี่ยวก็ได้ แต่จะให้ ได้ ผลดีควรเป็ นการให้ คาปรึกษาแบบรายบุคคล ซึง่ เป็ นกลไกหลักของการสนับสนุนทางด้ านอารมณ์ ก า ร ใ ช้ บุ ค ค ล ภ า ย น อ ก ม า ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ จั ด กิ จ ก ร ร ม ส นั บ ส นุ น ท า ง ด้ า น อ า ร ม ณ์ ก็เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจว่าจะไม่มีผลกระทบเชิงลบต่อเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมในการแสดงความคิดเห็นหรื อความรู้ สึ ก ส่ ว น ตั ว ซึ่งผู้ประสานงานหรื อองค์กรเจ้ าภาพไม่ควรขอรายละเอียดการพูดคุยจากนักจิตวิทยาหรื อผู้ให้ คาปรึกษาจากภ ายนอก อย่างไรก็ ในบางสถานการณ์ก็จาเป็ นต้ องขอรายงาน หากเกี่ยวข้ องกับประเด็นเหล่านี ้  ก า ร ท า ผิ ด ห รื อ ขั ด ต่ อ จ ริ ย ธ ร ร ม ใ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร หรื อข้ อตกลงเกี่ยวกับการรักษาความลับและการปฏิบตั งิ าน  เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มหยิบยกประเด็นปั ญหาที่แสดงให้ เห็นว่าผู้รับบริ การกาลังตกอยู่ในอันตราย เช่น ผู้รับบริการเป็ นภัยคุกคามต่อตนเองหรื อผู้อื่นรวมไปถึงเด็กและครอบครัว 8.3 การประชุมเพื่อปรึกษาปั ญหาเป็ นรายกรณี ค ว ร มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ ป รึ ก ษ า ปั ญ ห า เ ป็ น ร า ย ก ร ณี ค ว ร ทุ ก 1-2 สั ป ด า ห์ โ ด ย มี เ ป้ า ห ม า ย เ พื่ อ ใ ห้ แ น่ ใ จ ว่ า ผู้ รั บ บ ริ ก า ร จ ะ ไ ม่ สู ญ ห า ย ร ะ ห ว่ า ง ก า ร รั บ ก า ร รั ก ษ า และได้ รั บ การติ ด ตามดูแ ลที่ ดี จ ากเจ้ า หน้ าที่ ห นุ น เสริ ม ทุ ก คนในแผนกหนุ น เสริ ม ต้ อ งเข้ าร่ ว มประชุม และนาประชุมโดยผู้ประสานงานคาแนะนาพื ้นฐานเกี่ยวกับการประชุมเพื่อปรึกษาปั ญหาเป็ นรายกรณี มีดงั นี :้  แฟ้มคนไข้ ทงหมดจะถู ั้ กนาไปในห้ องประชุม  แฟ้มคนไข้ ทงหมดจะถู ั้ กเปิ ด อ่านและใช้ หารื อกันในห้ องประชุม  ผู้ ประสานงานควรประเมิ น การจดบั น ทึ ก ในแฟ้ มคนไข้ ว่ า เป็ นไปตามมาตรฐานหรื อไม่ – ค ว ร บั น ทึ ก เ นื ้ อ ห า ใ ห้ ล ะ เ อี ย ด ครอบคลุมและสามารถเข้ าใจได้ ถกู ต้ องว่าได้ ให้ บริการอะไรแก่ผ้ รู ับบริ การไปบ้ าง 39


 โปรดจาไว้ วา่ บันทึกในแฟ้มคนไข้ เป็ นหนทางเดียวที่จะรู้ว่าเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ ให้ บริ การอะไรไปบ้ าง บริ การเหล่ า นั น้ มี คุ ณ ภาพหรื อไ ม่ หากจดบั น ทึ ก ไ ม่ ล ะเอี ยด ไ ม่ มี ความสอดคล้ องกั น นัน่ ย่อมหมายความว่าเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมไม่ได้ ให้ บริ การที่ดีแก่ผ้ ูรับบริการ  ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ว่ า ค ว ร จ ะ ท า อ ย่ า ง ไ ร ต่ อ ไ ป ส า ห รั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ต่ ล ะ ร า ย เจ้ าหน้ าที่จาเป็ นต้ องบันทึกข้ อมูลเหล่านันลงไปในแฟ ้ ้ มคนไข้ ด้วย  ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ที่ จ ะ ยุ ติ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ต่ ล ะ ร า ย จะทาในการประชุมโดยมีทีมงานทังหมดเข้ ้ าร่วมประชุม นาแฟ้มคนไข้ ทงหมดเข้ ั้ าไปในห้ องประชุม

ร่วมหารื อเกี่ยวกับผู้รับบริ การทุกราย การจดบันทึกแบบวิเคราะห์ข้อมูล การเฝ้าติดตาม และการตัดสินใจเพื่อวางแผนการให้ บริการต่อเนื่อง

9. การบริหารจัดการเพื่อการเข้ าถึงผู้รับบริการรายใหม่ ให้ ได้ ตามเป้าหมายที่วางไว้ สิ่งที่ท้าทายสาหรับองค์กรชุมชนและโครงการของพวกเขาก็คือจะทาอย่างไรให้ แน่ใจได้ ว่าเจ้ าหน้ าที่ของเขาจะ ท า ง า น โ ด ย มุ่ ง เ น้ น ไ ป ที่ ผ ล ง า น เนื อ้ หาส่ ว นนี จ้ ะให้ ค าแนะน าเกี่ ย วกั บ การตัง้ เป้ าหมายและกลยุ ท ธ์ ก ารสร้ างแรงจู ง ใจให้ แก่ ที ม งาน การตัง้ เป้ าหมายส าหรั บ เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม จะขึ น้ อยู่ ว่ า โครงการจะได้ รั บ เงิ น สนั บ สนุ น จากที่ ไ หน และเป้าหมายจะถูกกาหนดไว้ ในสัญญารับทุน หรื อสัญญาการให้ บริการ

40


9.1 เป้าหมายของทีม การตังเป ้ ้ าหมายช่วยให้ สมาชิกในทีมมุ่งมัน่ ในการหาวิธีการเข้ าถึงผู้รับบริ การรายใหม่และทาให้ ได้ จานวนผู้รับ บ ริ ก า ร ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ น สั ญ ญ า การตัง้ เป้ าหมายช่ ว ยให้ องค์ ก รเจ้ าภาพประเมิ น ผลการด าเนิ น งานว่ า เป็ นไปตามที่ ค าดหวัง ไว้ ห รื อ ไม่ และยังช่วยให้ ประเมินได้ วา่ มีวิธีการใดที่จะช่วยให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมสามารถดาเนินงานให้ บรรลุผลตามที่คาด หวังไว้ ผลสาเร็ จตามเป้าหมายช่วยส่งเสริ มความเชื่อมัน่ แก่ องค์กรพันธมิตร แหล่งทุนและหน่วยงานภาครัฐ ก า ร น า เ ส น อ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ช่ ว ย ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ สึ ก ข อ ง ผู้ ช น ะ ที่ ท า ง า น ส า เ ร็ จ ให้ แก่เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร รวมไปถึงองค์กรภาคีที่ทางานร่วมกับคุณ เ ร า ส า ม า ร ถ ติ ด โ ป ส เ ต อ ร์ ต า ม ตั ว อ ย่ า ง ด้ า น ล่ า ง ไ ว้ บ น ผ นั ง ภ า ย ใ น ส า นั ก ง า น เพื่ อช่วยยา้ ให้ ทุก คนจ าได้ ว่ามี เ ป้าหมายอะไร การประชุม ที ม ทุก ครั ง้ ควรเน้ น ยา้ ถึง การตัง้ เป้ าหมาย เช่น ในแผนภาพนี ้ ทีมมีเป้าหมายที่จะได้ ผ้ รู ับบริการรายใหม่ 20 คนต่อเดือนระหว่างเดือนมกราคมและมีนาคม

เป้าหมายผู้รับบริการรายใหม่ ม.ค.-มี.ค. 60

40

20

Jan

Feb

Mar

9.2 เป้าหมายของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมเป็ นรายบุคคล ห ลั ง จ า ก ก า ร ตั ้ ง เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ที ม ก็มาถึงการตังเป ้ ้ าหมายของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มแต่ละคนว่าจะต้ องเข้ าถึงและดูแลผู้รับบริ การรายใหม่กี่คนต่อเ ดื อ น ขึ น้ อยู่ กั บ การตกลงร่ วมกั น ในที ม ซึ่ ง จะต้ องค านึ ง ถึ ง จ านวนผู้ รั บ บริ การที่ มี อ ยู่ ใ นมื อ ด้ วย 41


เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ต้ อ ง ท า ก า ร ค้ น ห า ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื อ้ ร า ย ใ ห ม่ ผ่ า น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ “ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย จ า ก กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ห รื อ In-reach” พ ร้ อ ม กั บ ใ ห้ บ ริ ก า ร “ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ” ใ น แผนภาพด้ านล่างมีเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มจานวน 4 คนรับผิดชอบค้ นหาผู้ติดเชื ้อรายใหม่จานวน 20 คนต่อเดือน เ ท่ า กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม แ ต่ ล ะ ค น ต้ อ ง ห า ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ร า ย ใ ห ม่ 5 ค น ต่ อ เ ดื อ น สามารถติ ด แผนภาพนี บ้ นผนั ง ส านั ก งานและติ ด ตามความคื บ หน้ าในการประชุ ม ที ม ทุ ก สั ป ดาห์ ทังนี ้ ้การตังเป ้ ้ าหมายของทีมอาจมีการเปลี่ยนแปลงให้ เ หมาะสมกับสถานการณ์จริ งและจานวนผู้ติดเชื ้อรายให ม่ที่พ บในพื น้ ที่ วิธี การทางานเช่น การให้ บริ การแบบ การเข้ าถึง กลุ่ม เป้าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์กร หรื อ In-reach และการค้ นหาด้ วยวิ ธี การอื่ น ล้ วนเข้ าถึ ง ผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ รายใหม่ ไ ด้ แตกต่ า ง กั น ซึ่ ง จะสะท้ อนให้ เห็ น ถึ ง การเพิ่ ม ขึ น้ หรื อลดลงของจ านวนผู้ รั บ บริ ก ารรายใหม่ ต ามสถานการณ์ จ ริ ง ก า ร ป ร ะ ชุ ม ที ม เ พื่ อ ว า ง เ ป้ า ห ม า ย จะช่ว ยสร้ างขวัญ และก าลัง ใจแก่ เ จ้ า หน้ า ที่ ใ นที ม และท าให้ ทุก คนรู้ สึก ภาคภูมิ ใ จในความส าเร็ จ ร่ ว มกัน และยังสามารถวางแผนกิจกรรมพิเศษเพื่อกระตุ้นยอดผู้รับบริการให้ ได้ ตามเป้าหมายของแต่ละเดือน

เป้าหมายรายบุคคล เดือนมกราคม Actual reached 2

Jane Paul

Target

5 1 5 4

John Mary

5 3 5

9.3 แรงจูงใจ (ค่ าตอบแทนพิเศษ) ของทีม บางองค์ ก รใช้ ก ลยุท ธ์ แ รงจูง ใจ (ค่า ตอบแทนพิ เ ศษ) ในการกระตุ้น การท างานของเจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ร า ย ใ ห ม่ แ ล ะ มุ่ ง เ น้ น ที่ ผ ล ง า น การเลื อ กประเภทของสิ่ ง ตอบแทนเพื่ อ เป็ นแรงจู ง ใจนัน้ ควรจะวางแผนร่ ว มกั บ เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม 42


เ พื่ อ จ ะ ไ ด้ อ อ ก แ บ บ สิ่ ง ต อ บ แ ท น นั ้ น ๆ ใ ห้ ถู ก ใ จ เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ ห า ก เ ป็ น สิ่ ง ที่ พ ว ก เ ข า ต้ อ ง ก า ร ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ข อ ง พ ว ก เ ข า อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง ก็จะยิ่งช่วยให้ พวกเขามีกาลังใจในทางานมากขึ ้น ตัวอย่างประเภทของสิ่งตอบแทนเพื่อเป็ นแรงจูงใจ ได้ แก่:  ของที่มีขนาดเล็ก  บัตรกานัล/คูปองเงินสดของห้ างสรรพสินค้ า  บัตรเติมเงินโทรศัพท์ ใ น บ า ง ก ร ณี เ งิ น เ ดื อ น แ ล ะ เ งิ น โ บ นั ส ก็ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ท า ง า น แ ล ะ ช่ ว ย เ พิ่ ม ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ใ ห้ บ ร ร ลุ ผ ล ต า ม ที่ ต ก ล ง กั น ไ ว้ ใ น บ า ง อ ง ค์ ก ร ก็ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ร ง จู ง ใ จ ใ น ก า ร ท า ง า น แต่พวกเขาพยายามที่จะกระตุ้นให้ เจ้ าหน้ าที่ทางานผ่านการประชุมหารื อร่วมกัน กลยุทธ์ ที่ได้ ระบุไว้ ข้างต้ นเป็ นเพียงแนวทางเพื่อการตังเป ้ ้ าหมายของทีมและเจ้ าหน้ าที่แต่ละคน การประชุม หรื อสื่อต่างๆ สามารถนามาใช้ เพื่อกระตุ้นเจ้ าหน้ าที่ได้ เช่นกัน

43


ส่ วนที่ 3: การให้ บริการ

44


ส่ วนที่ 3: การให้ บริการ อ ง ค์ ก ร เ จ้ า ภ า พ ห รื อ อ ง ค์ ก ร ท้ อ ง ถิ่ น อ า จ มี กิ จ ก ร ร ม ห รื อ ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ บ บ “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล” อยูก่ ่อนแล้ ว ”คูม่ ือการประสา น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” ฉบับ นี จ้ ะรวบรวมข้ อ มูล และรายการทรั พ ยากรที่ จ าเป็ นในการให้ บ ริ ก ารเฉพาะส าหรั บ ผู้อ ยู่ร่ ว มกั บ เชื อ้ “ เ ส้ น ท า ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ทั ้ง 4 ขั ้น ต อ น ” จ ะ ช่ ว ย อ ธิ บ า ย ว่ า ใ ห้ เ ห็ น ภ า พ ว่ า ก ร ะ บ ว น ก า ร 4 ขันตอนนั ้ นมี ้ รูปแบบการทางานที่จาเป็ นสาหรับแต่ละขันตอนและมี ้ กิจกรรมที่จาเป็ นในในแต่ละขันตอนอย่ ้ างไร บ้ าง เนื ้อหาในส่วนนี ้ ประกอบด้ วย:  คาอธิบายเกี่ยวกับเส้ นทางการให้ บริ การแก่ผ้ ูรับบริการ  แบบฟอร์ ม เอกสารบันทึกข้ อมูลและนโยบายการให้ บริ การ  คาแนะนาเกี่ยวกับข้ อกาหนดของการให้ ความช่วยเหลือแก่ผ้ รู ับบริการอย่างต่อเนื่อง

10. เส้ นทางการให้ บริการแก่ ผ้ ูรับบริการ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ภ า ย ใ ต้ “การประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล ” ในแต่ ล ะขั น้ ตอน เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม ต้ อ งใช้ แ บบฟอร์ ม เอกสารและให้ บ ริ ก ารย้ า ยสิ ท ธิ ดูแ ลรั ก ษาต่า งๆ แก่ ผ้ ูรั บ บริ ก าร ในขันตอนสุ ้ ดท้ ายเมื่อผู้รับบริ การออกจากโครงการ จะยังมีการเฝ้าติดตามอย่างต่อเนื่องผ่านทางระบบออนไลน์ เ พื่ อ ใ ห้ มั่ น ใ จ ว่ า ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ กิ น ย า ต้ า น ส ม่ า เ ส ม อ แ ล ะ ดู แ ล สุ ข ภ า พ ไ ด้ ดี เ มื่ อ เ กิ ด ค า ถ า ม ห รื อ ข้ อ กั ง ว ล ใ จ ก็ ส า ม า ร ถ ส อ บ ถ า ม กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ไ ด้ ทั น ที ภาพด้ านล่างแสดงให้ เห็นถึงกระบวนการให้ บริการทัง้ 4 ขันตอน ้ ดังนี ้

45


ขันตอนที ้ ่

การติดต่อกันครัง้ แรก ขันที ้ ่

ขันตอนที ้ ่ การทบทวนและประเมินผลการให้ บริการ

ให้ บริการแก่ผ้ รู ับบริ การ

ขันตอนที ้ ่ - ผู้รับบริการออกจากโครงการ

การดูแลอย่างต่อเนื่อง

10.1 คาอธิบายเกี่ยวกับเส้ นทางการให้ บริการแก่ ผ้ ูรับบริ การทัง้ 4 ขัน้ ตอน ขั ้น ตอนที่ 1: การติ ด ต่ อ กั น ครั ง้ แรก อาจได้ พ บกั บ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ ที่ ค ลิ นิ ก ตรวจเลื อ ด (VCT Clinic) ห รื อ ใ น ห น่ ว ย ง า น ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร ต ร ว จ เ ลื อ ด เ มื่ อ มี ใ ค ร ไ ป รั บ บ ริ ก า ร ต ร ว จ ห า เ อ ช ไ อ วี และอาจได้ พบกันที่คลินิกหรื อโรงพยาบาลที่คนไปตรวจเลือดหรื อผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อไปรับยาต้ านและการรักษา นอกจากนันยั ้ งรวมไปถึงการส่งตัวคนไข้ จากองค์กรเจ้ าภาพหรื อองค์กรท้ องถิ่นที่ทางานร่วมกันในพื ้นที่ทางาน ใ น ขั ้น ต อ น แ ร ก เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ท า ห น้ า ที่ รั บ ฟั ง เ รื่ อ ง ร า ว ปั ญ ห า จ า ก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ก่อนที่จะจบการพูดคุยกันในครัง้ แรกเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมต้ องสอบถามผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อว่าอยากเข้ าร่วมโครงการเ พื่อให้ เราดูแลหรื อไม่ หากเขาตกลงเข้ าร่วมโครงการเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มจะให้ ผ้ รู ับบริ การอ่านรายละเอียดต่างๆ ใ น เ อ ก ส า ร จ น เ ข้ า ใ จ ดี แ ล้ ว จึ ง ใ ห้ เ ซ็ น เ อ ก ส า ร ยิ น ย อ ม เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร (ดูตัว อย่ า งเอกสารยิ น ยอมเข้ า ร่ ว มโครงการ) ข้ อ มูล จากการพูด คุย กับ คนไข้ ทัง้ หมดจะถูก บัน ทึ ก ลงใน แบบฟอร์ มข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับบริการ ขัน้ ตอนที่ 2: ให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริ การอย่างต่อเนื่องมักจะใช้ เวลา 3 ถึง 6 เดือน - ส่วนใหญ่ให้ บริ การประมาณ 12 สั ป ด า ห์ โ ด ย ใ ห้ บ ริ ก า ร นั ด ห ม า ย เ พื่ อ พ บ แ พ ท ย์ ย้ า ย สิ ท ธิ ก า ร รั ก ษ า รั บ ค น ไ ข้ ไ ป รั บ ก า ร รั ก ษ า ต า ม ส ถ า น พ ย า บ า ล ที่ ค น ไ ข้ มี สิ ท ธิ ก า ร รั ก ษ า ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ร่ ว มกั น วางแผนแนวทางการรั ก ษา ซึ่ ง อาจรวมไปถึ ง ประเด็ น อื่ น ๆ เกี่ ย วกั บ การใช้ ชี วิ ต ประจ าวั น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ต่ า ง ๆ จ ะ ตั ้ ง อ ยู่ บ น พื ้ น ฐ า น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ต่ ล ะ ค น 46


