สัมปสาทนียพจน์ธรรมศักติกถา ธรรมกถา ธรรมกถาเรื่อง...ดับไม่เหลือ

Page 1


1

ธรรมศักติกถา ธ ร ร ม ก ถ า เ รื่ อ ง . . . ดั บ ไ ม เ ห ลื อ ปาฐกถาธรรมโดย...พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) สวนโมกขพลาราม

กองทุนศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม จัดพิมพเผยแพรในโครงการศาสตราจารยสญ ั ญาฯ สัมพันธ


2

อนุโมทนาจากทานพุทธทาสภิกขุ ในวาระครบ ๘๔ ป ทานศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์


3

ธรรมศักติกถา ทานพุทธทาส พูดถึง ทานสัญญา ธรรมศักดิ์ ถาจะพูดถึงอาจารยสัญญา ก็ตองเอาชื่อของทาน เอานามสกุล ของทานออกมาพิจารณา คือ สัญญา และ ธรรมศักดิ์ ทานมีธรรมะเปน ศักติ หรือเปนศักติของธรรมะ ไดทงั้ สองอยาง และทานมีธรรมะเปนปรัชญา มีสญ ั ญาอยใู นธรรม มีคำวาสัญญาสำคัญมัน่ หมายเปนหลักยึด ก็คอื ธรรมะ สัญญา ธรรมศักดิ์ คือ ธรรมสัญญา ธรรมศักติ อาจารยสญ ั ญาทานสนใจธรรมะอยแู ลว มีความขวนขวายพยายามทีจ่ ะรธู รรมะ จะปฏิบตั ธิ รรมะ และจะเผยแผธรรมะในทางดีเปนทุนเดิมอยกู อ นแลว เมื่อทานไดยินวาสวนโมกขตั้งขึ้นมาเพื่อจะเผยแผธรรมะ ฟนฟู ธรรมะจากการฟงธรรมะ ทานก็ชอบใจ ทานก็พอใจ ทานก็เพียรมาติดตอ มาเยี่ยมเยียนกัน มีความสัมพันธกันอยูตลอดเวลา แลวทานก็ไดติดตอ เรือ่ ยมาตลอด มาดวยอำนาจของสิง่ ๆ เดียว ก็คอื สิง่ ทีเ่ รียกวา ธรรมะ อะไรจะสำเร็จก็อยทู คี่ ำวา ธรรม เพียงคำเดียว เหตุทจี่ ะเกิดความผูกพันและเกิดการดำเนินงานเพือ่ ความเจริญ เพือ่ ความสันติสขุ ของโลก ของเพือ่ นมนุษยโดยลำดับ 3


4

พูดถึงคำวา ศักติ มีความหมายกวาง ศักติ หมายถึง กำลัง พลัง กำลังทีใ่ หเกิดความสำเร็จ สิง่ ทีจ่ ะเปน กำลังทีจ่ ะใหเกิดความสำเร็จนัน้ ในทีน่ กี้ ค็ อื ตัวธรรมะ ธรรมะเปนศักติทที่ ำ ใหเกิดความสำเร็จ ซึง่ อาจารยสญ ั ญาไดใชมนั ใชเปนชีวติ จิตใจ ใชธรรมะ เปนพละ เปนกำลัง ใหเกิดความสำเร็จ พรอมกันนัน้ ก็เปนศักติของธรรมะ เปนศักติของธรรมะเสียเอง ธรรมะผานทางอาจารยสัญญาใหเกิดความ สำเร็จประโยชนของมนุษยเปนอันมาก อาจารยสัญญามีธรรมะเปนศักติ เพื่อใหเกิดความสำเร็จประโยชนเกื้อกูลแกโลก และทานเองก็กลายเปนศักติของธรรมะ เพือ่ ใหธรรมะมีอทิ ธิพล มีอะไรทัว่ โลก ฟงดูใหดๆี มีธรรมะเปนศักติ และก็กลายเปนศักติของธรรมะใน ทีส่ ดุ ไดอาศัยบุคคลชนิดนี้ ประเภทนี้ ธรรมะจึงไดเปนประโยชนแกคนหรือ สัตวทมี่ ชี วี ติ ทัง้ โลก มันเปนคำทีม่ เี กียรติ ศักติเปนคำทีม่ เี กียรติ เปนคุณธรรม ชัน้ สูงสุด เปนคำวาศักติ เปนศักติของธรรมะ แตอาตมาสมัครเอาคำต่ำตอย ซึง่ ไมมเี กียรติ ใชคำวาทาส เปนทาสของพระพุทธเจา เปนทาสของพระธรรม แต เ ราก็ มุ ง หมายประโยชนอั น เดีย วกัน จะเปน ทาสหรื อ เปน ศัก ติ ก็ คื อ มุงหมายจะใหเกิดประโยชนดวยความสำเร็จ เปนสันติสุขและเปนศักติแก มนุษยทงั้ ปวง ผูใดใหความเคารพนับถือในอาจารยสัญญา ก็ขอใหทำตาม อาจารยสัญญา ในฐานะทีว่ ามีธรรมะเปนศักติ และก็สำเร็จประโยชนเปน ศักติของธรรมะ รับใชธรรมะตอไปๆ การงานมันมีมากมายมหาศาลทีจ่ ะทำ


