Dhamma pua chest

Page 1

1


2


3

ประวัติเมืองปัว


4

ประวัติเมืองปัว

พระยาภูคาผู้ครองเมืองย่าง ( ต�ำบลศิลาเพชร ) อ�ำเภอ ปัว มีบุตรบุญธรรมสององค์ องค์พี่ชื่อ “ ขุนนุ่น ” องค์น้องชื่อ “ ขุนฟอง ” เมื่อขุนนุ่นอายุได้ 18 ปี ขุนฟองอายุได้ 16 ปี ขุน นุ่นได้ไปครองเมืองจันทรบุรี ( เมืองหลวงพระบาง ) ขุนฟอง ครองเมืองวรนคร ( เมืองปัว ) เมื่อขุนฟองพิราลัย เกิดความ แห้งแล้งพระมารดาจึงอธิฐานขอน�้ำฝน น�้ำฝนได้ตกลงมาไหล นองพัดเอาหินผามาด้วย จึงชื่อว่าพญาผานอง ได้ครองเมืองว รนคร เมื่อ พ.ศ. 1865

ประวัติเมืองปัว


จนถึง พ.ศ. 1895 รวม 30 ปี ครั้นพิราลัย โอรสองค์โตชื่อ “ พระยาการเมือง ” ได้ครองเมืองวรนคร ครั้นหนึ่งพระยา การเมืองไปกรุงสุโขทัยตอนกลับน�ำพระธาตุเจ้า 7 องค์มาด้วย และบรรจุไว้ดอยภูเพียงแช่แห้ง ( เมืองน่าน ) ต่อมาพระยา การเมืองต้องการอยู่ใกล้พระธาตุ จึงย้ายเมืองวรนครไปที่เวียง แช่แห้ง มาสร้างที่เมืองนันทบุรี ( เมืองน่านปัจจุบัน ) “ เมืองวรนคร ” เปลี่ยนชื่อเป็น “ เมืองปัว ” ด้วยเหตุผลใด วันเดือนปีใด ไม่มีหลักฐานปรากฎ ต่อมาเมื่อปประกาศ พรบ. ลักษณะการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2457 เมืองปัวได้ยกฐานะ เป็นอ�ำเภอมาจนถึงปัจจุบัน

ประวัติเมืองปัว

5


6


ประวัติหีบธรรม

7

ประวัติหีบธรรม

หีบพระธรรมหรือหีบธรรมในภาษา ล้านนา หมายถึง หีบที่ใช้ส�ำหรับเก็บพระ ไตรปิฎกหรือหีบธรรมที่พระสงฆ์ใช้ส�ำหรับ เทศน์ ทางภาคเหนือนิยมสร้างหีบธรรมแบบ ฝาปากผายมากกว่าปากแคบ นอกจากนี้ยัง ประดับตกแต่งด้วยลาย ด้วยเทคนิคฉลุ กระดาษลงรักปิดทอง และประดับกระจกสี เป็นลายพรรณพฤกษา อันแสดงถึงการใช้ ดอกไม้บูชาพระธรรมที่อยู่ในหีบพระธรรม นั้น ด้วยแนวความเชื่อที่ว่าการสร้างหีบ พระธรรมนั้นมีอานิสงส์มากชาวพุทธล้านนา จึงนิยมสร้างโดยเฉพาะผู้ที่ก�ำลังเพียงพอใน การสร้าง ไม่ว่าจะเป็นก�ำลังทรัพย์ ก�ำลัง ศรัทธาที่มีต่อพระธรรมถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ การสร้าง หีบพระธรรมเป็นปรากฏการณ์ ทางสังคมล้านนาเมื่อยุค ๒๐๐ กว่าปีมานี้ นอกจากจะได้อานิสงส์ในการสร้างถวายแล้ว ยังถือว่าเป็นการถวายคลังปัญญาซึ่งจะท�ำให้ เป็นกุศลความฉลาดในการด�ำเนินชีวิตเพราะ พระธรรมเป็นปัญญา


8

รูปทรงหีบธรรม

รูปทรงหีบธรรม อ.ปัว

หีบธรรมของอ�ำเภอปัวเป็นทรงสี่เหลี่ยมคางหมู ซึ่ง ลักษณะที่เรียกว่าทรงสี่เหลี่ยมคางหมูเนื่องจาก หีบธรรม ชนิดนี้จะเป็นหีบธรรมทรงก้นแคบแต่ปากหีบผายออก คล้ายชื่อที่เรียกรูปทรงเรขาคณิต ที่เรียกว่าสี่เหลี่ยม คางหมู ดังจะเห็นว่าหีบธรรมลายค�ำรูปทรงสี่เหลี่ยม คางหมูนี้มีจ�ำนวนมากที่สุดคิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ของ หีบธรรมทั้งหมด จึงกล่าวได้ว่ารูปทรงหีบธรรมลายค�ำที่ นิยมสร้างมากที่สุดในเขต อ.ปัว จ.น่าน คือหีบธรรมทรง สี่เหลี่ยมคางหมูและถือเป็นเอกลักษณ์ของทรงหีบธรรมใน เขต อ.ปัว จ.น่าน