โ ด ย จ ะ มี ก า ร ร ว บ ร ว ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ป ร ะ วั ติ ก า ร รั ก ษ า ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เพื่อจะได้ ร่วมกันค้ นหาปั ญหาอุปสรรคในการใช้ ชีวิตประจาวันและวางแผนกิจกรรมหลักในการแก้ ไขปั ญหาเหล่ านั น้ ร่ ว มกั น ซึ่ ง รายละเอี ย ดทั ง้ หมดจะถู ก บั น ทึ ก ลงใน แบบฟอร์ มข้ อมู ล ส่ ว นตั ว ของผู้ รั บ บริ การ ใ น ขั ้ น ต อ น นี ้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม กั น ใ น ที ม ทุ ก 1-2 สั ป ด า ห์ เ พื่ อ น า เ ส น อ ป ร ะ เ ด็ น ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ที ล ะ ร า ย แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ดู แ ล เพื่อจะได้ รับการแนะนาและการสนับสนุนจากคนอื่น ๆ ในทีม ขัน้ ตอนที่ 3: การทบทวนและประเมินผลการให้ บริ การ นันรวมไปถึ ้ งการพูดคุยกับผู้รับบริ การในขันตอนที ้ ่2 ด้ ว ย ณ จุดนี ้เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ ช่วยดูแลผู้รับบริ การให้ ไปรับบริ การที่สถานพยาบาลตามการนัดหมายของแพทย์แล ะได้ ชว่ ยผู้รับบริการแต่ละรายในการแก้ ไขปั ญหาด้ านสุขภาพและสวัสดิการต่างๆ ดังนัน้ เป้าหมายของขันตอนที ้ ่ 3 นี ้จึงเป็ นการประเมินร่วมกับผู้รับบริ การแต่ละราย ว่าประเด็นปั ญหาหลักๆ ของเขาได้ รับการแก้ ไขแล้ วหรื อยัง เ ข า ไ ด้ รั บ บ ริ ก า ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง เ ข า แ ล้ ว และเขาสามารถที่จะอยู่ร่วมกับเอชไอวีได้ รวมถึงสามารถอยู่ร่วมกับสังคมหรื อชุมชนผู้อยู่ร่วมกับเชื ้ออื่นๆ ได้ หากผู้ รั บ บริ การรู้ สึ ก ว่ า ปั ญหาส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ การแก้ ไขและเ ขาสามารถอยู่ ไ ด้ ด้ วยตนเอง แล้ ว เ ร า ก็ ส า ม า ร ถ ยุ ติ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ร า ย นี ้ ไ ด้ แ ต่ ห า ก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ยั ง รู้ สึ ก ว่ า ปั ญ ห า เ ห ล่ า นั ้น ยั ง ค ง อ ยู่ ห รื อ มี ปั ญ ห า ใ ห ม่ ๆ เ กิ ด ขึ ้น ม า เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ ต้ อ ง น า ป ร ะ เ ด็ น ปั ญ ห า เ ห ล่ า นั ้ น ม า ห า รื อ ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ที ม เพื่อหาทางออกร่วมกันให้ แก่ผ้ รู ับบริการ ขั ้ น ต อ น ที่ 4: ผู้ รั บ บ ริ ก า ร อ อ ก จ า ก โ ค ร ง ก า ร มั ก จ ะ เ ป็ น ก า ร พ บ กั น ซึ่ ง ๆ หน้ า เพื่ อ กล่ า วค าล่ า ลาและเพื่ อ จบสัญ ญาการให้ บริ ก ารระหว่ า งเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม และผู้ รั บ บริ ก าร ใ น ขั ้ น ต อ น นี ้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ส า ม า ร ถ ใ ช้ สื่ อ อ อ น ไ ล น์ ใ น ก า ร ช่ ว ย นั ด ห ม า ย ไ ด้ เ พื่ อ ใ ห้ มั่ น ใ จ ไ ด้ ว่ า เ ร า จ ะ ส า ม า ร ถ ติ ด ต่ อ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ไ ด้ ทุ ก เ มื่ อ และยังสามารถเชื่อมผู้รับบริการของเรากับผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อคนอื่นๆ ได้

47


ก า ร ดู แ ล ส นั บ ส นุ น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เป็ นองค์ประกอบสาคัญของการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ใน การให้ บริ การต่อเนื่องนี ้จะใช้ งบประมาณและเวลาในการดูแลน้ อยลง ซึ่งส่วนใหญ่จะทาผ่านสื่อออนไลน์ เช่น เ ฟ ส บุ๊ ค (Facebook) ไ ล น์ (Line) ห้ อ ง แ ช็ ต (Chat room) ห รื อ ผ่ า น ร ะ บ บ ข อ ง แ ต่ ล ะ อ ง ค์ ก ร เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ค ว ร มี ก า ร ตั ้ ง ก ลุ่ ม เ ฉ พ า ะ แ ย ก จ า ก ก ลุ่ ม เ พื่ อ น ห รื อ ค ร อ บ ค รั ว ส่ ว น ก ลุ่ ม ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร นี ้ มี เ ป้ า ห ม า ย เ พื่ อ ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ ท่ า นั ้ น ก า ร ดู แ ล ต่ อ เ นื่ อ ง ช่ ว ย ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ยั ง ส า ม า ร ถ ติ ด ต่ อ กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ซึง่ รวมไปถึงเบอร์ โทรศัพท์สว่ นตัวที่สามารถโทรหาได้ ในกรณีฉกุ เฉิน

48


10.2 ระบบ 4 ขัน้ ตอน – แบบฟอร์ ม การดาเนินงาน และผลลัพธ์ ตารางด้ านล่างจะแสดงให้ เห็นถึงวิธีที่รวดเร็วและสะดวกในการทาความเข้ าใจแบบฟอร์ มที่จาเป็ นและวิธีการดา เนินงานเพื่อให้ แล้ วเสร็จในแต่ละขันตอน ้ รวมถึงผลลัพธ์ที่ต้องการของทัง้ 4 ขันตอน ้ ขัน้ ตอนการให้ บ ริการ

แบบฟอร์ มและวิธีการดาเนินงา น

ผลลัพธ์

ขัน้ ตอนที่ 1: การติดต่ อกันครัง้ แ รก

1. ผู้รับบริ การเซ็นหนังสือยินยอมเข้ าร่ วมโครงการ พร้ อมกับรับทราบรายละเอียดเกี่ยว กับการเก็บบันทึกข้ อมูลของคนไข้ และการนาข้ อมูลดังกล่าวไปใช้ งาน 2. เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มสอบถามข้ อมูล ตามแบบฟอร์ มข้ อมูลส่วนตัวของผู้รั บบริ การ

1. ข้ อตกลงการรับบริ การของผู้รับบริ การ 2. ข้ อมูลการติดต่อกับเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มและอ งค์กร ในกรณีที่ผ้ รู ับบริ การอยูใ่ นภาวะอันตรายหรื อ ต้ องการความช่วยเหลือ 3. ข้ อมูลการติดต่อกับผู้รับบริ การ 4. แผนภาพแสดงประเด็นปั ญหาของผู้รับบริ กา ร 5. ข้ อตกลงที่จะได้ พบกันอีกครัง้ พร้ อมกับรายละเอียดของ วัน เวลา สถานที่นดั พบ

จากนัน้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจะให้ ส่ งิ เ หล่ านีแ้ ก่ ผ้ รู ับบริการ: 3. นามบัตรของคุณ 4. ชุดข้ อมูลสาหรับผู้รับบริ การ ขอให้ ผ้ รู ับบริการทา 5. แบบประเมินมาตราวัดความสามาร ถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อ ยูร่ ่วมกับเชื ้อ (Client Resilience Scale) ครัง้ ที่ 1

ขัน้ ที่ 2 – ให้ บริการแก่ ผ้ รู ับบ ริการอย่ างต่ อเนื่อง (ประมาณ 6-10 สัปดาห์ )

1. นัดหมายเพื่อพบแพทย์ รวมถึงการรับส่งในกรณีทจี่ าเป็ น 2. บันทึกการให้ บริการทุกครัง้ ไม่วา่ จะเป็ นการให้ คาปรึกษา หรื อการไปพบผู้รับบริ การ

1. ร่วมกันวางแผนจนได้ ข้อตกลงในการดาเนินก ารเพื่อแก้ ไขปั ญหาและพัฒนาคุณภาพชีวติ ข องผู้รับบริ การ 2. ขันตอนการด ้ าเนินงานของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มและผู้รับบริ การ 49


หรื อการย้ ายสิทธิ เดินเรื่ องเอกสารต่างๆ ของผู้รับบริ การ 3. ติดต่อสือ่ สารกับผู้รับบริ การอย่างส ม่าเสมอ

เพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้รับบริ การ และเพื่อช่วยให้ สถานการณ์ตา่ งๆ ดีขึ ้น 3. ประสานงานเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้รับบริ การกับหน่วยงานของคุณ และสถานพยาบาลที่ให้ บริ การ

ขัน้ ตอนที่ 3 – การทบทวนและป ระเมินผลการให้ บ ริการ

1. หารื อกับผู้รับบริ การ และขอให้ ผ้ รู ับบริ การทา ขอให้ ผ้ รู ับบริการทา 2. แบบประเมินมาตราวัดความสามาร ถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อ ยูร่ ่วมกับเชื ้อ (Client Resilience Scale) ครัง้ ที่ 2 3. แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับ บริ การ

1. เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างการทา ครัง้ ที่ 1 และ 2 2. ยื่นแบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริ การ ให้ แก่ผ้ ปู ระสานงานหรื อหัวหน้ าทีมโดยตรง 3. ตกลงร่วมกับผู้รับบริ การถึงการยุติการให้ บริ ก าร

ขัน้ ตอนที่ 4 : ผู้รับบริการออกจา กโครงการ หรือส่ งต่ อไปรับบริ การที่หน่ วยงานอื่น

1. ให้ แน่ใจว่าผู้รับบริ การมีความพร้ อม ที่จะยุตกิ ารรับบริ การจากเรา 2. ติดต่อกับผู้รับบริ การต่อเนื่องผ่านท างสือ่ ออนไลน์ หรื อประสานงานให้ เขาไปรับบริ การ ต่อจากหน่วยงานอื่น 3. ตรวจสอบให้ มนั่ ใจว่าผู้รับบริ การยัง คงได้ รับบริ การต่อเนื่องจากหน่วยงา นอื่น

1. ข้ อตกลงร่วมกันเพื่อยุตกิ ารรับบริการจากเรา 2. ผู้รับบริ การเข้ าถึงบริ การต่อเนื่อง ตามความเหมาะสมหรื อตามที่เขาต้ องการ 3. ติดต่อกับผู้รับบริ การต่อเนื่องผ่านทางสือ่ ออน ไลน์

4. ผู้รับบริการรู้วา่ จะติดต่อกับคุณได้ อย่างไร

11. คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้ แบบฟอร์ ม ข้ อมูลและนโยบาย ในส่วนนี ้ของคูม่ ือการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล จะให้ คาแนะ นาเกี่ยวกับการใช้ แบบฟอร์ ม ข้ อมูลและนโยบายที่เกี่ยวข้ องกับการให้ บริการทัง้ 4 ขันตอน ้ ดังนี ้:  แบบฟอร์ มข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับบริ การ - คาแนะนาการใช้ แบบฟอร์ ม (อ่านเพิ่มเติม)  หนังสือยินยอมเข้ าร่วมโครงการ– คาแนะนาเกี่ยวกับหนังสือยินยอมเข้ าร่วมโครงการและขันตอนด ้ าเนินงาน (อ่านเพิ่มเติม) 50


 มาตราวัดความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ– คาแนะนาเกี่ยวกับแบบทดสอบ (อ่านเพิ่มเติม)  ชุดข้ อมูลสาหรับผู้รับบริ การ– คาแนะนาเกี่ยวกับการให้ บริ การ และแบบฟอร์ มทัง้ 3 ประเภท (อ่านเพิ่มเติมแบบฟอร์ มที่ 1, แบบฟอร์ มที่ 2, แบบฟอร์ มที่ 3)  แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ– คาแนะนาการใช้ แบบฟอร์ ม (อ่านเพิ่มเติม) 11.1 แบบฟอร์ มข้ อมูลส่ วนตัวของผู้รับบริการ ส า ห รั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ร า ย ใ ห ม่ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร “การประสานความร่ วมมื อ เพื่ อ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล ” จ ะ ต้ อ ง บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ล ง ใ น “ แ บ บ ฟ อ ร์ ม ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ” โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ส่ ว น ข อ ง ก า ร ติ ด ต่ อ และเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม จะต้ องบั น ทึ ก รายละเอี ย ดการให้ บริ ก ารแก่ ผ้ ู รั บ บริ ก ารทุ ก ครั ง้ เพราะนี่เป็ นหนทางเดียวที่จะทาให้ ร้ ูว่าเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มได้ ให้ บริ การอะไรและมีประเด็ นไหนที่ได้ พู ด คุ ย กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ไ ป แ ล้ ว บ้ า ง ก า ร จ ด บั น ทึ ก มี ค ว า ม ส า คั ญ ม า ก เ พ ร า ะ ว่ า 1) บันทึกการทางานจะช่วยให้ ผ้ อู ื่นเข้ าใจว่าเกิดอะไรขึ ้นบ้ างระหว่างเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมและผู้รับบริ กา ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ไ ม่ ม า ห รื อ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ช่ ว ย เห ลื อ ใน ข ณ ะที่ เจ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เส ริ ม ติ ด ธุ ร ะ 2) บัน ทึก ดัง กล่า วจะช่ว ยให้ เ จ้ าหน้ า ที่ จ ารายละเอี ย ดส าคัญ เกี่ ย วกับ ผู้รับ บริ ก ารแต่ล ะรายได้ 3) บันทึกช่วยเก็บรายละเอียดสาคัญที่ต้องใส่ในรายงานเพื่อนาเสนอต่อแหล่งทุน หน่วยงานภาครัฐ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ภ า คี เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ท า ง า น ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ 4) การบัน ทึ ก จะเป็ นเพี ย งวิ ธี เ ดี ย วส าหรั บ องค์ ก รเจ้ า ภาพในการตรวจสอบว่ า ได้ ใ ห้ บริ ก ารที่ ดี มีคณ ุ ภาพแก่ผ้ รู ับบริการตามมาตรฐานการทางานอย่างมืออาชีพ ส่ ว น ที่ 1: เก็บรวบรวมข้ อมูลการติด ต่อของผู้รับบริ การแต่ละร าย

ชื่อผู้รับบริการ: ______________________ ลาดับที่: _________________ ที่อยู่: ________________________________________________________ เบอร์ โทรศัพท์มือถือ/บ้ าน: ________________ อีเมล์: ________________

51


ส่ ว น ที่ 2: เ ชื ้ อ ช า ติ อ า ยุ แ ล ะ เ พ ศ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ช่ ว ยให้ ที มง านประเมิ น และก าหนดจ านวนผู้ รั บบริ การที่ เป็ นหญิ ง หรื อชาย ก ลุ่ ม อ า ยุ แ ล ะ เ ชื ้ อ ช า ติ ซึง่ จะช่วยให้ ทีมงานสามารถประเมินหาจุดบกพร่องในการให้ บริ การหรื อช่องว่างในระบบข อ ง ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ก ร แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม เพื่อที่องค์กรเจ้ าภาพจะสามารถรายงานข้ อเท็จจริงเหล่านี ้ไปยังแหล่งทุนหรื อหน่วยงานภา ครัฐและองค์กรภาคี เชือ้ ชาติ: □ ? □ ? □ ? □ ? □ อื่นๆ _________ อายุ: □ <18 □ 18-25 □ 25-30 □ 31-40 □ 41-49 □ 50-65 □ 66> เพศ: □ หญิง □ ชาย □ เพศทางเลือก ส่ วนที่ 3: เพื่ อ ให้ แ น่ใ จว่า การเก็ บ รวบรวมข้ อ มูล การรั ก ษาของผู้รั บ บริ ก ารครบถ้ วน ประกอบด้ วย ผลการตรวจนับจานวนเม็ดเลือดขาว (CD4) เชื ้อไวรัสเอชไอวี (Viral Load) อ า ก า ร ป่ ว ย ที่ มี เ มื่ อ ติ ด ต่ อ กั น ค รั ้ ง แ ร ก ร ว ม ไ ป ถึ ง เ งื่ อ น ไ ข สุ ข ภ า พ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย ง ข้ อ ง ห รื อ อ า จ ส่ ง ผ ล ต่ อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ นี่ เ ป็ นข้ อมู ล ส าคัญ ที่ ช่ ว ยในการตัด สิ น ใจว่ า จะวางแผนให้ ความช่ ว ยเหลื อ อย่ า งไร น อ ก จ า ก นี ้ยั ง ช่ ว ย ใ น ก า ร ร า ย ง า น ไ ป ยั ง แ ห ล่ ง ทุ น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ เ กี่ ย ว กั บ ตั ว บ่ ง ชี ้ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ เ พื่ อ เ ข้ า สู่ ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ข้ อมูลทางการแพทย์ : CD4 count: ____ Date วันที่: / /

Viral load count: ____ Date วันที่: / /

การวินิจฉัยเกี่ยวกับเงื่อนไขสุขภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องหรื ออาจส่งผลต่อผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ (ถ้ ามี):

52


อาการป่ วยที่มี (ถ้ ามี):

บริการเบือ้ งต้ นที่ได้ รับจากหน่ วยงานสาธารณสุข/คลินิก/โรงพยาบาล □ การให้ คาปรึกษาและตรวจหาเชื ้อเอชไอวี □ การตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ □ การตรวจหา CD4 □ การตรวจหา Viral load □ บริการอื่นๆ (โปรดระบุ):

ส่ ว นที่ 4: การสรุ ป เรื่ อ งราวประสบการณ์ ของผู้รั บ บริ การเกี่ ย วกับ การรั บ เชื อ้ เอชไอวี เป็ นสิ่งที่สาคัญมากในการติดต่อกับผู้รับบริ การในครัง้ แรก ขอแนะนาให้ บนั ทึกเกี่ ยวกับ ( ก ) เ รื่ อ ง ร า ว แ ล ะ สิ่ ง ที่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร พู ด ถึ ง ( ข ) สิ่ ง ที่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม สั ง เ ก ต เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ( ค ) ข้ อ ส รุ ป ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ ( ง ) วางแผนการทางานหรื อบริการที่จะให้ แก่ผ้ รู ับบริการ สรุ ปเรื่ องราวของผู้รับบริการจากการพูดคุยกันครั ง้ แรก _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________

แผนที่เส้ นทางชีวติ ของผู้รับบริการ

53


ส่ ว น ที่ 5: ใ น ส่ ว น นี ้จ ะ ใ ช้ แ ผ น ภ า พ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม สามารถมุง่ เน้ นการทางานหรื อให้ บริ การที่จะช่วยพัฒนาและฟื น้ ฟูสขุ ภาพของผู้รับบริ การตลอดระยะเว ล า 12 สั ป ด า ห์ ต า ม เ ส้ น ป ร ะ ( อ ยู่ ต ร ง ก ล า ง ข อ ง รู ป ส า ม เ ห ลี่ ย ม ด้ า น ล่ า ง ) เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ เ ขี ย น ร า ย ก า ร ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม กั ง ว ล ใ จ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ห รื อ จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ สิ ร ม ต า ม เ ส้ น ด้ า น น อ ก ข อ ง ส า ม เ ห ลี่ ย ม เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ เ ขี ย น ร า ย ก า ร เ กี่ ย ว กั บ วิ ธี แ ก้ ไ ข วิ ธี ก า ร ห นุ น เ ส ริ ม และบริ การที่จะให้ เพื่อแก้ ไขปั ญหาหรื อลดความกังวลใจของผู้รับบริ การ ตัวอย่างดังภาพด้ านล่าง

สัปดาห์ที่ 12 ต้ องการคาแนะนา และการสนับสนุน ด้ านการเงิน

ให้ การช่วยเหลือและบริ กา รแบบเข้ มข้ นแก่ผ้ รู ับบริ การ รวมทังความรู ้ ้ เรื่ องเอชไอวี เพื่อให้ สามารถอยูร่ ่วมกับเ ชื ้อได้ เป็ นอย่างดี ไปรับผลการตรวจ CD4 ที่โรงพยาบาลกับผู้รับบริ การ

ไม่มีเพื่อนที่อยูร่ ่วม กับเชื ้อและไม่มีระ บบสนับสนุน อาจต้ องเริ่ ม การรักษา

อาจยังไม่จาเ ป็ นต้ องรักษา

ประสานงานกับหน่วยงานสวั สดิการสังคมในท้ องถิ่น เพื่อให้ การช่วยเหลือเรื่ องอาห ารและการเงิน พาผู้รับบริ การไปร่วมกิจกรรม หนุนเสริ มขององค์กรท้ องถิ่นแ ละส่งเสริ ม พัฒนาระบบการให้ ความช่วย เหลือ ข้ อมูลความรู้ที่จาเป็ น เพื่อให้ สามารถอยูร่ ่วมกับเชื ้ อได้

ไปรับผลตรวจ CD4

โทรศัพท์หาผู้รับบริ การภายใน 2วันและให้ ความช่วยเหลือทางโท รศัพท์ จากนันนั ้ ดพบเพื่อพูดคุยกัน ได้ รับการวินิจฉัยว่ามีเอชไอวีในวันนี ้ 54


แผนกิจกรรมสาหรั บผู้รับบริการ ส่ ว น ที่ 6: กิ จกรรมที่ ไ ด้ ตกลงไ ว้ กั บ ผู้ รั บบริ การอาจได้ รั บการ แยกต่ า งหาก พ ร้ อ ม กั บ ก า ห น ด ร ะ ย ะ เ ว ล า แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ เ ป็ น ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม แต่ก ารแบ่ง บทบาทหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบบางอย่ า งให้ ผ้ ูรั บ บริ ก ารก็ จ ะเป็ นประโยชน์ ม าก เพื่อให้ พวกเขามีความรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง ลาดับ

กิจกรรม

กาหนดการ

ผู้รับผิดชอบ

รายละเอียด

1.