5

ใหเกิดสันติสขุ สันติภาพแกโลก แตเราก็ตอ งพยายามทำไปตามทีก่ ระทำได มีธรรมะเปนศักติสำเร็จประโยชน แลวก็กลายเปนศักติของธรรมะ รวมความสัน้ ๆ ก็วา ... ขอใหทา นทัง้ หลาย ยึดธรรมะเปนหลักปฏิบตั ิ และก็รบั ใชธรรมะ เผยแผธรรมะ ใหธรรมะเปนประโยชนแกคนและสัตวทมี่ ชี วี ติ ทัว่ ไปทัง้ โลก นีค่ อื ใจความสำคัญทีเ่ ราควรจะปรารภอาจารยสญ ั ญา แลวก็ทำ ใหสำเร็จประโยชนในโอกาสพิเศษทีต่ ั้งใจจะกระทำกัน.

เรียบเรียงจากแถบบันทึกเสียง (คัดตอนมาบางสวน) ซึ่งศาสตราจารย ดร.วิษณุ เครืองาม สัมภาษณทานอาจารยพุทธทาสภิกขุ เนื่องในโอกาสที่ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ มีอายุครบ ๗ รอบ ณ สวนโมกขพลาราม อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี เมือ่ วันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๓๔

ผจู ดั พิมพขอกราบขอบพระคุณทานศาสตราจารย ดร.วิษณุ เครืองาม เปนอยางยิง่


6

ผูดับไมเหลือ อยาเขาใจ ตองปฏิบตั ิ ถารจู ริง รดู บั

ไปวา ลำบาก สิง่ เดียว ใหไมมเี หลือ

ตองเรียนมาก จึงพนได ก็งา ยดาย เชือ่ ก็ลอง

เมือ่ เจ็บไข อยาพรัน่ พรึง ระวังให คอยจดจอง

ความตาย หวาดไหว ดีดี ใหตรงจุด

จะมาถึง ใหหมนหมอง “นาทีทอง” หลุดใหทนั

ถึงนาที ตัง้ สติ ดวยจิตวาง สารพัน

สุดทาย ไมประมาท ปลอยวาง ไมยดึ ครอง

อยาใหพลาด เพือ่ ดับขันธ ทุกสิง่ อัน เปนของเรา

ตกกระได จะถึงที่ สมัครใจ ก็ดบ ั “เรา”