9


10


เทคนิคในการประดับ หีบธรรม

เทคนิคในการประดับหีบธรรม

11


12


เทคนิคในการ ปิดทองขูดลาย

เทคนิคในการประดับหีบธรรม

13


14


เทคนิคปิดทองขูดลาย เทคนิคลายค�ำแบบนี้เป็นเทคนิคแบบเก่า ที่สุดและพบว่ามีมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าเทคนิคนี้ เป็นเทคนิคที่นิยมตกแต่งหีบธรรมกันมากใน อ.ปัว จ.น่าน โดยวิธีการท�ำก็คือ จะลงพื้นก่อนด้วยยางรัก หรือชาดซึ่งมีสีด�ำและแดงต่างกัน ขั้นตอนต่อมาน�ำ ยางรักหรือชาดไปทาบบนพื้นที่เตรียม จากนั้น ท�ำการปิดทองค�ำเปลวลงไปบนพื้นที่นั้น ทองค�ำ เปลวที่ติดไปก็จะถูกยางรักยึด ท�ำให้ติดไปบนผิว พื้น ในขั้นตอนต่อมาก็จะเป็นการขูดลาย โดยใช้ เหล็กแหลมขุดแต่งเสริมไปบนผิวทองที่ติดบนพื้น ก่อนนี้เป็นการเสริมรายละเอียดและปริมาณเส้นให้ กับลวดลายทองที่ต้องการตกแต่งซึ่งเทคนิคนี้เป็น เทคนิคที่นิยมใช้ตกแต่งหีบธรรมมากที่สุดและเป็น เทคนิคที่มีการตกแต่งละเอียดกว่าเทคนิคอื่น สามารถสร้างลวดลายได้แทบทุกแบบ

เทคนิคในการประดับหีบธรรม

15


16

เทคนิคฉลุกระดาษ ปิดทอง


17


18


19

เทคนิคฉลุกระดาษปิดทอง

เทคนิคลายค�ำแบบนี้พบว่าเป็นเทคนิคแบบใหม่ โดยวิธีการท�ำก็คือ จะลงพื้นก่อนด้วยยางรักหรือชาดซึ่ง มีสีด�ำและแดงต่างกัน ขั้นตอนต่อมาก็จะท�ำการตัดหรือ เจาะเพื่อให้เกิดลวดลายทะลุกระดาษในแบบต่างๆ น�ำ ไปทาบบนพื้นที่เตรียมไว้ เช็ดยางรักลงไปบนแผ่น กระดาษที่ทาบไว้ ยางรักที่ลอดผ่านลวดลายที่ถูกเจาะ ไว้ก็จะติดบนพื้นยกกระดาษออก จากนั้นท�ำการปิด ทองค�ำเปลวลงไปบนยางรักนั้น ทองค�ำเปลวที่ติดไปก็ จะถูกยางรักยึด ท�ำให้ติดไปบนผิวพื้น


20


21

เทคนิคปิดทองขูดลาย เลียนแบบลายรดน�้ำ


22

เทคนิคปิดทองขูดลาย เลียนแบบลายรดน�้ำ เทคนิคลายค�ำแบบนี้เป็นเทคนิคที่เหมือนกับ เทคนิคปิดทองขูดลาย เพียงแต่เป็นการปิดทองลงไป บนพื้นสีด�ำ ท�ำให้ดูคล้ายกับลวดลายรดน�้ำของศิลปะ ไทยภาคกลาง


23


24

รูปแบบหีบธรรม ในช่วง พุทธศตวรรษ ที่ 24


25


26


27

เทคนิคลายค�ำที่นิยมใช้ตกแต่งหีบธรรมในช่วงพุทธ ศตวรรษที่ 24 คือ นิยมใช้เทคนิคปิดทองขูดลายมากที่สุด เนื่องจากเป็นเทคนิคที่เก่าและได้รับความนิยม อีกทั้งยัง สามารถเพิ่มลายละเอียดของลวดลายได้อย่างไม่จ�ำกัด โดยส่วนมากจะใช้สีด�ำแดงและทอง


28


29

รูปแบบหีบธรรม ในช่วง พุทธศตวรรษ ที่ 24


30

รูปแบบหีบธรรมในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 25 หีบธรรมในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 25 คือ เป้นช่วงที่อิทธิพลของศิลปะแบบไทยภาคกลางเข้ามา ท�ำให้ท�ำให้เทคนิคลายรดน�้ำถูกน�ำเข้ามาใช้แต่ก็ยังมีการขุด ลายเพื่อสร้างรายละเอียดแสดงให้เห็นถึงความลังเลและ ความไม่ช�ำนาญในศิลปะลายรดน�้ำที่พึ่งเข้ามาในพุทธช่วง ศตวรรษที่ ๒๕ ลักษณะกลุ่มลายค�ำที่นิยมตกแต่งจะเป็น ภาพในเชิงสัญลักษณ์และลวดลายเชิงวรรคดีคดีไทย เช่น รามเกียรติ์ เป็นต้น


31


32


33


34


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.