2.

3.

4.

5.

6.

55


หมายเหตุ ส่ วนที่ 7: การบัน ทึ ก เป็ นสิ่ ง ส าคัญ ที่ จ ะสรุ ป ให้ เ ห็ น ภาพของการให้ บริ ก ารแก่ ผ้ ูรั บ บริ ก ารแต่ล ะราย มันจะช่วยให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมจาสิ่งที่เกิดขึ ้นในอดีตที่ผา่ นมาและเป็ นวิธีที่มีประโยชน์ที่จะสะท้ อนให้ เห็นถึ งสิ่ ง ที่ ไ ด้ เกิ ด ขึ น้ และสิ่ ง อื่ น ที่ อ าจมี ป ระโยชน์ ต่ อ ผู้ รั บ บริ ก าร ย า้ อี ก ครั ง้ ว่ า ควรบัน ทึ ก เกี่ ย วกั บ (ก) เรื่ องราวและสิ่ ง ที่ ผ้ ูรั บ บริ การพู ด ถึง (ข) สิ่ง ที่ เจ้ าหน้ าที่ ห นุน เสริ ม สั ง เกตเห็ น เกี่ ย วกับ ผู้รั บ บริ ก าร (ค) ข้ อ ส รุ ป ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ ( ง ) วางแผนการทางานหรื อบริการที่จะให้ แก่ผ้ รู ับบริการ การพูดคุยครัง้ ที่ 1 (บันทึกในสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ การพูดคุยครัง้ ที่ 2 (บันทึกในสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ แบบฟอร์ มข้ อมูลส่ วนตัวของผู้รับบริการจะถูกเก็บไว้ ในแฟ้มของผู้รับบริการ

56


ผู้ รั บบริ การควรเซ็ น “หนั ง สื อยิ น ยอมเข้ าร่ วมโครง การ ” ตั ง้ แต่ ค รั ้ง แรกที่ มี การพู ด คุ ย กั น เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ มควรอ่ า นที ล ะย่ อ หน้ าและถามว่ า ผู้ รั บบริ การเข้ าใจและเห็ น ด้ วย ไหม ห า ก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ย อ ม รั บ ใ ห้ ท า เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ✓ ใ น ช่ อ ง ข อ ง “ ใ ช่ ” ด้ า น ข ว า มื อ หากผู้รับบริ การไม่เ ห็นด้ วยควรจะทาเครื่ องหมาย ✓ ในช่องของ “ไม่ใช่” หากผู้รับบริ การไม่เห็นด้ ว ย เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ค ว ร พู ด คุ ย เ พิ่ ม เ ติ ม ห รื อ ห า ข้ อ ต ก ล ง เ กี่ ย ว กั บ วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ มู ล หรื อให้ ข้อมูลเพิ่มเติมแก่ผ้ รู ับบริการ 11.2 หนังสือยินยอมเข้ าร่ วมโครงการ เพื่ อ ให้ บริ ก ารแก่ ท่ า น ข้ าพเจ้ าจ าเป็ นต้ อ งขออนุ ญ าตจากท่ า นเพื่ อ จัด เก็ บ และใช้ ข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ ท่ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ เ ก็ บ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ต่ ล ะ ร า ย แ ล ะ ข้ อ มู ล เ ห ล่ า นี ้ จ ะ ถู ก เ ก็ บ ใ น ตู้ เ ก็ บ เ อ ก ส า ร ภ า ย ใ น ส า นั ก ง า น ข้ อมูลส่วนบุคคลที่ของผู้รับบริการไม่ถกู นาไปใช้ หรื อเผยแพร่ส่บู คุ คลอื่นโดยไม่ได้ รับอนุญาต ท า ง โ ค ร ง ก า ร จ า เ ป็ น ที่ จ ะ ต้ อ ง น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ผลการดาเนินงานให้ แก่แหล่งทุนและหน่วยงานของรัฐเกี่ยวและข้ อมูลเกี่ยวกับจานวนผู้รับบริการที่เข้ าร่วมโครง การ ซึ่ ง เราเรี ย กว่ า “ข้ อ มูล ไม่ จ าเพาะ” ซึ่ ง เป็ นข้ อ มูล เกี่ ย วกั บ ท่ า น สุข ภาพของท่ า นโดยไม่ มี ชื่ อ ที่ อ ยู่ ร ว ม ถึ ง ไ ม่ มี ข้ อ มู ล ส่ ว น ใ ด ที่ จ ะ ร ะ บุ ตั ว ต น ข อ ง ท่ า น ไ ด้ การให้ ความยินยอมของท่านหมายความว่าเราจะได้ จดั เก็บข้ อมูลเกี่ยวกับท่านและรายงานสุขภาพที่ทา่ นต้ องก ารเปิ ดเผยแก่เรา เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย คุณเห็นด้ วยหรื อไม่?

ข้ าพเจ้ าได้ รับ:

ใช่

- การแจ้ งให้ ทราบเกี่ยวกับเหตุผลและวิธีการจัดเก็บข้ อมูลส่วนตัวของข้ าพเจ้ า

- มีสว่ นร่วมในการกาหนดรูปแบบ วิธีการที่จะช่วยเหลือข้ าพเจ้ า - การแจ้ งให้ ทราบเกี่ยวกับสถานที่และวิธีการจัดเก็บข้ อมูลส่วนตัวของข้ าพเจ้ า

☐ ☐

☐ ☐

☐ ไม่ใช่

57


ห า ก คุ ณ ช่ ว ย ป ร ะ ส า น ร ะ ห ว่ า ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม กั บ ห น่ ว ย ง า น ที่ ดู แ ล คุ ณ เช่ น โรงพยาบาลและคลิ นิ ก หรื อ หน่ ว ยงานสวั ส ดิ ก าร จะช่ ว ยให้ เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม สามารถพู ด คุย หรื อร่วมวางแผนการรักษาคุณกับบุคคลากรทางการแพทย์ในนามของคุณได้ : หน่วยงานที่คณ ุ รับการรักษา คือ __________________________________________________________ ลงลายมือชื่อ: ______________________________ (ผู้รับบริ การ) ชื่อ-นามสกุล: _______________________________ (ชื่อ-นามสกุล ผู้รับบริ การ)

Date วันที่: ____/____/___________ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม: _____________ ชื่อย่อ

หนังสือยินยอมเข้ าร่ วมโครงการควรเก็บไว้ ในแฟ้มของผู้รับบริการ

การประสานกั บ หน่ ว ยงานสาธารณสุ ข อื่ นๆ ที่ ใ ห้ บริ การผู้ รั บ บริ การอยู่ แ ล้ ว จะช่ ว ยให้ ได้ รั บ บริ ก ารที่ ดี ม ากขึ น้ การจั ด ท า “หนั ง สื อ ยิ น ยอมเข้ าร่ ว มโครงการ” ขึ น้ ม า ก็ เ พื่ อ ใ ห้ มั่ น ใ จ ไ ด้ ว่ า ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ไ ด้ ต ก ล ง ต า ม เ งื่ อ น ไ ข ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร รวมถึงการอนุญาติให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มติดต่อและตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาแทนคนไข้ หากปราศจากข้ อตกลงนี ้ เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ มจะไม่ ส ามารถด าเนิ น การใดๆ เกี่ยวกับสถานพยาบาลอื่นๆ แทนผู้รับบริการได้ 11.3 มาตราวัดความสามารถในการฟื ้ นคืนสู่สภาวะปกติของผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ การทาแบบประเมินความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นขันตอนการประเมิ ้ นก่อนแ ละหลังการให้ บริ การที่ชว่ ยในการประเมินผลกระทบทางด้ านจิตใจและอารมณ์ของการให้ บริการการประสานค วามร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ผู้รับบริการจะทาแบบประเมินชุดเดียวกันนี ้ 2 ค รั ้ ง คื อ เ มื่ อ ติ ด ต่ อ กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ใ น ค รั ้ ง แ ร ก ( ดู ❶ ด้ า น ล่ า ง ) 58


หลังจากการให้ บริ การแก่ผ้ ูรับบริ การในช่วงหลายสัปดาห์ ตามเส้ นทางการให้ บริ การในขัน้ ตอนที่ 2 และ3 ผู้รับบริ การจะถูกขอให้ ทาแบบสอบถามอี กครั ง้ ในขัน้ ตอนที่ 4 ก่ อนการยุติการให้ บริ การ (ดู❷ ด้ านล่าง) และค าตอบของการท าแบบสอบถามทั ง้ 2 ครั ง้ จะถู ก น ามาเปรี ยบเที ย บระหว่ า งขั น้ ตอน 1 และ 4 ( ดู ❸ ด้ า น ล่ า ง ) เพื่อประเมินว่าสภาวะทางด้ านจิตใจและอารมณ์ของผู้รับบริการได้ รับการพัฒนาหรื อเยียวยาในช่วงเวลาของกา รรับบริการจากโครงการหรื อไม่ อย่างไร

❶ ขันตอนที ้ ่ การทาแบบประเมิน ความสามารถในการฟื น้ คืนสู่ สภาวะปกติของผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อ ในการติดต่อกันครัง้ แรก

ขันตอนที ้ ่ และ การให้ บริ การ แก่ผ้ รู ับบริ การ

การทาแบบประเมิน ครัง้ ที่ 1

ขันตอนที ้ ่ ทาแบบประเมิน ความสามารถในการฟื น้ คืนสู่ สภาวะปกติของผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อ ก่อนการยุตกิ ารให้ บริ การ

การทาแบบประเมิน ครัง้ ที่ 2

❸ การวิเคราะห์เปรียบเทียบคาตอบระ หว่างขันตอนที ้ ่ 1และ 4

59


11.3.1 แบบประเมินความสามารถในการฟื ้ นคืนสู่สภาวะปกติของผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 5 หั ว ข้ อ คื อ ก า ร สิ ้ น ห วั ง ใ น ชี วิ ต , จิ ต วิ ญ ญ า ณ แ ห่ ง ก า ร ต่ อ สู้ ห รื อ ก า ร รั บ รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ต น เ อ ง , ก า ร ค ว บ คุ ม ต น เ อ ง , ก า ร ล ด ค ว า ม วิ ต ก กั ง ว ล ใ ห้ น้ อ ย ล ง แ ล ะ ก า ร มี ค ว า ม ห วั ง ใ น ชี วิ ต ซึ่งในแต่ละหัวข้ อมีระดับคะแนนหรื อมาตราส่วนทัง้ 6 จุด เพื่อบ่งบอกระดับความรู้ สึก โดยกาหนดให้ ระดับ 1 คือ “ไม่ใช่” และ ระดับ 6 คือ “ใช่/ถูกต้ องที่สดุ ”

60


1 ไม่ใช่

2

3

การสิน้ หวังในชีวิต 4 5 6 ใช่

1

เวลามีปัญหาฉันมักจะคิดว่า ปั ญหาต้ องแก้ ไปทีละเปราะ อย่าเครี ยด

2

7

ปั ญหาเกี่ยวกับเอชไอวีทาให้ ฉนั ไม่สามารถวางแ การสิ ้นหวังในชีวิต หมายถึงระดับความสิ ้นหวังของแต่ละคนที่เกี่ยวกับเ ผนเกี่ยวกับอนาคตได้ อชไอวีและการใช้ ชีวิต ฉันรู้สกึ เจ็บปวดและวิตกกังวลเกี่ยวกับเอชไอวี ระดับต่างๆเปรี ยบเหมือนระดับจิตวิญญาณแห่งกา รต่อสู้ ฉันยอมแพ้ แล้ ว และผู้ที่ได้ คะแนนสูงแสดงให้ เห็นว่ามีอาการซึมเศร้ ฉันไม่คาดหวังอะไรกับอนาคตแล้ ว าและมีภาวะทางจิตวิทยาอื่น ๆ รวมทังผู ้ ้ ที่เพิ่งทราบผลการวินิจฉัยว่ามีเอชไอวีหรื อ ฉันมีแผนสาหรับอนาคต มีอาการของโรคฉวยโอกาสต่างๆ ฉันรู้สกึ สิ ้นหวังกับชีวิต

8

ฉันไม่คดิ ว่าจะมีอะไรที่ทาให้ ตวั เองรู้สึกดีขึ ้นได้

9

ฉันพยายามที่จะดาเนินชีวิตของฉันให้ เป็ นปกติเ หมือนที่ผา่ นมา

3 4 5 6

61


1 ไม่ใช่ 16 17 18 19

2

3

การควบคุมตนเอง 4 5 6 ใช่

ฉันหลีกเลี่ยงการหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เอชไอวี

การควบคุมตนเอง ฉันต้ องการที่จะติดต่อกับผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อคนอื่นๆ หมายถึงความตังใจที ้ ่เรี ยนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเอชไอ วีทงจากเพื ั้ ่อนๆ ผู้ที่อยูร่ ่วมกับเชื ้อและจากบุคคลากรทางการแพทย์ ฉันพยายามที่จะรับข้ อมูลข่าวสารให้ มากที่สดุ ที่ให้ การดูแลรักษา ้ ่จะใช้ ชีวิตอย่างเข้ มแข็งต่อไป ฉันให้ หมอเป็ นผู้กาหนดและตัดสินใจแทนในทุกเ และมีความตังใจที รื่ อง จิตวิญญาณแห่งการต่อสู ้หรื อการรับรู ้ความสามารถของตนเอง 1 2 3 4 5 6 ไม่ใช่ ใช่

10

11 12

13

ฉันทาในสิ่งที่ฉนั เชื่อว่าสามารถเปลี่ยนแปลงสุขภ าพของฉันได้ เช่น การลดน ้าหนัก

จิตวิญญาณแห่งการต่อสู้ หมายถึงความสามารถของแต่ละคนที่จะรู้สึกว่าพว ฉันเชื่อมัน่ ว่าฉันจะไม่เป็ นอะไร กเขามีพลังในตัวเอง ที่จะสามารถดูแลสุขภาพและควบคุมชีวิตของตัวเอ ฉันทาในสิ่งที่ฉนั เชื่อว่าสามารถพัฒนาให้ สขุ ภาพ งได้ ของฉันดีขึ ้นได้ เช่น การออกกาลังกาย ระดับคะแนนของหัวข้ อนี ้ตรงกันข้ ามกับหัวข้ อการสิ ้ นหวังในชีวิต ฉันเชื่อว่าทัศนคติที่ดีของฉันจะช่วยฉันได้

62


14

ฉันพยายามที่จะต่อสู้กบั ความเจ็บป่ วย

15

ฉันว่าคงไม่มีอะไรที่จะช่วยฉันได้ แล้ ว

เพราะในหัวข้ อนี ้การมีระดับคะแนนสูงแสดงว่ามีกา ลังใจที่ดี ยังมีแรงต่อสู้กบั อุปสรรค

1 ไม่ใช่ 20

ฉันได้ ฝากชีวิตไว้ ในฝี พระหัตถ์ของพระเจ้ า /แล้ วแต่บญ ุ แต่กรรมของแต่ละคน

21

ฉันมองแต่สิ่งที่ดีในชีวิต ส่วนสิ่งที่แย่นนช่ ั ้ างมัน

22

ฉันทาตัวให้ ยงุ่ เสมอ จะได้ ไม่มีเวลามาคิดเกี่ยวกับมัน

การลดความวิตกกังวลให้ น้อยลง หมายถึงความสามารถของแต่ละบุคคลในการพัฒ นาวิธีจดั การตนเอง เพื่อลดความวิตกกังวลหรื อสภาวะทางสุขภาพจิตเชิ งลบที่เกี่ยวข้ องกับเอชไอวี

1 ไม่ใช่ 23

ฉันพยายามทาให้ มนั กลายเป็ นเรื่ องตลก

24

คนอื่นๆ กังวลเกี่ยวกับมันมากขึ ้นกว่าฉันซะอีก

2

การลดความวิตกกังวลให้นอ้ ยลง 3 4 5 6 ใช่

2

3

การมีความหวังในชีวิต 4 5 6 ใช่

การมีความหวังในชีวิต หมายถึงความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะรวมวิธี จัดการตนเอง เพื่อปกป้องสภาวะทางสุขภาพจิตเชิงลบ และสร้ างกาลังใจให้ แก่ตนเองเมื่อทราบผลวินิจฉัยว่ ามีเอชไอวี

63


11.3.2 การวิเคราะห์ ข้อมูล เพื่อวัดความสามารถในการฟื ้ นคืนสู่สภาวะปกติของผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ นอกจากคู่มื อ แล้ ว เรามี เ อกสารแยกให้ อี ก ชุด เป็ นค าแนะน าส าหรั บ การใช้ ง าน เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รเจ้ า ภาพ สามารถจัดทารายงานโดยการใช้ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่ apmglobal.com.au ) ก า ร ดู แ ล จ ะ ต้ อ ง ขึ ้ น อ ยู่ กั บ ข้ อ ส รุ ป ว่ า จ า ก ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ไ ด้ มี ผ ล ก ร ะ ท บ เ ชิ ง บ ว ก อ ย่ า ง ไ ร บ้ า ง กั บ ส ภ า ว ะ สุ ข ภ า พ ท า ง จิ ต แ ล ะ อ า ร ม ณ์ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร มั น เ ป็ น เ รื่ อ ง ย า ก ที่ จ ะ พิ สู จ น์ ว่ า โครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื อ้ เป็ นรายบุคคล ได้ ก่อให้ เกิดการพัฒนา เ ชิ ง บ ว ก ต่ อ ส ภ า ว ะ สุ ข ภ า พ ท า ง จิ ต แ ต่ มั น ก็ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ที่ จ ะ เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล จ า ก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ที่ อ ธิ บ า ย ถึ ง ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ก า ร ส นั บ ส นุ น ที่ พ ว ก เ ข า ไ ด้ รั บ จ า ก โ ค ร ง ก า ร หากผลสรุปออกมาว่าโครงการดังกล่าวไม่มีสว่ นในการพัฒนาผลกระทบเชิงบวกต่อสภาวะสุ ขภาพทางจิตและ อารมณ์ ของ ผู้ รั บบริ การ ก็ แสดง ว่ า เรายั ง คง ต้ อง ป รั บ วิ ธี กา รท าง านใ ห้ เหมาะสมม าก ยิ่ ง ขึ น้ แต่หากว่าการเข้ าร่ วมกับโครงการ ช่วยให้ ผ้ รู ับบริ การมีการพัฒนาในด้ านสภาวะสุขภาพทางจิตและอารมณ์ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น ส ภ า ว ะ สุ ข ภ า พ ท า ง จิ ต แ ล ะ อ า ร ม ณ์ ใ น ท า ง ที่ ดี ขึ ้น ซึ่งการให้ ผ้ รู ับบริ การทาแบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริ การ ในขัน้ ตอนที่ 4 : การยุติการให้ บ ริ ก าร สามารถช่วยในการพิสจู น์ข้อโต้ แย้ งได้

มาตราวัดความสามารถในการฟื น้ คืนสูส่ ภาวะปกติของผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ ได้ รับการพัฒนาจากการ มาตราวัดความสามารถในการปรับตัวให้ อยูร่ ่วมกับเอชไอวี ซึง่ ได้ รับการพัฒนามาจาก มาตราวัดความสามารถในการปรับตัวให้ อยูร่ ่วมกับมะเร็ว ซึง่ เป็ นผลงานของ มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ (University of Queensland) และ The New South Wales Department of Health ประเทศออสเตรเลีย แบบประเมินดังกล่าวได้ ผา่ นการทดสอบในการศึกษาอย่างเป็ นทางการในปี ค.ศ. 2000 เพื่อประเมินความเกี่ยวข้ องของเอชไอวีในกลุม่ คนรักเพศเดียวกัน (Homosexual) 64


