คู่มือเว็บบล็อก

Page 1


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

1

คํานํา คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน เป็นส่วนหนึ่งของการ เรียนการสอนในรายวิชาเรียนของสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา เพื่อใช้เป็น ทางเลือกสําหรับผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจได้ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือนําไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ อย่างเป็นรูปธรรมในการเรียนการสอนได้จริง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ยิ่งขึ้นต่อไป

ผู้จัดทํา

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

2

สารบัญ บทนํา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บบล็อก วัตถุประสงค์การใช้เว็บบล็อก การสร้างเว็บบล็อก ขั้นตอนการสมัคร Gmail ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก ขั้นตอนการเขียนบทความ เริ่มต้น การตั้งค่าบล็อกเกอร์ การตกแต่งเว็บบล็อก โดยใช้เมนู “แม่แบบ” การตกแต่งส่วนบทความใหม่ การตกแต่งส่วนปรับแต่ง (ส่วน Gadget) - การเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “รูปภาพ” - การเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “รายชื่อลิงค์” - การเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “HTML/จาวาสคริปต์” การเคลื่อนย้ายกล่อง Gadget การใช้โปรแกรมร่วมในการจัดหน้าเนื้อหา Weblog ด้วยโปรแกรม Scribd

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

หน้า 1 2 3 4 6

9 18 20 23 31 39 43 46 48 53 57

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

1

โลกในยุคดิจติ อล : รูปแบบเว็บบล็อก (Weblog) สําหรั บในประเทศไทยการศึ กษาในระดับอุดมศึกษาเป็นการจั ดการศึกษาขั้นสูง ที่ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักการค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง นอกเหนือจากการฟังบรรยายจากอาจารย์ ผู้สอนในชั้นเรียน การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บและอินเทอร์เน็ต เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัด การศึกษาที่น่าสนใจ จากการศึกษางานวิจัยของบุญเรือง เนียมหอม (2540 : ง) ได้ศึกษาสภาพการ เรี ย นการสอนผ่ า นอิ น เตอร์ เ น็ ต ในปั จ จุ บั น พบว่ า การเรี ย นการสอนเน้ น กิ จ กรรมและบริ ก าร อินเทอร์เน็ต ผู้ส อนเป็นผู้ควบคุม ตรวจสอบ ติดตามการเรียนของผู้เรียนและเตรียมความพร้อม ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนทางอินเทอร์เน็ต มีการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และเว็บมากที่สุด ใช้ รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันและเรียนรู้ด้วยตนเองสอดคล้องกับงานวิจัยของยุมัยลา หลําสุบ (2542 : 3) ได้ศึกษาถึงสภาพการใช้อินเตอร์เน็ต เพื่อวัตถุประสงค์ในการติดต่อสื่อสารการศึกษา จากแหล่งข้อมูล ภายในประเทศ ใช้บริการสืบค้นข้อมูลเวิลด์ไวด์เว็บ และบริการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 25472549) ที่ได้ให้ความสําคัญกับการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของ ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม จากความสําคัญของการต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และรู้จักใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลกยุคดิจิตอลทําให้ผู้สอนนิยมนํา บล็อก (Blog) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศมา พัฒนาทักษะต่างๆ ของผู้เรียน บล็อกอาจเป็นหนึ่งของทางเลือกที่หลากหลาย ณ ปัจจุบันนี้ เนื่องจาก เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสดงข้อมูลในอินเทอร์เน็ตจึงมีคุณสมบัติที่เด่นและเป็นประโยชน์ต่อการ ส่งเสริมการเรียนการสอน เช่น คุณสมบัติปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คุณสมบัติเชื่อมโยง (Link) หรือ ตัวอักษรหรือข้อความนั้นแล้วสามารถเชื่อมโยงไปหาข้อมูลอื่นๆได้ นอกจากนี้ บล็อกยังมีคุณสมบัติ เป็นสื่อผสม (Multimedia) การสืบค้น (Search) และการแสดงผล (Display) อีกทั้งบล็อก ยังอํานวย ความสะดวกในการใช้ ก ารดู แ ล และการจั ด การแก่ ผู้ ใ ช้ ซึ่ ง ผู้ ใ ช้ ใ นที่ นี้ คื อ ผู้ เ รี ย นและผู้ ส อนที่ ใ ช้ ประโยชน์จากบล็อกในการพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอนของตนเอง (ทรงศรี สรณสถาพรและ ธนายุส ธนธิติ 2549:55) ในอินเตอร์เน็ต จึงมีคุณสมบัติเด่นในด้านการจัดการเรียนการสอนและการเผยแพร่ผลงาน ทางวิ ช าการ อาจารย์ ผู้ ส อนส่ ว นใหญ่ จึ ง หาวิ ธี ก ารในการจั ด การรู ป แบบการเรี ย นการสอนให้ ครอบคลุ ม การทํ า งาน ซึ่ ง ความสามารถของเว็ บ บล็ อ กมี คุ ณ สมบั ติ เ ด่ น ทางด้ า นปฏิ สั ม พั น ธ์ (Interactive) การเผยแพร่ข้อมูลข่างสาร และเป็นสื่อผสมที่จะช่วยให้บทบาททางด้านการสอนมี ประสิทธิภาพ เว็บบล็อก (Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า “บล็อก” (Blog) หมายถึงเว็บไซต์ที่ใช้ สําหรับเขียนบันทึก (Journal) และแสดงผลการบันทึกโดยการเรียงลําดับจากปัจจุบันและอดีตมี