พลอยกระโจน ใหดดี ี มงุ หมาย ไดงา ยเขา ดับไมเหลือ เมือ่ ไมเอา ดับตน ดลนิพพาน


7

ดับไมเหลือ ธรรมกถา ของ ทานพุทธทาสภิกขุ ธรรมเทศนาทีย่ งั เปนเพียงคำสอนอยนู นั้ ...ยังชวยใครไมได ถาเมือ่ ใดคำสัง่ สอนนัน้ ๆ มีผเู ห็นดวย แลวพากันทำตาม เมือ่ นัน้ คำสัง่ สอนเหลานัน้ ก็จะกลายรูปเปนองคพระธรรม ซึง่ สามารถคมุ ครองผเู ห็นจริง แลวปฏิบตั ติ ามได เหมือนเครือ่ งกัน้ ฝนใหญๆ ชวยคมุ ฝนใหในฤดูฝน เรือ่ งความดับไมเหลือนัน้ มีวธิ ปี ฏิบตั เิ ปน ๒ ชนิด คือ ตามปกติ ขอใหมคี วามดับไมเหลือแหงความรสู กึ ยึดถือ “ตัวกู” หรือ “ของกู” อยเู ปนประจำนีอ้ ยางหนึง่ อีกอยางหนึง่ หมายถึง เมือ่ รางกายจะตองแตกดับไปจริงๆ ขอให ปลอยทัง้ หมด รวมทัง้ รางกายชีวติ จิตใจใหดบั เปนครัง้ สุดทาย ไมมเี ชือ้ อะไร เหลืออยู หวังอยู สำหรับการเกิดมีตวั เราขึน้ มาอีก ฉะนัน้ ตามปกติประจำวันก็ใชอยางแรก เมือ่ ถึงคราวจะแตกดับ ทางรางกายก็ใชอยางหลัง ในกรณีที่ประสบอุบัติเหตุไมตายทันที มีความ รูสึกเหลืออยูบางชั่วขณะ...ก็ใชอยางหลัง ถาสิ้นชีวิตไปอยางกะทันหัน ก็ หมายความวา ดับไปในความรสู กึ ตามวิธอี ยางแรกอยใู นตัว และเปนอันวา มีผลคลายกัน คือไมมคี วามอยากเกิดอีกนัน่ เอง


8

วิธปี ฏิบตั อิ ยางที่ ๑ ทีใ่ หทำเปนประจำวันนัน้ หมายความวา มี เวลาวางสำหรับทำจิตใจเมือ่ ไร กอนนอนก็ดี ตืน่ นอนใหมกด็ ี ใหสำรวมจิต เปนสมาธิดว ยการกำหนดลมหายใจ (หรืออะไรก็แลวแตถนัด) พอสมควรกอน แลวจึงพิจารณาใหเห็นความทีส่ งิ่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง ทุกสิง่ ไมควรยึดมัน่ ถือมัน่ วาเปนเราหรือเปนของเรา แมแตสกั อยางเดียว เปนเรือ่ งอาศัยกันไปในการ เวียนวายตายเกิดเทานัน้ เอง ยึดมัน่ ในสิง่ ใดเขาก็เปนตองทุกขทนั ที และ ทุกสิง่ การเวียนวายตายเกิดนั้นเลาก็คือ การทนทุกขทรมานโดยตรง เกิดทุกทีเปนทุกขทกุ ที เกิดทุกชนิดเปนทุกขทกุ ชนิด ไมวา จะเกิดเปนอะไรก็ เปนทุกขไปตามแบบของการเกิดเปนอยางนั้น เกิดเปนแมก็ทุกขอยางแม เกิดเปนลูกก็ทกุ ขอยางลูก เกิดเปนคนรวยก็ทกุ ขอยางคนรวย เกิดเปนคนจน ก็ทกุ ขอยางคนจน เกิดเปนคนดีกท็ กุ ขอยางคนดี เกิดเปนคนชัว่ ก็ทกุ ขอยาง คนชั่ว เกิดเปนคนมีบุญก็ทุกขไปตามประสาคนมีบุญ เกิดเปนคนมีบาปก็ ทุกขไปตามประสาคนมีบาป ฉะนัน้ สไู มเกิดเปนอะไรเลย คือ “ดับไมเหลือ” ไมได แตทนี ี้สำหรับการเกิด หรือคำวา “เกิด” นัน้ อยาหมายเพียงการ เกิดจากทองแม ทีแ่ ทมนั หมายถึงการเกิดของจิต คือของความรสู กึ ทีร่ สู กึ ขึน้ มาคราวหนึ่งๆ วากูเปนอะไร เชน เปนลูก เปนคนจน เปนคนมี คนสวย คนไมสวย คนมีบญ ุ คนมีบาป เปนตน ซึง่ นีแ่ หละเรียกวา ความยึดถือหรือ อุปาทานวา “ตัวกู” เปนอยางไร “ของกู” เปนอยางไร ตัวกูหรือของกูทกี่ ลาว นีเ้ รียกวา “อุปาทาน” มันเกิดจากทองแมของมันคืออวิชชา มันเกิดวันหนึง่ ไมรกู สี่ บิ ครัง้ กีร่ อ ยครัง้ หรือไมรกู ชี่ าตินนั้ เอง เกิดทุกคราวเปนทุกขทกุ คราว อยางไมมีทางที่จะหลีกเลี่ยง ทุกคราวทีต่ าเห็นรูป หรือหูไดยนิ เสียง หรือจมูกไดกลิน่ หรือลิน้ ไดรส