และกลุม่ คนที่มีเพศสัมพันธ์กบั ทังชายและหญิ ้ ง (Bisexual)ในโครงการวิจยั 3 ชิ ้นในประเทศออสเตรเลีย การศึกษาดังกล่าวมีผ้ เู ข้ าร่วม 164 คนโดยเป็ นกลุม่ คนรักเพศเดียวกัน (Homosexual) และกลุม่ คนที่มีเพศสัมพันธ์กบั ทังชายและหญิ ้ ง (Bisexual) ที่อยูร่ ่วมกับเชื ้อ(Reference: Measuring Psychological Adjustment to HIV Infection, Authors: Kelly B, Raphael E, Burrows G, Judd F, Kemutt G, Burnett P, Perdices M and Dunne M. In The International Journal of Psychiatry in Medicine Vol 30, No. 1, 2000.) 11.4 ชุดข้ อมูลพืน้ ฐานสาหรั บผู้รับบริการ ชุ ด ข้ อ มู ล พื ้ น ฐ า น ส า ห รั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า คั ญ เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ทุ ก ค น ไ ด้ รั บ ท ร า บ สิ ท ธิ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง พ ว ก เ ข า ชุ ด ข้ อ มู ล พื ้ น ฐ า น ส า ห รั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก นี ้ โ ด ย ก า ร ใ ห้ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ สิ ท ธิ ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว แ ล ะ ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น ตั ง้ แ ต่ ใ น ขั ้ น ต อ น ที่ 1: ก า ร ติ ด ต่ อ กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ ค รั ้ ง แ ร ก ผู้ รั บ บ ริ ก า ร อ า จ อ ยู่ ใ น ภ า ว ะ วิ ก ฤ ติ ห รื อ มี อ า ร ม ณ์ ที่ รุ น แ ร ง พวกเขาอาจะไม่มีความสนใจหรื อไม่สามารถที่จะพิจารณาข้ อมูลนี ้ในเวลานันและพวกเขาอาจต้ ้ องการให้ เจ้ าห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม รั บ ฟั ง พ ว ก เ ข า แ ล ะ ช่ ว ย แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ เ ช่ น นี ้ เจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ มอาจให้ ชุดข้ อมูลพืน้ ฐานสาหรับผู้รับบริ การแก่ผ้ ูรับบริ การและอ่านรายละเอียดที ละข้ อ ในการพบกันในครัง้ ถัดไปก็ได้ ชุดข้ อมูลพืน้ ฐานสาหรับผู้รับบริ การ ประกอบด้ วยข้ อมูล 3 ชุด กฎบัตรสิทธิ ของลูกค้ าและความรับผิดชอบ น โ ย บ า ย ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ลั บ ข อ ง เ ร า นโยบายการแก้ ปัญหาการร้ องเรี ยนเกี่ยวกับโครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกั บ เ ชื ้ อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ก า ร ส รุ ป ห รื อ อ่ า น ชุ ด ข้ อ มู ล พื ้ น ฐ า น ส า ห รั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ให้ แก่ผ้ รู ับบริการนันมี ้ ความสาคัญมากเพราะผู้รับบริการไม่ได้ มีการศึกษาทุกคนและผู้ที่มี การศึกษาก็อาจไม่เข้ า ใจทุกสิ่งที่พวกเขาอ่าน ข้ อมูลลูกค้ าแผ่ นที่ 1 – กฎบัตรสิทธิของลูกค้ าและความรั บผิดชอบ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม อ่ า น ก ฎ บั ต ร สิ ท ธิ ข อ ง ลู ก ค้ า แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ฟั ง ห รื อ ส รุ ป ป ร ะ เ ด็ น ส า คั ญ ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มควรถามย ้าอีกครั ง้ เพื่อความมัน่ ใจว่าผู้รับบริ การมีความเข้ าใจในสิทธิและความรับผิดชอบ 65


ก า ร ท า เ ช่ น นี ้จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร รู้ สึ ก ว่ า พ ว ก เ ข า จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ชี ้แ จ ง อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ตรงไปตรงมาและตระหนักถึงสิทธิและหน้ าที่ของพวกเขาในการรับบริการ ข้ อมูลลูกค้ าแผ่ นที่ 2 – นโยบายความเป็ นส่ วนตัวและการรักษาความลับของเรา เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม อ่ า น น โ ย บ า ย ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ลั บ ข อ ง เ ร า ห รื อ ส รุ ป ป ร ะ เ ด็ น ส า คั ญ ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม ควรถามย า้ อี ก ครั ง้ เพื่ อ ความมั่น ใจว่าผู้รั บ บริ ก ารมี ค วามเข้ า ใจและไม่มี ค าถามใด ๆ เกี่ยวกับนโยบายความเป็ นส่วนตัวและการรักษาความลับของเรา ข้ อมูลลูกค้ าแผ่ นที่ 3 – นโยบายการแก้ ปัญหาการร้ องเรียน เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม อ่ า นนโยบายการแก้ ปั ญ หาการร้ องเรี ย น หรื อ สรุ ป ประเด็ น ส าคัญ ให้ ผู้ รั บ บริ ก าร ก า ร ที่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร รู้ วิ ธี ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ ร า ท ร า บ ปั ญ ห า แ ล ะ จ ะ มี ก ร ะ บ ว น ก า ร พู ด คุ ย ด้ ว ย เ ห ตุ ผ ล เ พื่ อ ห า สา เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า จ นน า ม า สู่ ก า ร ร้ อ ง เรี ยน ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ทั น ที จ ะ ช่ ว ย แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว แ ล ะ ง่ า ย ด า ย และยังช่วยป้องกันปั ญหาที่ใหญ่และร้ ายแรงที่อาจเกิดตามมา ในตอนท้ ายของขั น้ ตอนนี ้ ผู้ รั บ บริ ก ารจะได้ รั บ “ชุ ด ข้ อมู ล พื น้ ฐานส าหรั บ ผู้ รั บ บริ การ” กลั บ บ้ าน เพื่อที่ผ้ รู ับบริการจะได้ อา่ นทบทวนที่บ้าน และสามารถนาออกมาใช้ ได้ ทนั ทีที่เขาต้ องการ 11.5 การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ก า ร ส า ร ว จ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร จ ะ ท า ใ น ขั ้ น ต อ น ที่ 4: ก า ร ยุ ติ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ผู้ รั บ บ ริ ก า ร จ ะ ไ ด้ รั บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม พ ร้ อ ม กั บ ซ อ ง จ ด ห ม า ย ที่ ส า ม า ร ถ ปิ ด ผ นึ ก ไ ด้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ อ ธิ บ า ย วิ ธี ก า ร ท า แ บ บ ส อ บ ถ า ม เมื่ อ ผู้ รั บ บริ การท าแบบสอบถามเสร็ จสามารถที่ จะใส่ ใ นซองจดหมาย ปิ ดผนึ ก ให้ เรี ย บ ร้ อย แ ล้ ว ส่ ง คื น ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม พร้ อมกับ อธิ บ ายให้ ผ้ ูรั บ บริ ก ารทราบว่ า แบบสอบถามดัง กล่ า วจะถูก ส่ ง ตรงถึ ง ผู้ป ระสานงานโครงการ ข้ อมูลทังหมดจะถู ้ กรวบรวมเพื่อนาไปปรับปรุงคุณภาพการให้ บริการต่อไป

66


12. คาแนะนาและข้ อมูลที่มีประโยชน์ สาหรั บผู้รับบริการ บนสื่อออนไลน์ ก า ร ส ร้ า ง สื่ อ อ อ น ไ ล น์ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ผ่ า น ร ะ บ บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ป็ น วิ ธี ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ร า ค า ไ ม่ แ พ ง เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื อ้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ในระหว่างการให้ บริ การแก่ผ้ รู ับบริ การ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มสามารถเพิ่มผู้รับบริ การเป็ นเพื่อนในสื่อออนไลน์ได้ เพื่อที่จะได้ ใช้ สื่อออนไลน์ในการให้ บริการ ให้ ความช่วยเหลือผู้รับบริการบนเครื อข่ายสังคมออนไลน์ได้  เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ค ว ร มี บั ญ ชี ผู้ ใ ช้ ง า น ใ น เ ฟ ส บุ๊ ค (Facebook account) เ พื่ อ ใ ช้ ติ ด ต่ อ กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล    

เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม ติดต่อและให้ บริการแก่ผ้ รู ับบริ การผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม สามารถโพสต์ภาพของตัวเองที่คลินิกและโรงพยาบาล รูปภาพที่โพสต์ไม่ควรมีภาพของผู้รับบริการหรื อคนไข้ อื่นๆ เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม ท างานร่ ว มกับ ที ม งาน ในการพัฒ นาข้ อ ความรณรงค์ สัน้ ๆ เกี่ ย วกับ สุขภาพ ก า ร มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ก า ร รั บ ก า ร รั ก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ก า ร ติ ด ต่ อ กั บ ผู้ อื่ น การมองหาความช่วยเหลือจากผู้อื่นเมื่อจาเป็ น

 เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม สนับสนุนให้ ผ้ รู ับบริ การใช้ สื่อออนไลน์ในการติดต่อกับเจ้ าหน้ าที่ เช่น เพิ่มเพื่อนใน Facebook  เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ส า ม า ร ถ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ผ่ า น สื่ อ อ อ น ไ ล น์ และสามารถตอบคาถามโดยตรงกับผู้รับบริการที่สอบถามเข้ ามา ความเป็ นส่ วนตัวและการรักษาความลับบนสังคมสื่อออนไลน์ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ค ว ร อ ธิ บ า ย ใ ห้ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ท ร า บ ว่ า พ ว ก เ ข า ไ ม่ จ า เ ป็ น ต้ อ ง สื่ อ ส า ร กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ผ่ า น สื่ อ อ อ น ไ ล น์ นี่ เ ป็ น เ พี ย ง ท า ง เ ลื อ ก ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร และเป็ นสิ่งสาคัญมากในการช่วยให้ ผ้ รู ับบริการเข้ าใจวิธีการปกป้องความเป็ นส่วนตัวของพวกเขาบนสังคมสื่ออ อนไลน์ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมสามารถให้ ความช่วยเหลือผู้รับบริการได้ ดงั นี ้  ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ส า ม า ร ถ ตั ้ ง ค่ า บ น สื่ อ อ อ น ไ ล น์ เ ช่ น เ ฟ ส บุ๊ ค ของพวกเขาให้ เป็ นส่วนตัวและผู้อื่นไม่สามารถเข้ าถึงข้ อมูลของเขาได้ 67


 ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ค ว ร ไ ด้ รั บ ก า ร เ ตื อ น ว่ า พ ว ก เ ข า ค ว ร จ ะ พิ จ า ร ณ า ข้ อ ค ว า ม ก่ อ น ก า ร โ พ สต์ เพราะผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ คนอื่ น ๆ ที่ รั บ บริ ก ารจากเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม และเป็ นเพื่ อ นบนเฟสบุ๊ค จะสามารถเห็นและเข้ าไปอ่านข้ อความนันๆ ้ ได้  ผู้ รั บ บริ ก ารควรตัง้ ค่ า ความเป็ นส่ ว นตัว บนสื่ อ ออนไลน์ เช่ น เฟสบุ๊ ค เพื่ อ ให้ แน่ ใ จว่ า คนอื่ น ๆ ที่ไม่ได้ เป็ นเพื่อนไม่สามารถอ่านข้ อมูลส่วนตัวหรื อข้ อมูลอื่นๆ ของพวกเขาได้ การกากับดูแลของกิจกรรมบนสื่อออนไลน์ ผู้ ประสานงานควรรั บเป็ นเพื่ อน (Friend) กั บ เจ้ าหน้ าที่ ภ าคสนาม เพื่ อ ตรวจสอบการท าง าน ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ ดู แ ล กิ จ ก ร ร ม บ น สื่ อ อ อ น ไ ล น์ ทั ้ ง ห ม ด ในกรณีที่จาเป็ นผู้ประสานงานจะต้ องเข้ าไปร่วมการสนทนาเพื่ อแก้ ไขปั ญหาหรื อเข้ าไปกาหนดขอบเขตการทาง านและความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมและผู้รับบริการ

68


ส่ วนที่ 4: ภาคผนวก

69


ส่ วนที่ 4: ภาคผนวก จดหมายชีแ้ จงข้ อมูลเบือ้ งต้ น สาหรั บทีมผู้ให้ บริการ เรี ยน [ชื่อ] เ นื่ อ ง จ า ก [ชื่ อ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ข อ ง คุ ณ ] ได้ ออกแบบโครงการใหม่มาเพื่อสนับสนุนการทางานของทีมคุณในการให้ บริ การด้ านสุขภาพแก่กลุม่ ผู้อยู่ร่วมกั บ เ ชื ้ อ ชื่ อ ว่ า “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล“ ซึง่ โครงการนี ้ได้ ถกู ออกแบบม า เ พื่ อ ร อ ง รั บ ผู้ ที่ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ใ ห้ มี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ไ ด้ โ ด ย โ ค ร ง ก า ร นี ้ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง บ ริ ก า ร ที่ ต้ อ ง ก า ร ร ว ม ถึ ง ก า ร ห นุ น เ ส ริ ม ท า ง ด้ า น อ า ร ม ณ์ แ ล ะ ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม เ ร า ใ ห้ บ ริ ก า ร นี ้แ ก่ ผู้ ม า รั บ บ ริ ก า ร ห รื อ เ พื่ อ น ส ม า ชิ ก ข อ ง ท่ า น โ ด ย ไ ม่ คิ ด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ ด ๆ แ ล ะ นี่ เ ป็ น บ ริ ก า ร แ บ บ เ พื่ อ น ช่ ว ย เ พื่ อ น ซึง่ หมายความว่าผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อกลุม่ หนึง่ จะเป็ นผู้ให้ บริการแก่เพื่อนผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ เ ร า ก า ลั ง ม อ ง ห า อ ง ค์ ก ร พั น ธ มิ ต ร เ พื่ อ ร่ ว ม ท า กิ จ ก ร ร ม ที่ เ รี ย ก ว่ า “ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย จ า ก กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ห รื อ in-reach” ใ น ส ถ า น ที่ ข อ ง คุ ณ จ ด ห ม า ย ฉ บั บ นี ้ มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ที่ จ ะ อ ธิ บ า ย บ ริ ก า ร ห ลั ก ข อ ง “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล“ เพื่อให้ คณ ุ สามารถประเมินคุ ณค่าของการให้ บริการในการทางานทุกๆ วันของคุณที่มีให้ แก่กลุม่ ผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ให้ บริการหลัก ดังต่อไปนี ้:  “การเข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ in-reach” – เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม ( caseworkers) ของเราจะอ านวยความสะดวกในการเชื่ อ มโยงการท างานร่ ว มกั บ ที ม งานที่ บ ริ ก าร เหล่ า นี ้ เ พื่ อ ช่ ว ย ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง เ ร า จ ะ อ ยู่ ใ น ห้ อ ง รั บ ร อ ง และช่ ว ยแนะน าการลงทะเบี ย น น าทางผู้ ป่ วยไปในส่ ว นต่ า งๆ ของโรงพยาบาลหรื อ คลิ นิ ก 70


เจ้ าหน้ าที่ของเราพร้ อมรับช่วงดูแลคนไข้ ตอ่ จากแพทย์หรื อพยาบาลหากรู้สึกว่าผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อต้ องการ ก า ร ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ เ ป็ น พิ เ ศ ษ ด้ วยวิธีนี ้เจ้ าหน้ าที่ของเราสามารถพัฒนาความสัมพันธ์กบั คนไข้ ในที่ทางานของคุณและสามารถทางา นร่ วมกับทีมงานของคุณ เพื่อหนุนเสริ มเมื่อทีมงานรู้ สึกว่าต้ องการความช่วยเหลือในบางช่วงเวลา โ ด ย บ ริ ก า ร ข อ ง เ ร า มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ที่ จ ะ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ ติ ด เ ชื ้ อ ร า ย ใ ห ม่ เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร สู ญ ห า ย ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ม่ เ ข้ า ม า รั บ ก า ร รั ก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง พร้ อมกับให้ บริการส่งต่อคนไข้ ไปยังสถานบริการตามสิทธิของคนไข้  ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ขั ้น พื ้น ฐ า น แ บ บ ตั ว ต่ อ ตั ว - เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ( caseworkers) ข อ ง เ ร า เ ป็ น ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะ ก า ร ก า กั บ ดู แ ล เพื่ อ ให้ พวกเขาสามารถที่ จ ะรั บ ฟั งและให้ การช่ ว ยเหลื อ ผู้ มารั บ บริ การเป็ นรายบุ ค คล เ พื่ อ ห นุ น เ ส ริ ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า ง อ า ร ม ณ์ ข อ ง พ ว ก เ ข า สิ่ ง เ ห ล่ า นี ้ ส า คั ญ ม า ก ส า ห รั บ ผู้ ที่ เ พิ่ ง ต ร ว จ พ บ เ ลื อ ด บ ว ก และต้ องได้ รับการรักษาในโรงพยาบาลทันทีหรื อกาลังประสบกับวิกฤตด้ านอื่ น ๆ ในชีวิตของพวกเขา  การประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดูแ ลคนไข้ เ ป็ นรายบุค คล– เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม caseworkers จะอานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ูม ารั บบริ การ ในการเข้ าถึง บริ การด้ านสุขภาพและสวัสดิการต่างๆ พ ร้ อ ม กั บ ช่ ว ย ท า ก า ร นั ด ห ม า ย กั บ แ พ ท ย์ ช่วยเหลือในการนาตัวส่งต่อเพื่อรับการรักษาในโรงพยาบาลหรื อ การไปเยี่ยมบ้ านคนไข้ เราอยากจะขอนั ด หมายเพื่ อ พู ด คุ ย กั บ คุ ณ และที ม งานของ คุ ณ เกี่ ยวกั บ การท าง านร่ วม กั น นี ้ หากคุณมีความสนใจ โปรดติดต่อเราได้ ที่ [เบอร์ หรื อที่อยูข่ ององค์กรคุณ] ขอแสดงความนับถือ [ชื่อ]

71


จดหมายขอความร่ วมมือจากกรรมการ / ผู้บริหาร เรี ยน [ชื่อ] เ นื่ อ ง จ า ก [ชื่ อ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ข อ ง คุ ณ ] ได้ ออกแบบโครงการใหม่ ม าเพื่ อ สนั บ สนุ น กา รท างานของที ม ให้ บริ ก ารภายใต้ การดู แ ลของท่ า น ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ แ ก่ ก ลุ่ ม ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ที่ มี ชื่ อ ว่ า “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล“ ซึง่ โครงการนี ้ได้ ถกู ออกแบบม า เ พื่ อ ร อ ง รั บ ผู้ ที่ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ใ ห้ มี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ไ ด้ โ ด ย โ ค ร ง ก า ร นี ้ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง บ ริ ก า ร ที่ ต้ อ ง ก า ร ร ว ม ถึ ง ก า ร ห นุ น เ ส ริ ม ท า ง ด้ า น อ า ร ม ณ์ แ ล ะ ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม เ ร า ใ ห้ บ ริ ก า ร นี ้แ ก่ ผู้ ม า รั บ บ ริ ก า ร ห รื อ เ พื่ อ น ส ม า ชิ ก ข อ ง ท่ า น โ ด ย ไ ม่ คิ ด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ ด ๆ แ ล ะ นี่ เ ป็ น บ ริ ก า ร แ บ บ เ พื่ อ น ช่ ว ย เ พื่ อ น ซึ่ ง ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ ก ลุ่ ม ห นึ่ ง จ ะ เ ป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ เ พื่ อ น ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ โครงการดังกล่าวได้ รับการสนับสนุนงบประมาณ ข้ อมูลวิ ชาการ และการสนับสนุนทางเทคนิคจาก [ ชื่อของ ผู้บริจาค (S) ] เ ร า ก า ลั ง ม อ ง ห า อ ง ค์ ก ร พั น ธ มิ ต ร เ พื่ อ ร่ ว ม ท า กิ จ ก ร ร ม ที่ เ รี ย ก ว่ า “ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย จ า ก กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ห รื อ in-reach” ใ น ส ถ า น ที่ ข อ ง ท่ า น เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร สู ญ ห า ย ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ม่ เ ข้ า ม า รั บ ก า ร รั ก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง พ ร้ อ ม กั บ ใ ห้ บ ริ ก า ร ส่ ง ต่ อ ค น ไ ข้ ไ ป ยั ง ส ถ า น บ ริ ก า ร ต า ม สิ ท ธิ ข อ ง ค น ไ ข้ “การเข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ in-reach” คื อ การที่ เ จ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม caseworkers ค อ ย ป ร ะ ส า น ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั บ ที ม ใ ห้ บ ริ ก า ร ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ต่ า ง ๆ ในท้ องถิ่นเพื่อให้ บริการและความช่วยเหลือแก่ผ้ อู ยู่ร่วมกับเชื ้อ ทีมเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มสามารถปรับเปลี่ยนเวลาในการทางานร่ วมกับทางโรงพยาบาล หรื อคลินิกของคุณ รวมถึงการเข้ าช่วยเหลือคนไข้ ในเวลาที่เจ้ าหน้ าที่ของคุณประเมินแล้ วว่าต้ องการการสนับสนุนเพิ่มเติมอย่างเร่ ง ด่ ว น ซึ่ ง บ ริ ก า ร เ ห ล่ า นี ้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ม า ก 72