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

2

เว็บบล็อก (Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า “บล็อก” (Blog) หมายถึง เว็บไซต์ที่ใช้สําหรับเขียน บันทึก (Journal) และแสดงผลการบันทึก โดยการเรียงลําดับจากปัจจุบันไปหาอดีต โดยทั่วไปบล็อก จะประกอบด้วยตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Images) ส่วนเชื่อมโยง (Links) ไปหาบล็อกหรือเว็บไซต์ อื่นๆ ส่วนที่สําคัญของบล็อก คือ ความสามารถในการให้ผู้อ่านแสดงความคิดเห็นแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ผู้เรียนสามารถใช้บล็อกในการเรียนการจัดการเรียนรู้ได้ตามประเด็น ดังต่อไปนี้ (ทรง ศรี สรณสถาพร และธนายุส ธนธิติ 2549 : 55) เช่น ใช้บล็อกในการสะท้อนความคิดเห็นในเรื่องที่ เรียนได้ประสบการณ์หรือเรียนมา แบ่งปันสิ่งที่เรียนมากับเพื่อน สามารถใช้บล็อกในการถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจของตนเอง นํามาเขียน เรียบเรียง สรุป และเชื่อมโยงเนื้อหาหรือข้อมูลเหล่านั้นแล้ว นําไปไว้ในบล็อกของวิชาที่ได้เรียนเพื่อให้เพื่อน ๆ ได้เข้าไปอ่าน ส่งหรือทบทวนงานที่ได้มอบหมาย จากผู้สอนและใช้บล็อกระดมความคิดในการทํางานกลุ่ม เนื่องจากบล็อกมีคุ ณสมบัติปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ทําให้ใช้บล็อกเป็นเครื่องมือในการทํางานกลุ่มได้ ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้อ่านและผู้ใช้ร่วมแสดง ความคิดเห็นผ่านบล็อกได้เหมือนนั่งรวมกลุ่มกับเพื่อนๆ แล้วระดมความคิดเห็นกัน หรือ อาจะเป็น การทํางานกลุ่มแบบเสนอความคิดเห็นไว้ในบล็อก และให้สมาชิกในกลุ่มมาร่วมแสดงความคิดเห็น ตามเวลาที่สะดวก แต่อยู่ภายในระยะเวลาที่กําหนด ความพร้อมของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ตและโปรแกรมสําหรับรูปในปัจจุบัน ทําให้ผู้สอนและผู้เรียนมีทางเลือกในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น การใช้บล็อกเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การ เรียนการสอนอาจจะเป็นอีกทางเลือกของผู้สอนและผู้เรียน การสร้างสรรค์เว็บบล็อกสามารถทําได้ อย่างรวดเร็ว ไม่จําเป็นต้องใช้ทักษะทางคอมพิวเตอร์มากนักก็สามารถทําได้ (ทรงศรี สรณสถาพร และธนายุส ธนธิติ 2549: 59) ในวงการศึกษามีการนําประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ได้อย่างดี โดยบล็อกจะทําหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนหรือผู้เรียนกับผู้เรียนได้ตลอดเวลา บล็อกจึงเป็นสื่อการสอนอีกชนิดหนึ่งที่จะช่วยให้ครูสามารถประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอนได้ สะดวกสบายยิ่งขึ้น