9

หรือกายไดสัมผัสผิวหนัง หรือจิตมันปรุงเรื่องเกาๆ เปนความคิดเปนเรื่อง เปนราวขึน้ มาเองก็ตาม ถาควบคุมไวไมดแี ลว “ตัวกู” เปนไดโผลหรือเกิดขึน้ มาทันที และตองเปนทุกขทนั ทีทตี่ วั กูโผลขนึ้ มา ฉะนั้น จงระวังอยาเผลอให “ตัวกู” โผลหัวออกมาจากทองแม ของมันเปนอันขาด เพียงแตตาเห็นรูปหรือหูไดยนิ เสียง เปนตน แลวเกิดสติ ปญญารวู า ควรจัดการอยางไรก็จัดไป หรือนิง่ เสียก็ได อยางนีไ้ มเปนไร ขอ อยางเดียวอยาให “ตัวกู” ถูกปรุงขึน้ มาจากตัณหาหรือเวทนา อันเกีย่ วเนือ่ ง กับสิง่ ทีไ่ ดเห็น หรือวาไดยนิ เปนตนนัน้ อยางนีเ้ รียกวา “ตัวกู” ไมเกิด คือไมมี ชาตินนั่ เอง เมือ่ ไมเกิดก็ไมตาย หรือไมทกุ ขอยางใดทัง้ สิน้ นีแ่ หละคือขอทีบ่ อกใหทราบวา การเกิดนัน้ ไมใชหมายถึงการเกิด จากทองแม ทางเนือ้ หนังโดยตาง แตมันหมายถึงการเกิดทางจิตใจ ตัวกูที่ เกิดจากแมของมันคืออวิชชา การ “ดับไมเหลือ” ในทีน่ ี้ ก็คอื อยาใหตวั กูดงั กลาวนัน้ เกิดขึน้ มาไดนนั่ เอง เมือ่ แมของมันคืออวิชชา ก็ใหฆา แมของมันเสียดวยวิชชา หรือปญญาทีร่ วู า ไมมอี ะไรควรยึดมัน่ ถือมัน่ นัน่ เอง หรืออีกอยางหนึง่ ก็วา ... มันเกิดไดเพราะเราเผลอสติ ฉะนั้นเราอยาเผลอสติเปนอันขาด ถาเปนคนขีม้ กั เผลอสติ ... ก็จงแกดว ยความเปนผรู จู กั อาย รจู กั กลัวเสียบาง โดยอายวาการที่ปลอยใหเปนอยางนั้นๆ มันเปนคนสารเลว ยิ่ง


10

กวาไพรหรือขีข้ า สถุลเสียอีก ไมสมควรแกเราเลย ทีว่ า รจู กั กลัวเสียบางนัน้ หมายความวา มันไมมอี ะไรทีน่ า กลัวไป กวาความเกิดชนิดนีแ้ ลว มันยิง่ กวาตกนรกหรืออะไรทัง้ หมด เกิดขึน้ มาทีไร เปนสูญคน เสียคน...ไมมอี ะไรเหลือ เมือ่ มีความอายและความกลัวอยางนีบ้ อ ยๆ แลว สติมนั ก็ จะไมกลาเผลอของมันเอง การปฏิบตั กิ จ็ ะดีขนึ้ ตามลำดับ จะเปนผู ทีม่ กี าร “ดับไมเหลือ” อยเู ปนประจำ ทุกค่ำเชาเขานอน ... ตองมีการคิดบัญชีเรือ่ งการดับไมเหลือนี้ ใหรรู ายรับ รายจาย เอาไวเสมอไป ขอนี้มีอานิสงสสูงไปกวา การไหวพระ สวดมนต หรือทำสมาธิเฉยๆ เรือ่ งเกีย่ วกับดับไมเหลือทำนองนี้ ไมเกีย่ วกับการเพงหรือหลับตา เห็นสี เห็นดวง หรืออะไรที่แปลกๆ เปนทำนองปาฏิหาริยหรือศักดิ์สิทธิ์ แตเกีย่ วกับสติปญ  ญา หรือสติสมั ปชัญญะโดยตรงเทานัน้ อยางมากทีส่ ดุ ที่มันมาเปนความเบากายเบาใจ สบายกายสบายใจอยางที่บอกไมถูก เทานัน้ เอง ก็อยานึกถึงเรือ่ งนีจ้ ะดีกวา เพราะจะกลายเปนทีต่ งั้ ของอุปาทาน อันใหมขนึ้ มา แลวมันก็จะดับไมลง และมันจะ “เหลือ” อยเู รือ่ ย คือเกิดเรือ่ ย ทีเดียว เดีย๋ วจะไดกลมุ กันใหญและยิง่ ไปกวาเดิม พวกที่ทำวิปสสนาไมสำเร็จ ก็เพราะวาคอยจับจองเอาความสุข อยูเรื่อยไป มุงนิพพานตามความยึดถือของตนร่ำไป มันก็ดับไมลง หรือ นิพพานจริงๆ ไมได มีตวั กูเกิดในนิพพานแหงความยึดมัน่ ถือมัน่ ของตนเอง เสียเรือ่ ย