โดยเฉพ าะอย่ า ง ยิ่ ง เมื่ อผู้ ป่ วยที่ ดู เ หมื อนจะต้ อง การการช่ ว ยเหลื อนอกเวลาท าการของคุ ณ ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น เ มื่ อ ค น ไ ข้ ไ ด้ รั บ ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ติ ด เ ชื ้ อ เ อ ช ไ อ วี ซึ่ ง เป็ นช่ ว งเวลาที่ ย ากล าบากส าหรั บ พวกเขาเมื่ อ พวกเขาจ าเป็ นต้ อ งได้ รั บ การรั ก ษาใ นโรงพยาบาล ห รื อ เ มื่ อ พ ว ก เ ข า มี ปั ญ ห า เ กี่ ย ว กั บ ก า ร รั ก ษ า ห รื อ ย า ต้ า น ฯ แ ล ะ ห า ก พ ว ก เ ข า ก า ลั ง ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ส่ ว น ตั ว ใ น ด้ า น อื่ น ๆ ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ เ ห ล่ า นี ้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ส า ม า ร ถ ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ สนับสนุนและประสานงานกับหน่วยงานที่จาเป็ นได้ เราหวั ง ว่ า ท่ า นจะเห็ น ด้ วยกั บ โครงการนี ้ และท างานร่ ว มกั น เพื่ อ ช่ ว ยหนุ น เสริ มบริ การของคุ ณ ทางเราจึ ง ใคร่ ข อให้ ท่ า น อนุ มั ติ ก ารด าเนิ น งานของโครงการดั ง กล่ า วภายในหน่ ว ยงานของคุ ณ โ ด ย มี จ ด ห ม า ย สั่ ง ก า ร ห รื อ จ ด ห ม า ย อ นุ มั ติ อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร เพื่ อ ให้ เราสามารถด าเนิ น กิ จ กรรมภายในสถานที่ ข องท่ า น หากท่ า นมี ข้ อสงสัย ใด กรุ ณ าติ ด ต่ อ [ชื่ อ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง คุ ณ ] เ พื่ อ ข อ ข้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม และเราหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าจะได้ รับการติดต่อกลับจากท่านในเวลาอันใกล้ นี ้ ขอแสดงความนับถือ

[ ชื่อ ]

73


จรรยาบรรณในการปฏิบัตงิ านสาหรั บเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” มี ห น้ า ที่ ใ นการปฏิ บัติ ง านด้ ว ยความระมัด ระวัง และใช้ ทัก ษะความรู้ ในการให้ บ ริ ก ารแก่ ผ้ ูม ารั บ บริ ก าร คุณในฐานะเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัครตกลงปฏิบตั ติ ามข้ อกาหนดดังนี ้ ประเด็นส่วนบุคคล:  ป ฏิ บั ติ ต่ อ ทุ ก ค น อ ย่ า ง เ ท่ า เ ที ย ม ด้ ว ย ค ว า ม เ ค า ร พ มี ม า ร ย า ท มีความเห็นอกเห็นใจและมีความอ่อนไหวต่อประเด็นเปราะบาง  ไม่มีสว่ นร่วมในการข่มขูด่ ้ วยวาจาหรื อการแสดงออกต่อบุคคลใด  ไม่มีความสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับผู้รับบริการ  ไม่ใช้ สารเสพติดทุกประเภทระหว่างปฏิบตั หิ น้ าที่ ประเด็นจริยธรรม:  ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม เ พื่ อ ป ฏิ บั ติ ง า น “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื อ้ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” และไม่ใช้ เพื่อผลประโยชน์สว่ นตัว  ไม่รับเงินหรื อของขวัญจากผู้รับบริการ หรื อองค์กรภาคี  หลีกเลี่ยงประเด็นขัดแย้ งใดๆ อันจะนาไปสูเ่ รื่ องผลประโยชน์ทบั ซ้ อนระหว่างตัวคุณและโครงการ  ห า ก เ กิ ด ปั ญ ห า เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ล ะ เ มิ ด ก ฏ จ ริ ย ธ ร ร ม ก า ร ฉ้ อ โ ก ง หรื ออาชญากรรมต้ องรี บรายงานต่อผู้บงั คับบัญชาทันที ประเด็นกฎหมาย:  ปฏิบตั ติ ามแนวทางที่ถกู ต้ องตามกฎหมายที่กาหนดโดยผู้บงั คับบัญชา  ป ฏิ บั ติ ต า ม น โ ย บ า ย แ ล ะ ขั ้ น ต อ น ข อ ง โ ค ร ง ก า ร การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล

74


 ไ ม่ เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ค ว า ม ลั บ ใ ด ๆ ในระหว่ า งที่ เ ป็ นเจ้ า หน้ าที่ ห รื อ หลัง จากสิ น้ สุ ด สถานะของการเป็ นเจ้ า หน้ าที่ ภ ายใต้ โ ครงการ การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล  ไ ม่ ก ร ะ ท า ผิ ด ก ฎ ห ม า ย ไ ม่ ล ะ เ มิ ด ก ฏ จ ร ร ย า บ ร ร ณ ไม่ปฏิบตั งิ านอย่างไร้ เหตุผลอันสมควรหรื อไม่เป็ นธรรม และไม่เลือกปฏิบตั ิ  ปฏิบตั ติ ามนโยบายการรักษาความลับอย่างเคร่งครัด ประเด็นวิชาชีพ:  ยึดมัน่ ในหลักการทางานเป็ นทีม  ปฏิบตั ติ ามหลักการและแนวทางการทางาน  เรี ย นรู้ และปฏิ บัติ ต าม เป้ าหมาย กฎระเบี ย บ และวิ ธี ก ารตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ในแผนยุ ท ธศาสตร์ คู่ มื อ น โ ย บ า ย แ ล ะ ขั ้ น ต อ น ก า ร ป ฏิ บั ติ เพื่อการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล  ป ฏิ บั ติ ต า ม ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ น โ ย บ า ย ข อ ง การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล  น าเสนองาน การประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดูแ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้อ ยู่ร่ ว มกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล ในทางบวกและเป็ นมืออาชีพ ก า ร ฝ่ า ฝื น ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม เ งื่ อ น ไ ข เ ห ล่ า นี ้ อ า จ ส่ ง ผ ล ถึ ง ขั ้ น ถู ก ป ล ด จ า ก ง า น ใ น ทั น ที และอาจถูกฟ้องร้ องดาเนินคดีทางแพ่งและอาญา ข้ า พ เ จ้ า ____________________________________________ ไ ด้ อ่ า น แ ล ะ ย อ ม รั บ ที่ จ ะ ยึ ด ถื อ จรรยาบรรณในการปฏิ บัติง าน นีแ้ ละข้ าพเจ้ ายอมรั บที่จะปฏิ บัติ ตามรายละเอียดเรื่ องประเด็นส่วนบุค คล ประเด็นจริยธรรม ประเด็นกฎหมายและประเด็นวิชาชีพ ตามที่ระบุไว้ ข้างต้ น

ลงชื่อ _______________________________________ วันที่ ________________ 75


ข้ อตกลงเกี่ยวกับการรั กษาความลับและการปฏิบัตงิ าน ข้ อตกลงนี ้มีไว้ สาหรับเจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครของโครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล กรุณากรอกแบบฟอร์ มนี ้และตกลงที่จะรักษาความลับระหว่างปฏิบตั งิ านและหลังสิ ้นสุดหน้ าที่ ข้ า พ เ จ้ า ……(ชื่ อ เ ต็ ม ) ………………….. ใ น ฐ า น ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห รื อ อ า ส า ส มั ค ร ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ยอมรับว่าข้ าพเจ้ าอาจจะได้ ทราบข้ อเท็จจริ งบางประการและสามารถเข้ าถึงบันทึกต่างๆ ซึ่งเป็ นข้ อมูลส่วนตัว เป็ นข้ อมูลที่ออ่ นไหวและเป็ นความลับ 1. ข้ าพเจ้ าเข้ าใจว่า ข้ อมูลที่เป็ นส่วนตัวและเป็ นความลับนัน้ ได้ แก่  สภาวะความเจ็บป่ วยและการรักษา  ความสัมพันธ์กบั สมาชิกในครอบครัว  ความสัมพันธ์ทางเพศ สถานะ การติดเชื ้อเอชไอวีของบุคคล และการไปยุง่ เกี่ยวกับการให้ บริการทางเพศหรื อการใช้ สารเสพติดของบุคคล  ชื่อและที่อยูข่ องผู้มีเชื ้อเอชไอวี  ข้ อมูลส่วนตัวและข้ อมูลที่เป็ นเรื่ องอ่อนไหวอื่นๆ  บันทึกอื่นๆ เกี่ยวกับ เจ้ าหน้ าที่ และผู้รับบริการ 2. ข้ าพเจ้ าสัญญาว่า ข้ าพเจ้ าจะไม่เปิ ดเผยข้ อมูลที่เป็ นความลับแก่บคุ คลอื่นใดเกี่ยวกับ  วิ ธี ก า ร รู ป แ บ บ กิ จ ก ร ร ม ขั ้ น ต อ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง โ ค ร ง ก า ร การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล  พนักงานหรื ออาสาสมัครภายใต้ โครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเ ชื ้อเป็ นรายบุคคล  ผู้รับบริ การของภายใต้ โครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่ วมกับเชื ้อเป็ นรา ย บุ ค ค ล โ ด ย ข้ า พ เ จ้ า ไ ม่ ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต ใ ห้ เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ใ ด ๆ

76


นอกจากจะได้ รับมอบอานาจจากผู้อานวยการหรื อ ผู้รับผิดชอบโครงการให้ เปิ ดเผยข้ อมูลเหล่านี ้ และ/หรื อ ไม่ได้ รับการอนุญาตให้ เปิ ดเผยข้ อมูลบางส่วนที่อาจเชื่อมโยงไปถึงผู้รับบริ การได้ นอกจากนี ้ ข้ าพเจ้ าเข้ าใจเพิ่มเติมว่า ข้ อผูกมัดนี ้ (ก) มี ข้ อยกเว้ นส าหรั บ กรณี ข องการเปิ ดเผยข้ อมู ล ที่ เ ป็ นการกระท าหน้ าที่ ต ามกฎหมาย มีผลบังคับใช้ กบั ข้ าพเจ้ าทังในขณะที ้ ่เป็ นเจ้ าหน้ าที่ภายใต้ โครงการการประสานความร่วมมือเพื่อก ารดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล (ข) และหลังจากที่ข้าพเจ้ าสิ ้นสุดสถานะของการเป็ นเจ้ าหน้ าที่ภายใต้ โครงการการประสานความร่ วมมื อเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคลแล้ ว ข้ า พ เ จ้ า เ ข้ า ใ จ ว่ า ห า ก ข้ า พ เ จ้ า แ พ ร่ ง พ ร า ย ค ว า ม ลั บ ข อ ง บุ ค ค ล ใ ด บุ ค ค ล นั ้น มี สิ ท ธิ ฟ้ อ ง ร้ อ ง ด า เ นิ น ค ดี เ พื่ อ เ รี ย ก ค่ า เ สี ย ห า ย ไ ด้ แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ว่ า โ ค ร ง ก า ร “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” จะไม่จา่ ยค่าชดเชยแทนข้ าพเจ้ าสาหรับค่าเสียหายนัน้ ข้ าพเจ้ ายอมรั บ ว่ า การฝ่ าฝื นไม่ ป ฏิ บัติ ต ามเงื่ อ นไขเหล่ า นี ้ อาจส่ ง ผลถึ ง ขัน้ ถู ก ปลดจากงานในทั น ที และอาจถูกฟ้องร้ องดาเนินคดีทางแพ่งและ/หรื อทางอาญา ข้ า พ เ จ้ า ไ ด้ อ่ า น แ ล ะ ย อ ม รั บ ที่ จ ะ ยึ ด ถื อ จ ร ร ย า บ ร ร ณ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ภายใต้ โครงการการประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล เ ป็ น ก ฎ แ ล ะ แ น ว ท า ง ส า ห รั บ ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า และยอมรับด้ วยว่าเพื่อนร่วมงานทังหลายของข้ ้ าพเจ้ า ประพฤติและปฏิบตั ติ ามกฏจรรยาบรรณนี ้เช่นกัน ลงชื่อ __________________________________________ วันที่ __________ หมายเหตุ : ท่านสามารถขอรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาระผูกพันธ์ตอ่ ท่านในเรื่ องการรักษาความลับได้ จาก หัวหน้ างานของท่าน

77


เอกสารนีจ้ ะถูกเก็บไว้ ในแฟ้มส่ วนบุคคลของคุณ พร้ อมกับสัญญาจ้ างงาน

รายละเอียดของตาแหน่ งงาน: ผู้ประสานงาน ฝ่ ายสนับสนุน ใช้ ภายในสานักงานเท่านัน: ้ ชื่อตาแหน่งงาน: ผู้ประสานงาน ฝ่ ายสนับสนุน แผนก: [เพิ่ม] วันที่พิจารณา: [เพิ่ม]

ลักษณะงาน: ทางานเต็มเวลา ระดับงาน: ผู้ประสานงาน ระดับ 1 หัวหน้ าผู้ควบคุมงาน: ผู้จดั การโครงการ

การโฆษณา โครงการ “การประสานความร่ วมมื อ เพื่ อ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ วมกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล ” ก าลัง มองหาผู้ป ระสานงานที่ จ ะก ากับ ดูแ ลที ม เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม (Caseworker) ในการให้ ค าปรึ ก ษา ป ร ะ ส า น ง า น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล แ ล ะ ก า ร ท า ง า น เ ป็ น ก ลุ่ ม ร่ ว ม กั บ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ผู้ สมั ค รควรเป็ นคนในท้ องถิ่ น ที่ มี ป ระสบก ารณ์ ใ นการก ากั บ ดู แ ลของพนั ก งานและ อาสาสมั ค ร มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ท า ง า น กั บ ค ลิ นิ ก แ ล ะ โ ร ง พ ย า บ า ล ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ มีความเข้ าใจและแสดงความเอาจริงเอาจังในการทางานเพื่อผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ ผู้สมัครสามารถวางแผนการทางาน มีความรับผิดชอบและสามารถทางานได้ โดยลาพัง มีทกั ษะในการจัดการ มี ม นุ ษ ย สั ม พั น ธ์ ที่ ดี มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ห รื อ มี วุ ฒิ บั ต ร ด้ า น ส า ธ า ร ณ สุ ข มีความเห็นอกเห็นใจและความห่วงใยต่อผู้อื่น และมีความซื่อสัตย์สจุ ริต เงิ นเดือนอยู่ระหว่าง [เพิ่ม ช่วงเงิ นเดือนถ้ ามี ] ต่อเดือน ขึน้ อยู่กับประสบการณ์ การทางาน สัญญาปี ต่อ ปี และจะต่อสัญญาได้ สงู สุด 5 ปี ขึ ้นอยูก่ บั ผลการดาเนินงาน ผู้ ที่ ส น ใ จ แ ล ะ มี คุ ณ ส ม บั ติ ต า ม เ ก ณ ฑ์ สามารถส่ ง ประวั ติ แ ละรายละเอี ย ดการติ ด ต่ อ ไปยั ง ผู้ ประสานงานโครงการที่ [เพิ่ ม ที่ อ ยู่ อี เ มล]

78


ผู้ ที่ ผ่ า น ก า ร คั ด เ ลื อ ก เ ท่ า นั ้ น ที่ จ ะ ไ ด้ ก า ร ติ ด ต่ อ ก ลั บ เ พื่ อ นั ด ห ม า ย สั ม ภ า ษ ณ์ ท่านสามารถสอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ที่ [เพิ่มชื่อ] [เพิ่มหมายเลขโทรศัพท์] ปิ ดรับสมัครวันที่ [เพิ่มวัน] ตาแหน่งดังกล่าวเปิ ดกว้ างสาหรับผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อที่มีคณ ุ สมบัติตามที่กาหนดข้ างต้ น

ภาพรวม ผู้ประสานงาน ฝ่ ายสนับสนุนเป็ นผู้รับผิ ดชอบในการคัดเลื อก บริ หารงาน กากับดูแลเจ้ าหน้ าที่ หนุนเสริ ม (Caseworker) จานวน 6 คน เพื่อให้ บริการ ทังการให้ ้ คาปรึกษาและประสานงานต่างๆ แก่ผ้ รู ับบริการ เกี่ยวกับโครงการ การประสานความร่ วมมือเพื่อการดูแลช่ วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ เป็ นรายบุคคล เนื่ อ งจาก [ชื่ อ ขององค์ ก รของคุ ณ ] ได้ ออกแบบโครงการใหม่ ม าเพื่ อ สนั บ สนุ น กา รท างานของ “ที ม ให้ บ ริ ก าร”ภายใต้ ก ารดูแ ลของท่า น ในการให้ บ ริ ก ารด้ า นสุข ภาพแก่ ก ลุ่ม ผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ ที่ มี ชื่ อ ว่า “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล“ ซึง่ โครงการนี ้ได้ ถกู ออกแบบม าเพื่อรองรับผู้ที่อยูร่ ่วมกับเชื ้อให้ มีชีวิตที่เป็ นอิสระและสามารถประสบความสาเร็จในชีวิตได้ ทางโครงการมี กิ จ กรรมที่ เ รี ย กว่า “การเข้ า ถึ ง กลุ่ม เป้ าหมายจากกิ จ กรรมภายในองค์ ก ร หรื อ in-reach” ใ น ส ถ า น พ ย า บ า ล ห รื อ โ ร ง พ ย า บ า ล แ ล ะ ค ลิ นิ ก เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร สู ญ ห า ย ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ม่ เ ข้ า ม า รั บ ก า ร รั ก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง โดยให้ คาปรึกษาแบบรายบุคคลและการหนุนเสริมเป็ นกลุม่ โ ค ร ง ก า ร ดั ง ก ล่ า ว มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ( ก ) การสร้ างความรู้และทักษะในกลุ่มผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเพื่อให้ พวกเขาสามารถเลือกวิธีดแู ลสุขภาพของตนเองได้ (ข) การท าง านร่ วมกั บ หน่ ว ยง าน ที่ ให้ บ ริ ก าร ด้ านเ อชไ อ วี เพื่ อให้ บ ริ ก าร อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อง และ (ค) ส า ม า ร ถ ร่ ว ม มื อ กั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วิ ธี ก า ร ท า ง า น แ ล ะ ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย ด้ า น สุ ข ภ า พ เพื่อให้ บรรลุตามความต้ องการของคนผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ 79


ความรับผิดชอบหลัก ผู้ประสานงาน ฝ่ ายสนับสนุนเป็ นผู้รับผิ ดชอบในการก ากับ ดูแลและประสานงานที ม เจ้ าหน้ าที่ หนุน เสริ ม ให้ พ าผู้รับบริ การเดินทางไปยัง สถานพยาบาลต่างๆ ในพื น้ ที่ ทางาน [ระบุพื น้ ที่ ทางาน] เพื่ อรั บ คาปรึ กษา การตรวจเลื อ ดและบริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพ ซึ่ ง ผู้ป ระสานงานจะวางแผนและประสานงานจากส านัก งาน เ พื่ อ ส่ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ไ ป ใ ห้ บ ริ ก า ร ต า ม ส ถ า น พ ย า บ า ล ต่ า ง ๆ รวมถึงผู้ประสานงานเป็ นผู้รับผิดชอบในการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมและเจ้ าหน้ าที่สถา นพยาบาล เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การท างานจะราบรื่ น ผู้ ประสานงานจะรั บ ผิ ด ชอบงานธุ ร การ การเงิ น ดูแลเจ้ าหน้ าที่และประเด็นงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง

80


เงินเดือนและเงื่อนไข เงินเดือน: [เพิ่มเงินเดือน] ต่อเดือนขึ ้นอยู่กบั ประสบการณ์ เงื่อนไข: สัญญาปี ต่อปี สามารถต่อสัญญาได้ สงู สุด 5 ปี ขึ ้นอยูก่ บั ผลการดาเนินงานและงบประมาณ ระยะเวลาทดลองงาน: 3 เดือน ชัว่ โมงการทางาน: 40 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ เวลางาน: วันจันทร์ ถึงวันเสาร์ เวลา 7:00-18:00 (ยืดหยุน่ ) บทบาทและความรับผิดชอบ ผู้ประสานงาน ฝ่ ายสนับสนุนเป็ นผู้รับผิดชอบในการรับสมัครเจ้ าหน้ าที่ ให้ การสนับสนุนเจ้ าหน้ าที่และกิจกรรม ความรับผิดชอบ ดังนี ้  กากับดูแลเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ ม  ประสานงาน วางแผนการทางานของทีมเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม  เดินทางไปสถานพยาบาล โรงพยาบาลและคลินิก เพื่อให้ คาแนะนาแก่เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม เกี่ยวกับงานของเขา  ส่งเสริมการทางานเป็ นทีม  ทบทวนผลการดาเนินงานประจาปี ของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ ม  เปิ ดโอกาสให้ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ พฒ ั นาการทางานอย่างมืออาชีพ งานฝ่ ายอานวยการ/บริหาร/ธุรการ  ประสานงานและให้ ความช่วยเหลือเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมให้ พวกเขาสามารถทางานได้ อย่างราบรื่ น  ประสานงานบริการและการรายงานข้ อมูล  ดูแลการบริหารจัดการเงินสดย่อย การจัดการพื ้นที่สานักงานและอุปกรณ์ และการบริ หารทีมเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม  ดูแลการทางานของเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม ให้ เป็ นไปตามระเบียบ ข้ อบังคับขององค์กร

81


ความเป็ นผู้นา  เป็ นตัวแทนโครงการ “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล” ใ น ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น กั บ ค ลิ นิ ก แ ล ะ โ ร ง พ ย า บ า ล ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ก า ห น ด บ ท บ า ท ห น้ า ที่ แ ล ะ พื ้ น ที่ ท า ง า น ภ า ย ใ น ส า นั ก ง า น ข อ ง อ ง ค์ ก ร ภ า คี ทางานร่วมกับองค์กรภาคีเพื่อส่งมอบบริการที่ดีมีคณ ุ ภาพให้ แก่ผ้ รู ับบริการ  ป ร ะ ชุ ม ห า รื อ เ กี่ ย ว กั บ แ น ว ท า ง ก า ร ร่ ว ม ง า น อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ เพื่อให้ แน่ใจว่าการทางานร่วมกับองค์กรภาคีเป็ นไปด้ วยความราบรื่ น  ห า ก จ า เ ป็ น อาจมีการประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขเพื่อจัดกิจกรรมการให้ คาปรึกษาและตรวจเลือดนอกส ถานที่ เพื่อให้ เข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายในชุมชนได้ มากขึ ้น ไม่ เลือกปฏิบัติ  ดูแลให้ สานักงานเป็ นสถานที่ทางานที่ปลอดจากการถูกคุกคามและการเลือกปฏิบตั ทิ กุ รูปแบบ  ก า กั บ ดู แ ล ง า น ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร ใ ห้ เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ ส ร้ า ง ค ว า ม อ บ อุ่ น เข้ าใจให้ แก่ผ้ รู ับบริการที่เป็ นคนชายขอบ กลุม่ เปราะบาง แรงงานต่างด้ าวและชนกลุม่ น้ อย  ก ากับ ดูแ ลสถานที่ ท างาน ให้ มี ส ภาพแวดล้ อ มที่ เ ป็ นมิ ต รส าหรั บ ผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ ทัง้ ผู้ห ญิ ง เด็ก ผู้ใช้ สารเสพติด และชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชาย  ส่งเสริมผู้รับบริการให้ เข้ าถึงบริการด้ านสุขภาพและลดช่องว่างทางสังคม ความรับผิดชอบต่ อองค์ กร  กากับดูแลโครงการร่วมกับผู้จดั การหรื อคณะกรรมการ และปฏิบตั ิตามโครงสร้ างการทางานที่กาหนด  เป็ นตัวแทนองค์กรในการประสานงานกับองค์กรเจ้ าภาพหรื อองค์กรท้ องถิ่น ในการศึกษาเรี ยนรู้เกี่ยวกับนโยบาย ขันตอนวิ ้ ธีการทางานของแต่ละหน่วยงาน  เป็ นตัวแทนองค์กรในการเข้ าร่วมประชุม หรื อร่วมกิจกรรมที่จดั โดยองค์กรท้ องถิ่น  มีสว่ นร่วมในการประเมินผลการดาเนินงานประจาปี  มีสว่ นร่วมในการพัฒนาทักษะการทางานแบบมืออาชีพของตัวคุณเอง

82


83


เกณฑ์ การคัดเลือก  มีประสบการณ์ในการกากับดูแลพนักงานหรื ออาสาสมัคร  มี ป ระสบการณ์ การให้ ค าปรึ กษาหรื อ ให้ ความช่ ว ยเหลื อ เกี่ ยวกั บ สวั ส ดิ ก าร ทางสั ง คม หรื อการให้ บริการแก่ผ้ ปู ่ วย  สามารถแสดงให้ เห็นถึงประสบการณ์การทางานร่วมกับคลินิกและโรงพยาบาล  สามารถแสดงให้ เห็ น ถึ ง ความเข้ าใจและความมุ่ ง มั่ น ต่ อ การท างานเพื่ อ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ และมีความอ่อนไหวต่อประชากรกลุม่ เสี่ยงหรื อประชากรกลุม่ เปราะบาง    

สามารถแสดงให้ เห็นถึงความคล่องตัวในการทางาน และความสามารถในการทางานเพียงลาพังได้ สามารถส่งมอบงานได้ ตามกาหนดเวลาและความคาดหวังขององค์กร สามารถสื่อสารและร่วมงานได้ กบั คนทุกระดับ สามารถเขียนนโยบาย กาหนดแผนงาน รายงานการประเมินผล และเขียนบทความได้

 มี วุ ฒิ ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น ส า ธ า ร ณ สุ ข ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ การให้ คาปรึกษาจะได้ รับการพิจารณาเป็ นพิเศษ การประเมินงาน ตาแหน่งนี ้จะได้ รับการประเมินงานเป็ นประจาทุกปี ในวันที่ [เพิ่มวัน]

84


รายละเอียดของตาแหน่ งงาน: เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม ใช้ ภายในสานักงานเท่านัน: ้ ชื่อตาแหน่งงาน: เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม แผนก: [เพิ่ม] วันที่พิจารณา: [เพิ่ม]

ลักษณะงาน: เจ้ าหน้ าที่ชวั่ คราว ระดับงาน: เจ้ าหน้ าที่ชวั่ คราว ระดับ 1 หัวหน้ าผู้ควบคุมงาน: ผู้ประสานงาน

การประชาสัมพันธ์ โครง การ การประสานค วาม ร่ ว มมื อเพื่ อก าร ดู แ ลช่ ว ยเ หลื อผู้ อ ยู่ ร่ วมกั บ เ ชื อ้ เป็ นร าย บุ ค ค ล เปิ ดรั บ สมั ค รเจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม (Caseworker) เพื่ อ ให้ ค าปรึ ก ษาและประสานงานส่ ง ต่ อ ผู้ ติ ด เชื อ้ ผู้ สมัค รควรเป็ นคนท้ องถิ่ น ที่ มี ป ระสบการณ์ ใ นการให้ บริ ก าร ให้ ข้ อมู ล ความรู้ หรื อ การดูแ ลผู้ ติ ด เชื อ้ ผู้ที่มีประสบการณ์ส่วนตัวหรื อประสบการณ์การทางานกับคลินิกและโรงพยาบาลจาเป็ นต้ องมีความเข้ าใจในป ระเด็นอ่อนไหวของผู้ติดเชือ้ หรื ออาจมีประสบการณ์ การให้ คาปรึ กษา ผู้สมัครสามารถทางานได้ โดยลาพัง มีทกั ษะการจัดการและเข้ ากับผู้อื่นได้ เป็ นอย่างดี มีความซื่อสัตย์ ความเห็นอกเห็นใจและความห่วงใยผู้อื่น งานตาแหน่งนีอ้ าจเป็ นเจ้ าหน้ าที่ประจา หรื ออาสาสมัคร โดยได้ รับค่าตอบแทนระหว่าง [เงินเดือนที่กาหนด] ต่ อ เ ดื อ น ทั ้ ง นี ้ ขึ ้ น อ ยู่ กั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ท า ง า น ที่ ผ่ า น ม า โดยทาสัญญาจ้ างงานเป็ นรายปี และสามารถต่อสัญญาได้ ถึง 5 ปี ขึ ้นอยู่กบั ผลการดาเนินงานและงบประมาณ ผู้ ส มั ค ร ส า ม า ร ถ ส่ ง จ ด ห ม า ย แ น ะ น า ตั ว ถึ ง ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น ไ ด้ ที่ [ ที่ อ ยู่ อี เ ม ล ] ผู้ ที่ ผ่ า น ก า ร คั ด เ ลื อ ก เ ท่ า นั ้ น จึ ง จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ติ ด ต่ อ ก ลั บ เ พื่ อ เ ชิ ญ ใ ห้ ม า สั ม ภ า ษ ณ์ สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ [ชื่อ] [หมายเลขโทรศัพท์] ปิ ดรับสมัครวันที่ [เพิ่มวัน] โครงการนี ้สนับสนุนให้ ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อร่วมสมัครงานในตาแหน่งดังกล่าว ภาพรวมโครงการ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ภายใต้ โครงการการประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคลจะทางานเป็ นที 85


ม เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารและประสานงานเพื่ อ ส่ ง ต่ อ คนไข้ ไ ปยัง สถานพยาบาลและช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม จ ะ รั บ ผิ ด ช อ บ ค น ไ ข้ ร ะ ห ว่ า ง 14-20 ค น ต่ อ เ ดื อ น แ ล ะ ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ประเมิ น สุข ภาพและท าการส่ ง ต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ห นุน เสริ ม จะรั บ ผิ ด ชอบงานเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารกิ จ กรรม และประสานงานกับคลินิกและสถานพยาบาลในท้ องถิ่น โดยได้ รับการสนับสนุนจากผู้ประสานงาน รายละเอียดโครงการ การประสานความร่ วมมือเพื่อการดูแลช่ วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ เป็ นรายบุคคล ทางโครงการให้ ความช่ ว ยเหลื อ และประสานงานเพื่ อ ส่ ง ต่ อ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ ให้ ไปรั บ บริ ก ารต่ า งๆ ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร เ ฉ พ า ะ ส่ ว น บุ ค ค ล เ พื่ อ ใ ห้ เ ข า เ ห ล่ า นั ้ น มี สุ ข ภ า พ ที่ แ ข็ ง แ ร ง ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ แ ล ะ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ท า ง โ ค ร ง ก า ร มี กิ จ ก ร ร ม “ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย จ า ก กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ห รื อ In-reach” ใ น ส ถ า น พ ย า บ า ล ซึ่งเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริ มจะนัดหมายกับคนไข้ เพื่อให้ คาปรึกษาหรื อให้ บริ การตามระบบสุขภาพทังแบบเป็ ้ นรายบุ คคลหรื อรายกลุม่ โครงการฯ มีวตั ถุประสงค์ในการดาเนินงานดังนี ้ 1. เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ใ ห้ แ ก่ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เพื่อให้ เขาเหล่านันสามารถเลื ้ อกเส้ นทางชีวิตของตนเองได้ 2. ทางานร่วมกับองค์กรภาคี สถานพยาบาลเพื่อให้ บริการด้ านสุขภาพแก่ผ้ อู ยูร่ ่วมกับเชื ้อ 3. ทางานเพื่อผลักดันเชิงนโยบายเกี่ยวกับนโยบายด้ านสาธารณสุข ความรับผิดชอบ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล จะทางานร่วมกันเป็ นทีมและมีสมาชิกในทีมสูงสุด 6 คน ทาหน้ าที่ในการประสานงานกับสถานพยาบาล คลินิก โ ร ง พ ย า บ า ล ใ น พื น้ ที่ ที่ ท า ง า น เ ป็ น ภา คี กั บ เ ร า เ พื่ อ ส่ ง ต่ อ ค น ไ ข้ ใ ห้ ไ ป รั บ บ ริ ก า รด้ า น สุ ข ภ าพ ร ว ม ถึ ง อ า จ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ภ า ค ส น า ม เ พื่ อ เ ชิ ญ ช ว น ใ ห้ ผู้ ที่ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ ที่ พ บ เ จ อ ใ น บ ริ เ ว ณ ส ถ า น พ ย า บ า ล เ ห ล่ า นั ้ น ให้ เข้ าร่วมโครงการและไปรับบริการด้ านสุขภาพ เงื่อนไข ค่าตอบแทน _________ บาทต่อวัน บวกค่าโทรศัพท์ประสานงาน _________ บาทต่อวัน 86


เวลาทางาน 8 ชัว่ โมงต่อวันรวม 4 วันต่อสัปดาห์ เวลาทางาน วันจันทร์ - วันเสาร์ 10:00-18:00 น.

87


บทบาทและความรับผิดชอบ เจ้ าหน้ าที่ ห นุ น เสริ ม เป็ นผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการประสานง านเพื่ อ การส่ ง ต่ อ ให้ ความช่ ว ย เหลื อ แนะนาโปรโมชัน่ และประสานงานระหว่างผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อและโครงการฯ และสถานพยาบาลที่ร่วมงานกัน ดังนี ้ การประสานงานเป็ นรายบุคคล และการให้ คาปรึกษาแบบเพื่อนช่ วยเพื่อน    

การเดินทางไปที่คลินิกและโรงพยาบาลที่ให้ บริ การ มีสว่ นร่วมในช่วงเริ่มต้ นการรักษาและการประเมินผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อในเบื ้องต้ น ให้ คาปรึกษาเบื ้องต้ นและให้ การช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นเวลา 3 เดือน ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อไปรับบริการที่อื่นและเฝ้าติดตามเป็ นระยะ

การบริหารงาน และการจัดการ  ใช้ แบบฟอร์ มที่มีให้ ในการเก็บข้ อมูลทุกครัง้ ที่ให้ บริการ  รวบรวมข้ อมูลการให้ บริการทุกวันเพื่อส่งผู้ประสานงาน  ปฏิบตั ติ ามระเบียบและขันตอนในการบริ ้ หารงานของสานักงาน การลงทะเบียน การใช้ ทรัพยากรต่างๆ ในการทางานและให้ บริการ การประสานงาน  เป็ นตัวแทนโครงการ การประสานความร่ วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยู่ร่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล ในการประสานงานและทางานร่วมกับสถานพยาบาลในพื ้นที่  เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ที่ ซึ่ ง เ ป็ น จุ ด นั ด พ บ ข อ ง ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้ อ เพื่อประชาสัมพันธ์บริการของโครงการฯ ไม่ เลือกปฏิบัติ  ดูแลให้ สานักงานเป็ นสถานที่ทางานที่ปลอดจากการถูกคุกคามและการเลือกปฏิบตั ทิ กุ รูปแบบ  ก า กั บ ดู แ ล ง า น ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร ใ ห้ เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ ส ร้ า ง ค ว า ม อ บ อุ่ น เข้ าใจให้ แก่ผ้ รู ับบริการที่เป็ นคนชายขอบ กลุม่ เปราะบาง แรงงานต่างด้ าวและชนกลุม่ น้ อย 88


 ก ากับ ดูแ ลสถานที่ ท างาน ให้ มี ส ภาพแวดล้ อ มที่ เ ป็ นมิ ต รส าหรั บ ผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ ทัง้ ผู้ห ญิ ง เด็ก ผู้ใช้ สารเสพติด และชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชาย  ส่งเสริมผู้รับบริการให้ เข้ าถึงบริการด้ านสุขภาพและลดช่องว่างทางสังคม ความรับผิดชอบต่ อองค์ กร  กากับดูแลงานร่วมกับผู้ประสานงาน (หรื อร่วมกับทีมบริ หาร) และปฏิบตั ิตามคาแนะนาที่เหมาะสมทังหมด ้  นาข้ อมูลที่ได้ จากการดาเนินโครงการไปปรับใช้ ในขันตอนของการออกแบบนโยบายและขั ้ นตอนปฎิ ้ บตั ิ งานของโครงการ เพื่อประโยชน์ในต้ องประสานความร่วมมือกับองค์กรอื่นในการให้ บริ การ  มีสว่ นร่วมในการประชุมทีมและการสร้ างทีมงาน  มีสว่ นร่วมในการประเมินผลการดาเนินงานประจาปี ของเจ้ าหน้ าที่  มีสว่ นร่วมในการพัฒนาทักษะการทางานแบบมืออาชีพของตัวคุณเอง เกณฑ์ การคัดเลือก  มีประสบการณ์ในการทางานกับผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อ อาจเป็ นการฝึ กอบรม การดูแลคนไข้  แสดงให้ เห็นถึงทักษะและประสบการณ์ในการให้ คาปรึกษาหรื อช่วยเหลือแบบเพื่อนช่วยเพื่อน  ประสบการณ์ในการทางานกับสถานพยาบาล คลินิกและโรงพยาบาล  แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ค ว า ม มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ท า ง า น กั บ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ โดยเฉพาะกลุม่ คนที่มีความเสี่ยงในการรับเชื ้อ  ความสามารถในการทางานได้ โดยลาพัง แต่สามารถทางานร่วมกับคนอื่นได้ เป็ นอย่างดี  มีทกั ษะการจัดการที่ดี กล้ าแสดงออกและเป็ นมิตรกับผู้อื่น  แสดงให้ เห็นถึงความซื่อสัตย์ และความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การประเมินงาน ตาแหน่งนี ้จะได้ รับการประเมินงานเป็ นประจาทุกปี ในวันที่ [เพิ่มวัน]

89


แบบฟอร์ มข้ อมูลส่ วนตัวของผู้รับบริการ ชื่อเจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม _________________ (เฉพาะอักษรตัวแรกของชื่อและนามสกุล) ชื่อผู้มารับบริการ: ___________________________ หมายเลข: ____________________________________ ที่อยู่: ____________________________________________________________________________________ เบอร์ มือถือ: _________________________________ อีเมล์: ________________________________________ สัญชาติ: อายุ: เพศ:

□ ? □ ? □ ? □ ? □ อื่นๆ _________ □ <18 □ 18-25 □ 25-30 □ 31-40 □ 41-49 □ 50-65 □ 66> □ ผู้หญิง □ ผู้ชาย □ เพศทางเลือก

ข้ อมูลทางการแพทย์ : ปริ มาณ CD4: ____ วันที่: / /

ปริมาณ Viral load: ____ วันที่: / /

การวินิจฉัยภาวะอาการป่ วยที่เกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ (ถ้ ามี):

อาการของโรคที่ปรากฏ (ถ้ ามี):

บริการเบือ้ งต้ นที่ได้ รับจากสถานพยาบาล □ VCT การรับคาปรึกษาและตรวจเลือดหาเอชไอวี □ การตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STI) □ การตรวจ CD4 □ การตรวจ Viral Load 90


□ บริการอื่นๆ (โปรดระบุ):

เรื่ องราวของผู้มารั บบริการ (สรุปเรื่ องราวของผู้มารับบริการตามที่อธิบายไว้ ในการประชุมครัง้ แรกของคุณ) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________

91


เส้ นทางชีวิตของผู้มารับบริการ สัปดาห์ที่ 12

บริ การที่ให้ คือ?

บริ การที่ให้ คือ?

บริ การที่ให้ คือ?

บริ การที่ให้ คือ?

การประชุมครัง้ แรก

92


แผนของกิจกรรมที่ทาร่วมกันเพื่อผู้รับบริ การ

เลขที่

กิจกรรรม

กาหนดการ

ใคร

รายละเอียด

1.

2.

3.

4.

93


5.

6.

7.

8.