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ weblog หรือ Blog Blog มาจากคําว่า World Wide Web ซึ่งหมายถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ เชื่อมโยงกันไปทั่วโลกกับคําว่า log แปลว่า บันทึก รวมกันเป็น Weblog (เว็บบล็อก) นิยมเรียกสั้นๆ ว่า Blog ซึ่งเป็นเว็บไซต์พันธุ์ใหม่รูปแบบใหม่ที่กําลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก สามารถ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้กับงานแทบทุกวงการ การสร้างสรรค์เว็บบล็อกทําได้อย่างรวดเร็ว ไม่ ต้องเรียนรู้การสร้างเว็บให้ยุ่งยาก ไม่ต้องเขียนโค้ชหรือคําสั่งใดๆ ก็สามารถสร้างบล็อกได้อย่าง

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

3

ปัจจุบันมีหลายบริษัททั้งไทยและต่างประเทศได้สร้างรูปแบบเว็บบล็อกขึ้นมาเพื่อสนองความ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ ดู แ ป ล ก ใ ห ม่ ใ ช้ ง า น ง่ า ย แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ผู้ ใ ช้ ง า น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม เช่น www.exteen.com, www.space.com, www.blogger.com,www.sanook.com,www.hi5.c om, www.multiply.comฯลฯ ประการหนึ่งที่หน่วยงานหรือองค์กรทางธุรกิจเว็บบล็อกอํานวยความ สะดวกให้ ผู้ ส ร้ า งไม่ จํา เป็ นต้ อ งขอพื้ นที่ สํ าหรับ เป็น ที่อ ยู่ข องเว็บ บล็ อ ก หรื อที่ เ รีย กว่ า แอดเดรส (address : ที่อยู่) หรืออาจเรียกว่า URL : Uniform Resource Locator ซึ่งหมายถึงที่อยู่ของเว็บ บล็อก บนเครือข่ายอินเตอร์เช่นกัน การสร้างสรรค์เว็บบล็อกให้สวยงาม เนื่องจากเว็บบล็อกได้รับความนิยมสูงทั่วโลกจึงมีหลาย บริษัทที่คิดค้นสร้างสรรค์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการตกแต่งเว็บบล็อกให้สวยงาม โดยการเขียนโค้ช หรือสคริปต์ต่างๆ เช่น คน การ์ตูน สัตว์ พืช ดอกไม้ สิ่งของต่างๆ ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวไว้ สําหรับบริการกลุ่มเป้าหมายให้สามารถนําไปใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีความรู้ในการเขียนโปรแกรม แต่อย่างใด ช่วยให้การสร้างสรรค์เว็บบล็อกสะดวกและง่ายขึ้นเพียงแต่เว็บบล็อกล้วนแต่สร้างผลงาน ให้มีลักษณะสวยงาม แปลกตา น่าสนใจ แม้ผู้สร้างไม่มีความถนัดในการอกแบบเชิงศิลปะก็สามารถ สร้ า งเว็ บ บล็ อ กให้ ส วยงามได้ ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต โค้ ช หรื อ สคริ ป ต์ ต่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มสู ง ได้แก่ www.slid.com, www.amazingcoumter.com, www.rockyou.com, www.cootext.co m, www.vamos.com, www.cute-spot.com, ฯลฯ วัตถุประสงค์การใช้เว็บบล็อก (Weblog) การใช้เว็บบล็อกเพื่อการเรียนการสอนมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้สนใจ/ผู้เรียน 2. เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมเนื้อหา 3. เพื่อเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลอื่น 4. เพื่อการสื่อและติดตามการเผยแพร่ผลงาน/บทความทางวิชาการ 6. เพื่อเป็นสื่อเชื่อมโยงในการศึกษาค้นคว้ากับเว็บไซต์อื่นๆ 7. เพื่อความสนุกเพลิดเพลินผู้เรียน 8. เพื่อฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการแสวงหาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงได้เว็บบล็อกนํามาประยุกต์ใช้ในการสอนวิชาเทคโนโลยีการศึกษา พั ฒ นาการคิ ด วิ เ คราะห์ สํ า หรั บ ผู้ เ รี ย น เพื่ อ ที่ จ ะให้ ผู้ เ รี ย นได้ ส นใจ เข้ า มาแสดงความคิ ด เห็ น แลกเปลี่ยน เรี ยนรู้ ปรับแก้ไข ปรับปรุง และแสดงความคิ ดต่างๆ รวมถึงแนวทางพัฒนาการคิด วิเคราะห์สําหรับผู้เรียนที่ใช้เว็บบล็อกในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