11

ฉะนั้น ถาจะภาวนาบางก็ตองภาวนาวา ไมมีอะไรที่ควรยึดมั่น ถือมัน่ แมแตสงิ่ ทีเ่ รียกวานิพพานนัน่ เอง สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินเิ วสาย สิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวงไมควรยึดมัน่ ถือมัน่ สรุปความวา ทุกค่ำเชาเขานอนตองทำความแจมแจงในเรื่อง ความไมยดึ มัน่ ถือมัน่ ใหแจมแจงอยเู สมอจนเคยชินเปนนิสยั จนหากบังเอิญ ตายไปในเวลาหลับ ก็ยงั มีหวังทีจ่ ะไมเกิดอีกตอไป มีสติปญญาอยูเรื่อย อยาใหอุปาทานวา “ตัวกู” หรือ “ของกู” เกิด ขึน้ มาไดเลยในทุกๆ กรณี ทัง้ กลางวันกลางคืน ทัง้ ตืน่ และหลับ นีเ้ รียกวา เปนอยูดวยความดับไมเหลือ หรือความไมมีตัวตน มีแตธรรมะอยูในจิตที่ วางจากตัวตนอยเู สมอไป เรียกวาตัวตนไมไดเกิดและมีแตการดับไมเหลือ อยเู พียงนัน้ ถาเผลอไปก็ตงั้ ใจทำใหมเรือ่ ย ไมมกี ารทอถอยหรือเบือ่ หนาย ในการบริหารใจเชนนี้ ก็เชนเดียวกับเราบริหารกายอยตู ลอดเวลา นัน้ เหมือนกัน ใหทงั้ กายและใจไดรบั การบริหารทีถ่ กู ตองควบคกู นั ไป ดังนี้ ในทุกกรณีที่ทำอยูทุกลมหายใจเขาออก เปนอยูดวยปญญา ไมมีความ ผิดพลาดเลย ทีนกี้ ม็ าถึงวิธปี ฏิบตั ทิ ี่ ๒ คือ ในเวลาจวนเจียนจะดับจิตนัน้ อยาก จะกลาววามันงายเหมือนตกกระไดแลวพลอยกระโจน มันยากอยูตรงที่ ไมกลาพลอยกระโจน ในเมือ่ พลัดตกกระไดมันจึงเจ็บมาก เพราะตกลงมา อยางไมเปนทาเปนทาง ไหนๆ ก็เมือ่ รางกายนีม้ นั อยตู อ ไปอีกไมไดแลว จิตหรือเจาของบานก็พลอยกระโจนตามมันไปเสียดวยก็แลวกัน ให ปญญามันกระจางแจงขึน้ มาในขณะนัน้ วา ไมมอี ะไรทีน่ า จะกลับมาเกิดใหม