94


การบันทึก การประชุม ครัง้ ที่ 1 (บันทึกสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ การประชุม ครัง้ ที่ 2 (บันทึกสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ การประชุม ครัง้ ที่ 3 (บันทึกสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ 95


การประชุม ครัง้ ที่ 4 (บันทึกสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ การประชุม ครัง้ ที่ 5 (บันทึกสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ การประชุม ครัง้ ที่ 6 (บันทึกสิ่งที่เกิดขึ ้น) _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________

96


หนังสือยินยอมเข้ าร่ วมโครงการ ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ คุ ณ เ ร า จ า เ ป็ น ต้ อ ง เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ข้ อ มู ล สุ ข ภ า พ ข อ ง คุ ณ แ ล ะ อ า จ ต้ อ ง ใ ช้ ข้ อ มู ล ดั ง ก ล่ า ว ใ น ก า ร ท า ง า น เนื่ อ งจากทางโครงการการประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดูแ ลช่ว ยเหลื อ ผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คล จ า เ ป็ น ต้ อ ง เ ก็ บ ป ร ะ วั ติ ก า ร รั ก ษ า ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ต่ ล ะ ค น ซึ่ ง ข้ อ มู ล ดั ง ก ล่ า ว จ ะ ถู ก เ ก็ บ ไ ว้ ใ น ตู้ เ อ ก ส า ร ซึ่ ง ล็ อ ก ไ ว้ ต ล อ ด เ ว ล า ภ า ย ใ น ส า นั ก ง า น ข อ ง เรา จะไม่มีผ้ ใู ดสามารถเข้ าถึงข้ อมูลส่วนตัวและรายละเอียดการติดต่อกับผู้รับบริการนอกจากจะได้ รับอนุญาตจาก เจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องเท่านัน้ เราจาเป็ นต้ องให้ ข้อมูลแก่แหล่งทุนหรื อหน่วยงานภาครัฐในกรณีที่ถูกร้ องขอ ซึ่งจะไม่มีการระบุข้อมูลส่วนตัว เ ช่ น ไ ม่ มี ชื่ อ ไ ม่ มี ที่ อ ยู่ ที่ ส า ม า ร ถ ร ะ บุ ตั ว ต น ข อ ง คุ ณ การให้ ความยินยอมของคุณหมายความว่าเราสามารถเก็บรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับคุณและการรายงานเกี่ยวกับ สุขภาพของคุณได้ ใช่

ไม่ใช่

คุณยินยอมและเห็นชอบหรื อไม่

- ข้ าพเจ้ าได้ รับทราบเกี่ยวกับเหตุผลและวิธีการเก็บรักษาข้ อมูลของข้ าพเจ้ า - ข้ าพเจ้ ามีสว่ นร่วมในการวางแผนช่วยเหลือสาหรับข้ าพเจ้ า

☐ ☐

☐ ☐

- ข้ าพเจ้ าได้ รับทราบเกี่ยวกับสถานที่และวิธีการเก็บรักษาข้ อมูลของข้ าพเจ้ า

ห ลั ง จ า ก ก า ร พู ด คุ ย กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ข อ ง เ ร า แ ล้ ว ห า ก คุ ณ จ ะ ช่ ว ย ป ร ะ ส า น ใ ห้ เ ร า ไ ด้ รู้ จั ก กั บ ห น่ ว ย ง า น ที่ ดู แ ล คุ ณ ก่ อ น ห น้ า เ ช่ น โ ร ง พ ย า บ า ล แ ล ะ ค ลิ นิ ก ห รื อ ห น่ ว ย ง า น ส วั ส ดิ ก า ร เ ร า ส า ม า ร ถ ติ ด ต่ อ กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห รื อ ห น่ ว ย ง า น ดั ง ก ล่ า ว ใ น น า ม ข อ ง คุ ณ เพื่อวางแผนร่วมกันในการให้ บริการแก่คณ ุ : 1. ________________________________________ 2. ________________________________________ 3. ________________________________________ 97


4. ________________________________________ ลงชื่อ: ______________________________ (..............................................................) ผู้รับบริ การ

วันที่: ____/____/____ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริม: _______ อักษรตัวแรกของชื่อ-นามสกุล

มาตราวัดความสามารถในการฟื ้ นคืนสู่สภาวะปกติของผู้อยู่ร่วมกับเชือ้ หมายเลขผู้รับบริการ: ________________ ระดับขัน้ 1 | 4 (วงกลมคาตอบ)

1 ไม่ใช่

2

วันที่: ____/____/____

3

การสิน้ หวังในชีวิต 4 5 6 ใช่

1

เวลามีปัญหาฉันมักจะคิดว่า ปั ญหาต้ องแก้ ไปทีละเปราะ อย่าเครี ยด

2

7

ปั ญหาเกี่ยวกับเอชไอวีทาให้ ฉนั ไม่สามารถวางแ การสิ ้นหวังในชีวิต หมายถึงระดับความสิ ้นหวังของแต่ละคนที่เกี่ยวกับเ ผนเกี่ยวกับอนาคตได้ อชไอวีและการใช้ ชีวิต ฉันรู้สกึ เจ็บปวดและวิตกกังวลเกี่ยวกับเอชไอวี ระดับต่างๆเปรี ยบเหมือนระดับจิตวิญญาณแห่งกา รต่อสู้ ฉันยอมแพ้ แล้ ว และผู้ที่ได้ คะแนนสูงแสดงให้ เห็นว่ามีอาการซึมเศร้ ฉันไม่คาดหวังอะไรกับอนาคตแล้ ว าและมีภาวะทางจิตวิทยาอื่น ๆ รวมทังผู ้ ้ ที่เพิ่งทราบผลการวินิจฉัยว่ามีเอชไอวีหรื อ ฉันมีแผนสาหรับอนาคต มีอาการของโรคฉวยโอกาสต่างๆ ฉันรู้สกึ สิ ้นหวังกับชีวิต

8

ฉันไม่คดิ ว่าจะมีอะไรที่ทาให้ ตวั เองรู้สึกดีขึ ้นได้

3 4 5 6

98


9

ฉันพยายามที่จะดาเนินชีวิตของฉันให้ เป็ นปกติเ หมือนที่ผา่ นมา

99


1 ไม่ใช่ 16 17 18 19

2

3

การควบคุมตนเอง 4 5 6 ใช่

ฉันหลีกเลี่ยงการหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เอชไอวี

การควบคุมตนเอง ฉันต้ องการที่จะติดต่อกับผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อคนอื่นๆ หมายถึงความตังใจที ้ ่เรี ยนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเอชไอ วีทงจากเพื ั้ ่อนๆ ผู้ที่อยูร่ ่วมกับเชื ้อและจากบุคคลากรทางการแพทย์ ฉันพยายามที่จะรับข้ อมูลข่าวสารให้ มากที่สดุ ที่ให้ การดูแลรักษา ้ ่จะใช้ ชีวิตอย่างเข้ มแข็งต่อไป ฉันให้ หมอเป็ นผู้กาหนดและตัดสินใจแทนในทุกเ และมีความตังใจที รื่ อง จิตวิญญาณแห่งการต่อสู ้หรื อการรับรู ้ความสามารถของตนเอง 1 2 3 4 5 6 ไม่ใช่ ใช่

10

11 12

13

ฉันทาในสิ่งที่ฉนั เชื่อว่าสามารถเปลี่ยนแปลงสุขภ าพของฉันได้ เช่น การลดน ้าหนัก

จิตวิญญาณแห่งการต่อสู้ หมายถึงความสามารถของแต่ละคนที่จะรู้สึกว่าพว ฉันเชื่อมัน่ ว่าฉันจะไม่เป็ นอะไร กเขามีพลังในตัวเอง ที่จะสามารถดูแลสุขภาพและควบคุมชีวิตของตัวเอ ฉันทาในสิ่งที่ฉนั เชื่อว่าสามารถพัฒนาให้ สขุ ภาพ งได้ ของฉันดีขึ ้นได้ เช่น การออกกาลังกาย ระดับคะแนนของหัวข้ อนี ้ตรงกันข้ ามกับหัวข้ อการสิ ้ นหวังในชีวิต ฉันเชื่อว่าทัศนคติที่ดีของฉันจะช่วยฉันได้

100


14

ฉันพยายามที่จะต่อสู้กบั ความเจ็บป่ วย

15

ฉันว่าคงไม่มีอะไรที่จะช่วยฉันได้ แล้ ว

เพราะในหัวข้ อนี ้การมีระดับคะแนนสูงแสดงว่ามีกา ลังใจที่ดี ยังมีแรงต่อสู้กบั อุปสรรค

1 ไม่ใช่ 20

ฉันได้ ฝากชีวิตไว้ ในฝี พระหัตถ์ของพระเจ้ า /แล้ วแต่บญ ุ แต่กรรมของแต่ละคน

21

ฉันมองแต่สิ่งที่ดีในชีวิต ส่วนสิ่งที่แย่นนช่ ั ้ างมัน

22

ฉันทาตัวให้ ยงุ่ เสมอ จะได้ ไม่มีเวลามาคิดเกี่ยวกับมัน

การลดความวิตกกังวลให้ น้อยลง หมายถึงความสามารถของแต่ละบุคคลในการพัฒ นาวิธีจดั การตนเอง เพื่อลดความวิตกกังวลหรื อสภาวะทางสุขภาพจิตเชิ งลบที่เกี่ยวข้ องกับเอชไอวี

1 ไม่ใช่ 23

ฉันพยายามทาให้ มนั กลายเป็ นเรื่ องตลก

24

คนอื่นๆ กังวลเกี่ยวกับมันมากขึ ้นกว่าฉันซะอีก

2

การลดความวิตกกังวลให้นอ้ ยลง 3 4 5 6 ใช่

2

3

การมีความหวังในชีวิต 4 5 6 ใช่

การมีความหวังในชีวิต หมายถึงความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะรวมวิธี จัดการตนเอง เพื่อปกป้องสภาวะทางสุขภาพจิตเชิงลบ และสร้ างกาลังใจให้ แก่ตนเองเมื่อทราบผลวินิจฉัยว่ ามีเอชไอวี

101


102


ข้ อมูลสาหรั บผู้รับบริการชุดที่ 1: ข้ อกาหนดเรื่ องสิทธิและความรั บผิดชอบของผู้รับบริการ ในการเข้ า ร่ ว มโครงการการประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดูแ ลช่ว ยเหลื อ ผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ เป็ นรายบุค คล เราต้ องการให้ คณ ุ เข้ าใจสิทธิและความรับผิดชอบของคุณ ดังนี ้ สิทธิของคุณ ในฐานะผู้รับบริการ คุณจะได้ รับสิทธิดงั ต่อไปนี ้  ได้ รับการปฏิบตั ดิ ้ วยความเคารพและมีมารยาท  ได้ รับการประเมินความต้ องการของคุณ      

ได้ เป็ นส่วนหนึง่ ของการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริการที่เรามีให้ คณ ุ ได้ รับบริการที่มีคณ ุ ภาพ มีสิทธิที่จะร้ องเรี ยนได้ โดยจะไม่สง่ ผลกระทบใดๆ ต่อคุณภาพของบริการที่คณ ุ ได้ รับจากเรา มีตวั แทนหรื อผู้ให้ ความช่วยเหลือในการดาเนินการเกี่ยวกับการรักษาของคุณ มีความเป็ นส่วนตัวและการเก็บรักษาความลับของคุณ รวมถึงข้ อมูลส่วนบุคคลทังหมดที ้ ่จดั เก็บโดยเรา ได้ รับข้ อมูลที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับโครงการและการบริการที่เรามีให้ แก่คณ ุ

 ได้ รับการดูแลอย่างเท่าเทียม โดยไม่เลือกอายุ เชื ้อชาติ ศาสนา เพศกาเนิด หรื อเพศภาวะ  สามารถร้ องขอเพื่อไปรับบริการในสถานบริการที่ตอบสนองความต้ องการของคุณได้ ความรับผิดชอบของคุณ ในฐานะผู้รับบริการจากเรา เราใคร่ขอความร่วมมือจากคุณดังนี ้  สื่อสารกับเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัครของเรา รวมถึงผู้รับบริการท่านอื่นๆ ที่มีความเคารพและมีมารยาท เช่น แจ้ งให้ เราทราบทันทีที่คณ ุ ต้ องเลื่อนเวลานัดหมาย  ร่ วมกันสร้ างสภาพแวดล้ อมที่ปลอดภัยสาหรับเจ้ าหน้ าที่ อาสาสมัครและผู้รับบริ ก ารท่านอื่นๆ เช่น การงดสูบบุหรี่ ในสานักงาน  ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร น า พ า เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง เ ร า ไ ป ใ น ส ถ า น ที่ อั น ต ร า ย หรื อไปสูส่ ถานการณ์ที่สมุ่ เสี่ยงต่อการกระทาผิดกฎหมาย หรื อทาลายภาพลักษณ์ขององค์กร  แจ้ งให้ เราทราบที่อยู่ หรื อเบอร์ โทรใหม่ทกุ ครัง้ หากท่านมีการเปลี่ยนแปลง  แจ้ งให้ เราทราบหากคุณต้ องการยุติความช่วยเหลือหรื อบริการจากเรา  รับผิดชอบในผลของการปฏิบตั หิ รื อการรักษาใดๆ ที่คณ ุ ได้ ร่วมวางแผนและตัดสินใจร่วมกับเรา 103


ข้ อมูลสาหรั บผู้รับบริการชุดที่ 2: นโยบายความเป็ นส่ วนตัวและการรั กษาความลับของเรา แผ่นพับข้ อมูลนี ้จะบอกคุณเกี่ยวกับขันตอนการท ้ างานของเรา เพื่อรักษาความเป็ นส่วนตัวและข้ อมูลของคุณให้ เป็ นความลับ ความมุ่งมั่นของเรา โครง การ การประสานค วาม ร่ ว มมื อเพื่ อก าร ดู แ ลช่ ว ยเ หลื อผู้ อ ยู่ ร่ วมกั บ เ ชื อ้ เป็ นร าย บุ ค ค ล ข อ ง เ ร า มี ค ว า ม มุ่ ง มั่ น อ ย่ า ง แ ร ง ก ล้ า ที่ จ ะ รั ก ษ า ค ว า ม ลั บ แ ล ะ ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ข อ ง คุ ณ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ คุ ณ จะไม่ ถู ก เปิ ดเผยหรื อเผยแพร่ ไ ปให้ กั บ ผู้ อื่ น โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต เจ้ าหน้ าที่ และอาสาสมัค รของเราได้ รั บ การฝึ กอบรมในการรั ก ษาความลับและความเป็ นส่วนตัว ของคุณ แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค า แ น ะ น า ที่ ชั ด เ จ น เ กี่ ย ว กั บ วิ ธี ก า ร ท า ง า น ทั ้ง นี ้พ ว ก เ ข า ไ ด้ ล ง น า ม ใ น สั ญ ญ า ซึ่ ง ร ะ บุ ชั ด เ จ น ถึ ง ก า ร รั ก ษ า ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ข อ ง คุ ณ อ ย่ า ง ร ะ มั ด ร ะ วั ง จึงมัน่ ใจได้ วา่ เราจะทาทุกอย่างเพื่อรักษาความเป็ นส่วนตัวของคุณ เป้าหมายของนโยบายการรักษาความเป็ นส่ วนตัวของเรา เรามี เ ป้ าหมายที่ ชัด เจนในการรั ก ษาข้ อมู ล ส่ ว นตัว และประเด็ น ละเอี ย ดอ่ อ นของผู้ รั บ บริ ก ารของเรา โ ด ย ก า ร ใ ห้ วิ ธี ก า ร ท า ง า น ที่ ชั ด เ จ น แ ก่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม รวมถึงอาสาสมัครเกี่ยวกับภาระหน้ าที่ของตนที่จะต้ องรักษาข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับบริการ นโยบายการรักษาความลับของเรามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครมีคาแนะนาและวิธีการดาเนิ นงานที่ ชั ด เจน เพื่ อ ช่ ว ยให้ การปฏิ บั ติ ง านในทุ ก ๆ วั น เป็ นไปตามมาตรฐานและมี คุ ณ ภาพสู ง สุ ด เจ้ าหน้ าที่ทกุ คนรวมถึงอาสาสมัครจะปฏิบตั ิตามนโยบายนี ้อย่างเคร่งครัด การยินยอมเข้ าร่ วมโครงการของคุณ ใ น ก า ร พ บ กั น ค รั ้ง แ ร ก ร ะ ห ว่ า ง คุ ณ แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ห รื อ อ า ส า ส มั ค ร ข อ ง โ ค ร ง ก า ร คุ ณ จ ะ ถู ก ข อ ใ ห้ ล ง น า ม ใ น แ บ บ ฟ อ ร์ ม ก า ร ยิ น ย อ ม เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร โ ด ย ไ ด้ ร ะ บุ ว่ า คุ ณ ยิ น ย อ มใ ห้ เจ้ าห น้ า ที่ ข อ ง เ รา เ ก็ บ ร ว บ รว ม เอ ก สา ร แ ละข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ คุ ณ และเมื่อเราต้ องจัดทารายงานหรื อสื่อเพื่อเสนอต่อแก่หน่วยงานรัฐ หรื อแหล่งทุนของเรา คุณยินยอมที่จะแบ่งปั น ข้ อมูลของคุณในรูปแบบนิรนาม (ไม่ระบุชื่อของคุณในเอกสาร)

104


เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครทุกคนได้ มีการลงนามในสัญญารักษาความลับและข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับบริ การ ภายใต้ โครงการการประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ อยู่ ร่ ว มกั บ เชื อ้ เป็ นรายบุ ค คลนี ้ ดั ง นั ้ น เ จ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า ส า ส มั ค ร รวมถึงบุคคลที่เกี่ ยวข้ องกับโครงการจะปฏิ บัติตามนโยบายดัง กล่าวอย่างเคร่ ง ครั ด หากมีการส่งต่อข้ อมูล หรื อการถ่ายทอดข้ อมูลส่วนตัวใดๆ เกี่ยวกับผู้รับบริการทังทางตรงและทางอ้ ้ อม ล้ วนเป็ นการละเมิดสัญญา เ ร า เ ก็ บ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ใ น ตู้ เ ก็ บ เ อ ก ส า ร ซึ่ ง จ ะ ถู ก ล็ อ ค อ ยู่ เ ส ม อ ข้ อมูล เกี่ ยวกับ ผู้รั บ บริ ก ารจะไม่ถูกทิง้ ไว้ บนโต๊ ะ ทางานหรื อ ที่ ถ่ า ยเอกสารหรื อสถานที่ อื่ น ๆ ในส านัก งาน เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครจะเก็บแฟ้มคนไข้ และข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องทุกครัง้ หลังบันทึกความคืบหน้ าเสร็จสิ ้นและตู้เ อ ก ส า ร จ ะ ถู ก ปิ ด ล็ อ ค ทั น ที เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ จ ะ มี ร หั ส ผ่ า น และมีเพียงเจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องเท่านันจึ ้ งจะมีกญ ุ แจตู้เอกสารและรหัสผ่านเพื่อเปิ ดคอมพิวเตอร์ เ ร า ใ ห้ ค า แ น ะ น า แ ล ะ วิ ธี ก า ร ท า ง า น ที่ ชั ด เ จ น เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครมีวิธีการจัดเก็บและส่งต่อข้ อมูลเกี่ยวกับผู้รับบริ การ ดังนี ้  ก า ร ฝ า ก บั น ทึ ก เ สี ย ง (Voice Mail) แ ล ะ โ ท ร ส า ร (Fax): ไม่มี ก ารฝากข้ อ ความหรื อ หากต้ อ งฝากบัน ทึ ก เสี ย ง จะไม่มี ข้ อ มูล ส่ว นตัว ของผู้รั บ บริ ก ารในนัน้ แ ล ะ เ มื่ อ ต้ อ ง ก า ร ส่ ง โ ท ร ส า ร จะต้ องมีการโทรศัพท์ตดิ ต่อกับเจ้ าหน้ าที่ที่รับเรื่ องเพื่อให้ เขาอยูร่ อรับเอกสาร  อี เ มล์ : โดยทั่ว ไปเจ้ าหน้ าที่ แ ละอาสาสมั ค รจะติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ยงานผู้ ให้ บริ ก ารทางโทรศัพ ท์ หากจาเป็ นต้ องส่งอีเมล์ จะมีการใช้ รหัสแทนการระบุชื่อ โดยใช้ อกั ษรสองตัวแรกของชื่อและสกุล เช่น สมชาย อกสามศอก เป็ น สมอก ดังตัวอย่างนี ้

เรี ยนคุณชารอน จากการสนทนาของเราเกี่ยวกับผู้รับบริการ: สมอก ผมส่งอีเมลนี ้มาเพื่อยืนยันว่าเขาพร้ อมที่จะพบกับคุณในวันที่ 13 ธันวาคม เวลา 10:00 ที่สานักงานของคุณ ขอแสดงความนับถือ 105