4

การสร้างสรรค์

Blog คืออะไร ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับ Weblog หรือ Blog Blog มาจากคําว่า World Wide Web ซึ่งหมายถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ เชื่อมโยงกันไปทั่วโลกกับคําว่า log แปลว่า บันทึก รวมกันเป็น Weblog นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า Blog ซึ่งเป็นเว็บไซต์พันธุ์ใหม่รูปแบบใหม่ที่กําลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก สามารนํามา ประยุกต์ใช้เกิดประโยชน์ได้กับแทบทุกวงการ การสร้างสรรค์ Weblog ทําได้อย่างรวดเร็ว ไม่ จําเป็นต้องใช้ทักษะทางคอมพิวเตอร์มากนักก็สามารถทําได้อย่างสวยงามน่าทึ่ง ดังที่ท่านจะได้ลงมือ ปฏิบัติในครั้งนี้ Weblog มีประโยชน์อย่างไรบ้าง จุดเด่นที่สุดของ Blog ก็คือ มันสามารถเป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความ เป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ ผ่าน ทางระบบ comment ของบล็อกนั่นเอง ประโยชน์ของ Weblog 1. เป็นสื่อที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกของผู้เขียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เพื่อเสนอให้ ผู้คน สาธารณะได้รับรู้ 2. เป็นเครื่องมือช่วยในด้านธุรกิจ เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเสนอข่าวสารความ เคลื่อนไหวขององค์กร การเสนอตัวอย่างสินค้า การขายสินค้า และการทําการตลาดออนไลน์ เป็นต้น 3. เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่ถูกต้องและชัดเจน จากผู้มีความรู้เฉพาะด้านๆ นั้น เนื่องจาก ผู้เขียน Blog มักจะเขียนถึงเรื่องที่ตัวเองถนัด ชอบ และมีความรู้ลึกในเรื่องนั้นๆ การค้นหาข้อมูล เฉพาะด้านใน Blog ต่างๆ จึงทําให้เราค้นพบความรู้ และผู้มีความรู้ความชํานาญในด้านต่าง ๆ ได้ รวดเร็วขึ้น 4. ทําให้ทันต่อเหตุการณ์ในโลกปัจจุบัน เพราะข่าวสารความรู้ มาจากผู้คนมากมาย(ทั่วโลก) และมักจะเปลี่ยนแปลงได้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