12

เพื่ อ เอา เพื่ อ เป น เพื่ อ หวั ง อะไรอย า งใดต อ ไปอี ก หยุ ด สิ้ น สุ ด ปดฉากสุดทายกันเสียที เพราะไปแตะเขาทีไ่ หนมีแตทกุ ขทงั้ นัน้ ไมวา จะไป เกิดอะไรเขาทีไ่ หน หรือไดอะไรทีไ่ หนมา จิตหมดทีห่ วังหรือความหวังละลาย ไมมีที่จอด มันจึงดับไปพรอมกับกายอยางไมมีเชื้อเหลือมาเกิดอีก สิ่งที่ เรียกวาเชื้อก็คือความหวัง หรือความอยาก หรือความยึดมั่นถือมั่นอยูใน สิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นเอง หรือสมมติวา ถูกควายขวิดจากขางหลัง หรือรถยนตทบั หรือตึก พังทับ ถูกลอบยิง หรือถูกระเบิดชนิดไหนก็ตาม ถามีความรสู กึ เหลืออยแู ม สักครึ่งวินาทีก็ตาม จงนอมจิตไปสูความดับไมเหลือ หรือทำความดับ ไมเหลือเชนวานีใ้ หแจมแจงขึน้ ในใจ (เหมือนทีเ่ คยฝกอยทู กุ ค่ำเชาเขานอน) ขึน้ มาในขณะนัน้ แลวใหจติ ดับไปก็เปนเพียงพอแลวสำหรับการ “ตกกระได พลอยโจน” ไปสคู วามดับไมมเี ชือ้ เหลือ ถาหากจิตดับไปเสีย โดยไมมเี วลาเหลืออยสู ำหรับใหรสู กึ ได ดังวา ก็แปลวา ถือเอาความดับไมเหลือทีเ่ ราพิจารณาและมงุ หมาย อยูเปนประจำใจทุกค่ำเชาเขานอนนั่นเอง เปนพื้นฐานสำหรับการ ดับไป มันจะเปนการดับไมเหลืออยดู ี ไมเสียทาทีแตประการใด อยา ไดเปนหวงเลย ถาปวยดวยโรคทีเ่ จ็บปวดหรือทรมานมาก ก็ตอ งทำจิตแบงรับวา ที่ยิ่งเจ็บมาก ปวดมาก นี่แหละมันจะไดดับไมเหลือเร็วเขาอีก เราขอบใจ ความเจ็บปวดเสียอีก เมื่อเปนดังนี้ ปติในธรรมก็จะขมความรูสึกปวดนั้น ไมใหปรากฏ หรือปรากฏแตนอยที่สุด จนเรามีสติสมบูรณอยูดังเดิม และ เยาะเยยความเจ็บปวดได


13

ถาปวยดวยโรคเชนอัมพาต และตองดับดวยโรคนั้น ก็ใหถือวา ตัวเราสิน้ สุดไปตัง้ แตขณะทีโ่ รคนัน้ ทำใหหมดความรสู กึ นัน้ แลว ทีเ่ หลือนอน ตาปริบๆ อยนู ี้ ไมมคี วามหมายอะไร ทัง้ นีเ้ พราะวาจิตของเราไดสมัครนอม ไปเพื่อความดับไมเหลือ เสร็จสิ้นแลวตั้งแตกอนลมเจ็บเปนอัมพาต หรือ ตัง้ แตความรสู กึ ยังดีๆ อยใู นการเปนอัมพาตตลอดเวลาทีม่ คี วามรสู กึ ครั้นหมดความรูสึกแลว มันก็หามีตวั ตนอะไรทีเ่ ปนตัวกู หรือ ของกู ทีไ่ หนไม อยาไดคิดเผื่อใหมากไปดวยความเขลาของตัวเองเลย ยังดีๆ อยนู แี่ หละ รีบทำความดับไมเหลือเสียใหสมบูรณ ดวยสติ ปญญาเถิด มันจะรับประกันไดไปถึงเมือ่ เจ็บ แมในกรณีทเี่ ปนโรคอัมพาต ดังกลาวแลว ไมมที างทีจ่ ะพายแพหรือเสียทาเสียทีแกความเจ็บแตประการ ใด เพราะเราทำลาย “ตัวกู” ใหหมดความเกิดเสียแลวตั้งแตเมื่อรางกาย ยังสบายๆ อยนู นั่ เอง นีเ้ รียกวา ดับหมดแลวกอนตาย สรุปความในทีส่ ดุ วิธปี ฏิบตั ทิ งั้ ๒ ชนิด ก็คอื จงมีจติ ทีม่ ปี ญ  ญาแทจริง มองเห็นอยวู า ไมมอี ะไรทีค่ วรยึดมัน่ ถือมัน่ แมแตสกั สิง่ เดียว ในจิตทีว่ า งจากความยึดมัน่ ถือมัน่ โดยสิน้ เชิง อยางนีแ้ หละ ไมมี “ตัวกู” หรือ “ของกู” มีแตธรรมะทีเ่ ปนความหลุดพนอยางสมบูรณ ซึง่ เราจะ สมมติ เรียกวาพระรัตนตรัย หรือมรรค ผล นิพพาน หรืออะไรที่เปนยอด ปรารถนาของคนยึดมั่นถือมั่นนั้นไดทุกอยาง แตเราไมยึดมั่นถือมั่นดวย อุปาทานในสิง่ เหลานัน้ เลย จึงดับไมเหลือหรือนิพพานไดสมชือ่