จอห์น สมิธ  ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ ข้ อ มู ล : ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร ห า ก ต้ อ ง มี ก า ร น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ใ น ง า น ป ร ะ ชุ ม ฝึ ก อ บ ร ม สั ม ม น า ข้ อ มู ล ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ก็ จ ะ ยั ง ถู ก เ ก็ บ เ ป็ น ค ว า ม ลั บ ยกเว้ นในกรณีที่ผ้ รู ับบริ การจะยินยอมโดยทาเป็ นหนังสือยินยอมให้ ระบุชื่อหรื อระบุตวั ตนในการนาเสน อนันๆ ้ ได้  การสนทนา: เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัคร จะไม่มีการพูดคุยเกี่ยวกับข้ อมูลผู้รับบริการในพื ้นที่สาธารณะ เช่น ทางเดิน ห้ องนัง่ รอ ห้ องอาหาร ในลิฟท์ หรื อห้ องน ้า  สอบถามข้ อ มู ลเกี่ ยวกั บ ผู้ รับ บริ การ: ในกรณี ที่ต้องประสานงานกับหน่วยงานอื่ นเพื่อให้ บริ การ เจ้ าหน้ าที่ แ ละอาสาสมั ค รจะไม่ ยื น ยั น ว่ า บุ ค คลดั ง กล่ า วเป็ น ผู้ รั บ บริ ก ารภายใต้ โครงการ ห รื อ เ ปิ ด เ ผ ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ โ ค ร ง ก า ร หรื อเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับผู้รับบริ การไปยังบุคคลที่สาม นอกจากได้ รับความยินยอมจากผู้รับบริการ  ส านั ก งาน: เมื่ อ มี ผ้ ู มาเยี่ ย มส านั ก งาน (เช่ น ผู้ รั บ บริ ก าร หรื อ เจ้ าหน้ าที่ จ ากหน่ ว ยงานอื่ น ) เราจะมีเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัครดูแลตลอดเวลา คุณควรทาอย่ างไร หากคุณเชื่อว่ ากาลังถูกละเมิดความเป็ นส่ วนตัว เจ้ าหน้ าที่และอาสาสมัครของเราได้ รับการฝึ กอบรมและมุง่ มัน่ ที่จะป้องกันไม่ให้ มีการละเมิดความเป็ นส่วนตัวแ ละการรักษาความลับของคุณ แต่หากคุณเชื่อว่าคุณกาลังถูกละเมิดความเป็ นส่วนตัว กรุ ณาติดต่อเราทันที [ชื่อ, ตาแหน่ง เบอร์ โทร อีเมล์] และเราจะดาเนินการดังนี ้:  ปฏิบตั ติ อ่ คุณด้ วยความเคารพและจริงจังต่อการร้ องเรี ยนของคุณ  ตรวจสอบข้ อเท็จจริงเกี่ยวกับการร้ องเรี ยนภายในหนึง่ สัปดาห์และจะชี ้แจงผลการสอบสวนของเรา  จัดเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัครคนใหม่ไปดูแลคุณ

106


ข้ อมูลสาหรั บผู้รับบริการชุดที่ 3: นโยบายการแก้ ปัญหาสาหรั บข้ อร้ องเรี ยน เกี่ยวกับนโยบายนี ้ น โ ย บ า ย นี ้ ใ ช้ เ พื่ อ อ ธิ บ า ย ขั ้ น ต อ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า จากการที่เราได้ รับข้ อร้ องเรี ยนจากผู้รับบริการหรื อผู้มีส่วนได้ เสียเกี่ยวกับพฤติกรรมหรื อการให้ บริ การของเจ้ าห น้ า ที่ ห รื อ อ า ส า ส มั ค ร ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” ซึง่ จะมีรายละเอียดขันตอนที ้ ่จะดาเนินการในกรณีที่มีการร้ องเรี ยนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรหรื อเกิดความไม่พึงพอ ใจ และผู้ที่มีหน้ าที่รับผิดชอบในการแก้ ไขปั ญหาตามข้ อร้ องเรี ยนเหล่านี ้ จุดมุ่งหมายของนโยบายนี ้  เ พื่ อ ป รั บ ป รุ ง บ ริ ก า ร ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ โ ด ย ก า ร ม อ ง เ ชิ ง บ ว ก ว่ า เ รื่ อ ง ที่ ถู ก ร้ อ ง เ รี ย น จะช่ ว ยให้ เราเห็ น ถึ ง ช่ อ งว่ า งของบ ริ ก ารและเป็ นกลไกการพั ฒ นาระบบบริ การให้ ดี ยิ่ ง ขึ น้ รวมถึงเป็ นการเสริมสร้ างชื่อเสียงของโครงการ  เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ร ว ด เ ร็ ว ใ น ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น เ กี่ ย ว กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ อาสาสมัครเพื่อนาไปสูก่ ารแก้ ไขอย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ  เพื่อให้ เป็ นกลไกที่โปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ และถือเป็ นการทบทวนการทางานของโครงการ “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื อ้ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” ในการจัดการแก้ ไขปั ญหาที่เกี่ยวข้ องกับข้ อร้ องเรี ยน ขอบเขตของนโยบาย นโยบายนี ค้ รอบคลุ ม ถึ ง กิ จ กรรม ความรั บ ผิ ด ชอบ การรายงานความสั ม พั น ธ์ ของเจ้ าหน้ าที่ อ า ส า ส มั ค ร แ ล ะ ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ โ ค ร ง ก า ร “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล” การส่ งเสริมนโยบายดังกล่ าว ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ โ ค ร ง ก า ร “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” 107


จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร แ จ้ ง ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง สิ ท ธิ ข อ ง ต น ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เ กี่ ย ว กั บ ข้ อ ร้ อ ง เ รี ย น ซึ่ ง ทุ ก ค น จ ะ ต้ อ ง พ บ เ จ อ ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ห รื อ อ า ส า ส มั ค ร เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม น โ ย บ า ย ดั ง ก ล่ า ว ทางโครงการจะดาเนินการดังนี ้: 1. ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ทุ ก ค น จ ะ ไ ด้ รั บ เ อ ก ส า ร ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ สิ ท ธิ ข อ ง ผู้ ป่ ว ย เพื่อทาการประเมินผลการดาเนินงานและจะได้ รับการอธิบายเกี่ยวกับช่องทางและวิธีการในการร้ องเรี ยนเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัคร 2. มี ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ช่ อ ง ท า ง แ ล ะ วิ ธี ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น เ ผ ย แ พ ร่ อ ยู่ บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ โ ค ร ง ก า ร “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล”

การแก้ ไขปั ญหาข้ อร้ องเรี ยน หลักการทั่วไป 1. ทาง โครง การยิ น ดี ที่ จะรั บฟั ง ทุ ก ข้ อ ร้ อง เรี ยน เพื่ อน าไ ปพั ฒ นาการท าง านให้ ดี ยิ่ ง ขึ น้ รวมถึงการเสริมสร้ างชื่อเสียงของโครงการ 2. ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ โ ค ร ง ก า ร มีสิทธิที่จะร่วมแก้ ไขปั ญหาเกี่ยวกับข้ อร้ องเรี ยนที่มีตอ่ เจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัครและบริการ 3. ผู้ ร้ อ ง เ รี ย น จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ค ว า ม เ ค า ร พ และจะไม่ มี ก ารฟ้ องกลั บ จากเจ้ าหน้ าที่ ห รื อบุ ค คลอื่ น ใดที่ มี ส่ ว นเกี่ ยวข้ องกั บ โครง การ “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล” การร้ องเรี ยน 1. สอบถามวิธีการร้ องเรี ยนเกี่ยวกับบริ การที่ได้ รับสามารถติดต่อ [ชื่อ, หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล์] 2. คุณสามารถทาการร้ องเรี ยนทางวาจาและทางโครงการจะบันทึกและจัดทาเอกสารร้ องเรี ยนเป็ นลายลั กษณ์อกั ษรให้ ในนามของคุณ 3. คุณสามารถส่งคาร้ องเรี ยนทางไปรษณีย์ พร้ อมเขียนหน้ าซองว่า “เอกสารลับ” แล้ วส่งมายัง [ชื่อ ที่อยู่] 4. คุณสามารถส่งคาร้ องเรี ยนทางอีเมล์ ไปยัง [อีเมล์]

108


5. ห า ก ค า ร้ อ ง เ รี ย น ดั ง ก ล่ า ว เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ผู้ จั ด ก า ร โ ค ร ง ก า ร คุณสามารถส่งคาร้ องเรี ยนดังกล่าวไปยังผู้อานวยการ โดยเขียนหน้ าซองว่า “เอกสารลับ” แล้ วส่งมายัง [ชื่อ ที่อยู]่ 6. หากคาร้ องเรี ยนดังกล่าวเกี่ยวข้ องกับผู้อานวยการ คุณสามารถส่งคาร้ องเรี ยนดังกล่าวไปยัง [ชื่อ ที่อยู่] 7. คุ ณ ส า ม า ร ถ ส่ ง ข้ อ ร้ อ ง เ รี ย น โ ด ย ไ ม่ ร ะ บุ ชื่ อ แ ต่ ห า ก คุ ณ ต้ อ ง ก า ร ท ร า บ ผ ล ก า ร พิ จ า ร ณ า แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว จาเป็ นต้ องมีชื่อและรายละเอียดการติดต่อกลับ

109


การแก้ ไขปั ญหาข้ อร้ องเรี ยน 1. การร้ องเรี ยนจะได้ รับการพิจารณาอย่างรอบคอบโดยผู้บริหารโครงการ 2. ที ม ผู้ บริ ห ารจะพิ จ ารณาและหารื อเกี่ ย วกั บ การร้ องเรี ยน การหารื อจะได้ รั บ การ จดบั น ทึ ก และข้ อร้ องเรี ยนทุกข้ อจะได้ รับการพิจารณา 3. จากนันจะด ้ าเนินการดังนี ้:  ป ร ะ เ ด็ น ที่ 1: ไ ม่ พึ ง พ อ ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ข อ ง น โ ย บ า ย ขัน้ ตอนการให้ บริการหรือระบบ การแก้ ไขปั ญหาจะท าเพื่ อ เปลี่ ย นแปลงนโยบาย ขั น้ ตอนการให้ บริ การและระบบ รวมถึงการพัฒนาขันตอนการติ ้ ดตามตรวจสอบ  ประเด็นที่ 2: ไม่ พงึ พอใจต่ อตัวบุคคล ให้ การช่วยเหลือและให้ คาปรึ กษาแก่เจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัคร เพื่อให้ เขาเข้ าใจปั ญหาที่เกิดขึ ้น ร ว ม ถึ ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ท า ง า น ซึง่ ผู้จดั การโครงการจะต้ องติดตามตรวจสอบเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของเจ้ าหน้ าที่แ ละอาสาสมัครคนดังกล่าว  ประเด็นที่ 3: บุคคลที่ถูกร้ องเรี ยนยังมีพฤติกรรมตามข้ อร้ องเรี ยนอย่ างต่ อเนื่อง ห ลั ง จ า ก ไ ด้ รั บ ก า ร ตั ก เ ตื อ น ห รื อ ก า ร แ จ้ ง เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร แ ล้ ว ห า ก เ จ้ า ห น้ า ที่ ห รื อ อ า ส า ส มั ค ร ดั ง ก ล่ า ว ยั ง มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ต า ม ค า ร้ อ ง เ รี ย น อี ก ก็มีความจาเป็ นที่จะต้ องเลิกจ้ าง  ประเด็นที่ 4: การกระทาที่ผิดกฎหมายหรือทุจริต ส าหรั บ เจ้ าหน้ าที่ ห รื ออาสาสมั ค รที่ ก ระท าผิ ด ต่ อ กฎหมายหรื อมี ก ารทุ จ ริ ตในหน้ าที่ ส่งผลให้ บคุ คลดังกล่าวถูกเลิกจ้ างทันที  ประเด็นที่ 5: ผู้บริหารมีความชอบธรรมในการตัดสินใจและดาเนินการ ผู้อานวยการขององค์กรอาจตัดสินใจที่ จ ะไม่ดาเนินการใดและอาจจะไม่มี ข้อตกลงใดเกิดขึน้ หากมีเหตุให้ เชื่อได้ วา่ ปั ญหาดังกล่าวจะหาข้ อสรุปไม่ได้ การแจ้ งผลการพิจารณา 1. ท า ง โ ค ร ง ก า ร จ ะ แ จ้ ง ผ ล ก า ร พิ จ า ร ณ า หรื อวิธีการแก้ ไขปั ญหาให้ คณ ุ ทราบทางโทรศัพท์หรื อเป็ นการพูดคุยกัน 110


2. จะมีจดหมายหรื ออีเมล์ตอบกลับไปยังผู้ร้องเรี ยน (ในกรณีที่ผ้ รู ้ องเรี ยนได้ ระบุตวั ตนและที่อยู่) 3. หากมีการแก้ ไขปั ญหาตามประเด็นที่ 5 ข้ างต้ น จะมีจดหมายชี ้แจงเป็ นลายลักษณ์อกั ษรส่งให้ แก่ทา่ น หากไม่ พงึ พอใจต่ อการแก้ ไขปั ญหาข้ อร้ องเรี ยน ใ น ก ร ณี ที่ ผู้ ร้ อ ง เ รี ย น ยั ง ค ง ไ ม่ พ อ ใ จ กั บ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร “ ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ เ ชื ้อ เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ” รวมถึงมีความกังวลใจเกี่ยวกับกระบวนการที่เกี่ยวข้ อง เราจะมีกระบวนการไกล่เกลี่ยเพื่อช่วยแก้ ไขปั ญหา ดังนี ้ 1. ผู้ ร้ อ ง เ รี ย น จ ะ ต้ อ ง เ ขี ย น ค า ร้ อ ง เ รี ย น ( ต า ม ขั ้ น ต อ น ที่ ร ะ บุ ไ ว้ ข้ า ง ต้ น ) พร้ อมกับคาอธิบายถึงเหตุผลที่จะขอไกล่เกลี่ยโดยบุคคลภายนอก (หรื อบุคคลที่สาม) 2. ทางโครงการ “การประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ การดูแ ลช่ว ยเหลื อ ผู้อ ยู่ร่ ว มกับ เชื อ้ เป็ นรายบุคคล” จะประสานกับหน่วยงานภายนอกหรื อบุคคลที่สาม มาช่วยเหลือและไกล่เกลี่ยเพื่อหาทางออกร่วมกัน บุคคลที่สามนี ้อาจจะเป็ นผู้ให้ บริการในท้ องถิ่น คลินิกหรื อโรงพยาบาลที่ค้ นุ เคยกับผู้รับบริการ การร้ องเรี ยนเพื่อก่ อกวน ในบางกรณี ที่โครงการ “การประสานความร่ วมมื อเพื่ อการดูแลช่วยเหลื อผู้อยู่ร่วมกับเชื อ้ เป็ นรายบุค คล” อ า จ พิ จ า ร ณ า ว่ า เ ป็ น ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น เ พื่ อ ก่ อ ก ว น ก า ร ท า ง า น ผู้ ร้ องเรี ย นบางท่ า นอาจใช้ หลั ก ฐานของความสัม พัน ธ์ ก่ อ นหน้ า เกี่ ย วกั บ เจ้ าหน้ าที่ ห รื อ อาสาสมั ค ร รวมไปถึงการใช้ ผลการพิจารณาแก้ ไขปั ญหาคาร้ องเรี ยน มาเพื่อข่มขู่หรื อกลัน่ แกล้ งเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัคร ในกรณีดงั กล่าว ทางโครงการ “การประสานความร่วมมือเพื่อการดูแลช่วยเหลือผู้อยูร่ ่วมกับเชื ้อเป็ นรายบุคคล” มีความจาเป็ นที่จะต้ องปกป้องเจ้ าหน้ าที่หรื ออาสาสมัคร ไม่ได้ ตกเป็ นเหยื่อจากการกระทาดังกล่าว หรื อในกรณี ที่ ผู้ ร้ องเรี ยนยั ง คง ร้ อง เรี ยนเกี่ ยวกั บ ปั ญหาเดิ ม หรื อกั บ บุ ค คลเดิ ม ซ า้ แล้ ว ซ า้ อี ก ทั ง้ ที่ ข้ อร้ องเรี ยนดั ง กล่ า วได้ รั บ การพิ จ ารณาแก้ ไขไปเป็ นที่ เ รี ยบร้ อยแล้ ว ในกรณี นี ท้ างโครงการ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น ว่ า เ ป็ น ก า ร ก่ อ ก ว น ห รื อ ก ลั่ น แ ก ล้ ง ห รื อ ไ ม่ และอาจไม่รับพิจารณาข้ อร้ องเรี ยนจากบุคคลดังกล่าวอีก พร้ อมกับนี ้ ทางโครงการจะเขียนจดหมายชี ้แจงส่งถึงบุคคลดังกล่าว ถึงการตัดสินใจไม่รับพิจารณาข้ อร้ องเรี ยนในอนาคต

111


112


แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ขอขอบคุณสาหรับการเข้ าร่วมในการสารวจความพึงพอใจของลูกค้ า ความคิดเห็นของคุณเป็ นสิ่งสาคัญ มันจะช่วยให้ เราเรี ยนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่เป็ นสิ่งที่ดีและสิ่งที่เราสามารถปรับปรุงเกี่ยวกับการบริ การของเรา กรุณากรอกแล้ วใส่ในซองจดหมายที่มีให้ ขอบคุณสาหรับการตอบแบบสารวจความพึงพอใจของผู้มารับบริ การ ความคิดเห็นของคุณเป็ นสิ่งที่สาคัญที่จะช่วยให้ เราเรี ยนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ดี และสิ่งที่เราสามารถปรับปรุงบริการของเราให้ ดียิ่งขึ ้น กรุณากรอกแบบสารวจแล้ วใส่ในซองจดหมายที่มีให้ หรื อส่งคืนเจ้ าหน้ าที่ของเราค่ะ เกี่ยวกับตัวคุณ 1. คุณอาศัยอยูท่ ี่ อาเภอ ............................................... จังหวัด ....................................................... 2. เพศภาวะของคุณคือ 3. ประเทศที่เกิด 4. คุณสามารถพูดภาษา

( ) ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชาย (MSM) ( ) สาวประเภทสอง (TG) ( ) ไทย ( ) อื่นๆ ............................ ( ) ไทย ( ) พม่า ( ) ไทใหญ่ ( ) อื่นๆ ......................

การติดต่ อกับเจ้ าหน้ าที่ของเราครั ง้ แรก ในการพบกันครัง้ แรก เจ้ าหน้ าที่ของเราได้ แจ้ งให้ คณ ุ ทราบเกี่ยวกับเรื่ องดังนี ้หรื อไม่ 1. สิทธิและความรับผิดชอบของคุณในฐานะผู้รับบริ การ 2. ช่องทางและวิธีการร้ องเรี ยน

( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ใช่ ( ) บางครัง้

( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ใช่

3. วิธีการเก็บรักษาข้ อมูลและแฟ้มคนไข้ ของเรา 4. นโยบายการรักษาความลับของคุณ

( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ใช่ ( ) บางครัง้

( ) ไม่ใช่ ( ) ไม่ใช่

คุณมีประเด็นอื่นที่ต้องการจะเพิ่มเติมหรื อไม่

113


การติดต่ อกับสานักงานและเจ้ าหน้ าที่อ่ ืนๆ ของเรา 1. 2. 3. 4. 5.

เมื่อคุณโทรติดต่อเข้ ามา เจ้ าหน้ าที่ของเราพูดจาสุภาพกับคุณ ( ) ใช่ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมที่ดแู ลคุณ ติดต่อกลับหาคุณทันที ( ) ใช่ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ ทาในสิ่งที่พวกเขารับปากไว้ ( ) ใช่ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ ร่วมวางแผนการรักษากับคุณ ( ) ใช่ เจ้ าหน้ าที่หนุนเสริมได้ ร่วมพูดคุยกับคุณตามที่ได้ นดั หมายกันไว้ ( ) ใช่

( ) บางครัง้ ( ( ) บางครัง้ ( ( ) บางครัง้ ( ( ) บางครัง้ ( ( )บางครัง้ (

) ไม่ใช่ ) ไม่ใช่ ) ไม่ใช่ ) ไม่ใช่ ) ไม่ใช่

คุณมีประเด็นอื่นที่ต้องการจะเพิ่มเติมหรื อไม่

ผลจากการรับบริการจากเรา 1. คุณมีความพึงพอใจกับบริการที่ได้ รับจากเรา ( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ไม่ใช่ 2. คุณสามารถรับมือกับปั ญหาและจัดการชีวิตตนเองได้ ดีกว่า ช่วงเวลาก่อนรับบริการจากเรา ( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ไม่ใช่ 3. คุณรู้สกึ ว่ามีความหวังในชีวิตและสามารถบรรลุความฝั นที่ตงไว้ ั้ ซึง่ เป็ นความรู้สึกที่ดีกว่าช่วงเวลาก่อนรับบริการจากเรา ( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ไม่ใช่ 4. คุณรู้จกั เพื่อนใหม่ๆ ที่อยูร่ ่วมกับเชื ้อ ( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ไม่ใช่ 5. คุณเข้ าถึงบริการด้ านสุขภาพได้ มากขึ ้นและรู้สกึ สะดวก ง่ายดายขึ ้น ( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ไม่ใช่ 6. คุณมีความมัน่ ใจเกี่ยวกับอนาคตของคุณ ( ) ใช่ ( ) บางครัง้ ( ) ไม่ใช่ คุณมีประเด็นอื่นที่ต้องการจะเพิ่มเติมหรื อไม่

114


ขอขอบคุณอีกครัง้ สาหรับการสละเวลาในการตอบแบบสอบถามนี ้ กรุณาส่งคืนเจ้ าหน้ าที่ของเรา

115


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.