14

“นิ” แปลวา ไมเหลือ “พาน” แปลวา ไป หรือดับ นิ พ พาน จึ ง แปลว า ดั บ ไม เ หลื อ เป น สิ่ ง ที่ มี ลั ก ษณะ ความหมาย การปฏิบตั แิ ละอานิสงสอยางทีก่ ลาวมานีแ้ ล ขอความทัง้ หมดยังยออยมู าก แตถา ขยันอานและพินจิ พิจารณา อยางละเอียดไปทุกตัวอักษร ทุกประโยคแลว ก็คงจะพิสดารไดในตัวของ มันเอง และเพียงพอแกการเขาใจและปฏิบตั ิ ฉะนัน้ หวังวา ... คงจะอานจะฟงกันอยูเปนประจำ โดยไมตอ งคำนึงถึงวากีเ่ ทีย่ ว กีจ่ บ จนกวาจะเปนที่เขาใจแจมแจงดวยปญญา และมั่นคงดวยสมาธิ นำมาใชไดทันทวงทีดวยสติ สมตามความประสงคทกุ ประการ ...


15

สถาบันบันลือธรรม เปนองคกรเอกชนที่กอตั้งขึ้น เพื่อสืบทอดและเผยแพรพระพุทธศาสนาใหดำรงมั่นคง อั น เป น การสานต อ เจตนารมณ ข อง หลวงพ อ พุ ท ธทาสภิ ก ขุ สวนโมกขพลาราม สุ ร าษฎร ธ านี พระพรหมมังคลาจารย y หลวงพอปญญานันทภิกขุ องคประธานสถาบันบันลือธรรม และทานเจาคุณ พระสุธรรมเมธี ป.ธ. ๘ (นายบันลือ สุขธรรม) อดีตเจาคณะจังหวัดอุตรดิตถ ผูใหกำเนิดธรรมสภา สถาบันบันลือธรรม และศูนยหนังสือพระพุทธศาสนา y

กิจกรรมของสถาบันบันลือธรรม ๑. โครงการ พบพระ พบธรรม พระเถระแสดงธรรม ณ ศูนยหนังสือพระพุทธศาสนา ทุกวันเสาร เวลา ๑๕.๐๐-๑๗.๐๐ น. สอบถามองคบรรยายธรรมที่ ๐๘๖-๐๐๓๕๔๗๘ ๒. โครงการ อยู กั น ด ว ยความรั ก จัดกิจกรรมเพื่อสาธารณกุศล ชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ และ ชวยเหลือชุมชนในถิ่นทุรกันดาร จัดกิจกรรมวันเด็กแหงชาติทุกป เด็กที่มางานวันเด็กแหงชาติ จักไดรับรางวัลทุกคน พรอมอาหารเครื่องดื่ม โดยไมเสียคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น ๓. ธรรมสถาน “สวนมุทิตาธรรมาราม” อบรมการเรียนรูชีวิตตามธรรมใน ๑ วัน ทุกวันพุธตนเดือน เวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐ น. เปดใหใชสถานที่ฟรี เพื่อการอบรม-สัมมนา พัฒนากาย พัฒนาศีล พัฒนาจิต พัฒนาปญญา ติดตอเขารวมกิจกรรม โทร.๐๘๖-๐๐๓๕๔๗๘ ๔. กองทุน “คลังธรรมทาน” บริจาคหนังสือเปนสาธารณกุศล เพื่อประโยชนแกสาธารณชน โดยแจง ความจำนงเปนจดหมายขอรับบริจาคไดที่ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม ๕. หอสมุดธรรมสมาธิ หองสมุดธรรมะและนั่งสมาธิภาวนา พรอมกับฟงธรรมะในสวนใตรมเงาไม ตามธรรมชาติ สถานที่รื่นรมย ในสวนมุทิตาธรรมารามติดกับพุทธมณฑล เปดบริการทุกวัน ตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น. สอบถามขอมูล โทร. ๐๒-๔๘๒-๑๑๙๖ สอบถามขอมูลเพื่อขอใช สถานที่เพื่ออบรมฟรี โทร. ๐๒-๔๘๒๑๑๙๖, ๐๘๖-๐๐๓๕๔๗๘ ๖. เรือนทาน วันพระ ขอเชิญรับประทานอาหารฟรี ตั้งแตเวลา ๐๗.๐๐-๑๓.๐๐ น. ทุกวันพระ ณ ศูนยหนังสือพระพุทธศาสนา ถ.บรมราชชนนี ๑๑๙ กทม. ๑๐๑๗๐ โทร. ๐๘๑-๗๓๕-๑๗๖๖ ๗. โครงการสรางศูนยเผยแพรหนังสือและสื่อธรรมะทางพระพุทธศาสนาเพื่อถวายวัด สถาบันบันลือธรรม มีปณิธานที่จักจัดสรางศูนยหนังสือพระพุทธศาสนาทั่วประเทศ เพื่อการ เผยแพร ธ รรมแก ป ระชาชนอย า งแพร ห ลาย และเพื่ อ ความมั่ น คงยั่ ง ยื น ของพระพุ ท ธศาสนา ท า นที่ มี ข อ เสนอและแนะนำ โปรดใหขอมูลเพื่อการเผยแพรธรรม โทร. ๐๘๖-๐๐๓๕๔๗๘

การพิมพหนังสือธรรมเปนอนุสรณ นอกจากเปนการจัดทำสิง่ ซึง่ มีประโยชนทคี่ งอยยู ืนนานแลว ยังเปนการบำเพ็ญธรรมทาน ที่พระพุทธเจาตรัสวาเปนทานอันยอดเยี่ยมอีกดวย ผูปฏิบัติเชนนี้ชื่อวาได มีสวนรวมในการเผยแพรธรรมอันจะอำนวยประโยชนที่แทจริงแกประชาชน ทานที่ประสงคจัดพิมพหนังสือธรรมะที่ดีมีคุณภาพ เพื่อมอบเปนที่ระลึกในทุกโอกาสของงาน ประเพณี อันเปนการใชจายเงินอยางมีคุณคาและเกิดประโยชนสูงสุด โปรดติดตอที่... ธรรมสภา เลขที่ ๑/๔-๕ ถ.บรมราชชนนี ๑๑๙ แขวงศาลาธรรมสพน เขตทวี วั ฒ นา กทม. ๑๐๑๗๐ โทรศัพท ๐๒ ๘๘๘๗๙๔๐, ๔๔๑๑๕๓๕ โทรสาร. ๐๒ ๔๔๑๑๔๖๔ และ www.thammasapa.com


16

โครงการศาสตราจารยสญ ั ญาฯ สัมพันธ ตามที่ ก องทุ น ศาสตราจารย สั ญ ญา ธรรมศั ก ดิ์ ในมู ล นิ ธิ นิ ติ ศ าสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดจัดใหมีการประชุมปรึกษาเกี่ยวกับโครงการ ศาสตราจารย สั ญ ญาฯ สั ม พั น ธ เพื่ อ เสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ อ งค ก รและ หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ รวมทั้งหมด ๑๖ องคกร เมือ่ วันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม ไดรับเกียรติโดยการแนะนำของทาน นายแพทยจักรธรรม ธรรมศักดิ์ ตอกองทุนศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ ให ธ รรมสภาและสถาบั น บั น ลื อ ธรรม ร ว มประชุ ม โครงการศาสตราจารย สัญญาฯ สัมพันธ และไดรับอนุญาตใหจัดทำหนังสือ สื่อธรรมะ เผยแพรเปน ธรรมบรรณาการหนวยงานที่ประกาศเกียรติคุณ เพื่อเปนอนุสรณแหงความดี ของศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ไดแก.... ๑. หนังสือ ทศพิธราชธรรม โดย ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ๒. หนังสือ ธรรมศักติกถา : ธรรมกถาเรือ่ ง ดับไมเหลือ โดย พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ๓. หนังสือ ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ผเู ปนสหายธรรม ของ ทานพุทธทาส - ทานปญญานันทะ โดย พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ) จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ๔. หนังสือ คมความคิด โดย ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม ขอกราบขอบพระคุณทานนายแพทย จักรธรรม ธรรมศักดิ์ ที่อนุญาตใหธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรมจัดพิมพ หนังสือชุดนีเ้ ผยแพร และขอขอบพระคุณกองทุนศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ที่ ส นั บ สนุ น ในการจั ด ทำหนั ง สื อ เพื่ อ เผยแพร เ กี ย รติ คุ ณ ท า นศาสตราจารย สัญญา ธรรมศักดิ์ มา ณ โอกาสนี้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.