5

5. ไม่ต้องใช้ความรู้ทางคอมพิวเตอร์ชั้นสูงก็สามารถทําได้ 6. ไม่ต้องของพื้นที่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเหมือนเว็บไซต์ทั่วไป 7. สามารถบรรจุภาพนิ่ง เสียง และภาพเคลื่อนไหวเหมือนเว็บไซต์ทั่วไปได้ 8. สามารถใช้งานหรือปรับแต่งให้สวยงามได้ด้วยตนเอง นํามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการ สอนได้ดี 9. สําหรับ Weblog ของ Blogger สามารถบรรจุบทความได้มากถึง 999 บทความ 10.สามารถสร้างสรรค์องค์ประกอบต่างๆ ที่เป็นประโยชน์กับการทํางานได้หลายอย่าง เช่น ตัวเลขนับผู้ชม (counter) กระดานข่าว (web board) สไลด์(slides) คลิบวีดิทัศน์ (video clip) เป็นต้น 11.สามารถเชื่อมโยงกับเว็บไซต์อื่น ๆ ได้ตามต้องการ ด้วยคุณสมบัติที่ดีดังกล่าว ทําให้ weblog ได้รับความนิยมไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ ในวงการศึกษามีการนํามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนแบบผสมผสานได้เป็นอย่างดี weblog จะ ทํ า หน้ า ที่ เ ชื่ อ มโยงระหว่ า งผู้ ส อนกั บ ผู้ เ รี ย นหรื อ ผู้ เ รี ย นกั บ ผู้ เ รี ย นได้ ต ลอดเวลา ทุ ก สถานที่ ที่ มี อินเตอร์เน็ตใช้ ผู้เรียนสามารถค้นคว้าความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียนได้จากเว็บไซต์อื่นได้ มากมายมหาศาล ทํ า ให้ ผู้เ รียนเข้ าถึ งสาระของเนื้อหาที่ส อนได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น ดั งนั้ น weblog จึงเป็นสื่อการสอนอีกชนิดหนึ่งที่จะช่วยให้ครูอาจารย์จัดการเรียนการสอนได้สะดวกสบาย ยิ่งขึ้น จากการวิจัยที่ศึกษาการใช้เว็บบล็อก (มณฑิรา พันธุ์อัน อ้างถึงโดย ยูซิอุ Yuehchiu 2008 : 61) สรุปว่าโดยทั่วไปแล้วบล็อกจะเป็นเครื่องมือการสื่อสารดีเยี่ยม สําหรับทีมและกลุ่ม มีพื้นที่ว่างสําหรับ ให้ผู้เรียนร่วมกัน แสดงความคิดและทํางานร่วมกัน เพื่อหาความคิดที่ชัดเจนร่วมกัน สอดคล้องกับ รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เป็นวิธีการเรียนที่มุ่งให้ผู้เรียนร่วมมือกันใน ด้านการเรียนการสอน (Slavin 1995, อ้างถึงในบุญเรือง เนียนหอม 2540 : 56-57) เหมาะสมอย่างยิ่ง กับการเรียนการสอนบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งเกี่ยวข้องกับการกระทําที่ร่วมมือกัน การใช้แหล่งข้อมูลร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน การเรียนแบบช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ ผลจากการศึกษาการใช้ Blog ในการจัดการเรียนการสอนนั้น พบว่า ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถบริหารจัดการความรู้ต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและเกิด ประโยชน์ ผู้เรียนมีทักษะด้านคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลง ที่มา ทรงศรี สรณสถาพร ธนายุส ธนธติ การใช้บล็อก (BLOG) ในการเรียนการสอน

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

6

ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก ในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทุกๆการอบรม มีการใช้เว็บบล็อกของบล็อกเกอร์ (Blogger) ซึ่งเป็นบริษัท Google ประเทศสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นเว็บบล็อกที่ได้รับความนิยมมากที่สุด การสร้าง เว็บบล็อกท่านต้องมี e-mail เป็นของตนเองเสียก่อน จากนั้นจึงใช้ e-mail สมัครเข้าไปสร้างเว็บ บล็อกได้ e-mail ที่ควรใช้กับบล็อกเกอร์ควรเป็น Gmail ของ Google เช่นเดียวกัน

ขั้นตอนการสมัครใช้บัญชี Gmail Gmail เป็นช่องทางการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ช่องทางหนึ่งบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การ สมัครใช้บัญชีของ Gmail มีประโยชน์ในการใช้บริการต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะการใช้อ้างอิงในการ สร้าง weblog การรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทั้งที่เป็นรูปภาพและตัวอักษรข้อความ, การ เชื่อมโยงกับเครือข่ายต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น ในที่นี่ขอแนะนําวิธีสมัคร Gmail โดยขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้ 1. พิมพ์ http://www.google.ac.th แล้วกด enter

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

7

2. คลิกที่ Gmail

สวนนี้สําหรับผูที่มี Gmail อยูแลว กรอกขอความแลวใชงานได

สวนนี้สําหรับผูสมัครใหม

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

8

3. กรอกขอความเปนภาษาอังกฤษเทานั้น 4. กรอกชื่อ Gmail ของทาน 5. คลิกเพื่อตรวจสอบดูวามีคนใชชื่อนี้หรือยัง 6. ถาผานขอ 4 แลวใหกรอกรหัสผาน 2 ครั้ง

หมายเหตุ!! ถ้าข้อ 3 ไม่ผ่านให้ท่านกรอกชื่อใหม่ แล้วตรวจสอบทุกครั้งจนกว่าจะผ่าน ถ้าผ่าน ข้อ 3,4,5 แล้วให้จดบันทึกชื่อ Gmail และรหัสผ่านของท่านไว้ (ห้ามลืมเด็ดขาด...) เพราะทั้งชื่อ Gmail และรหัสผ่านของท่าน จะต้องถูกนํามาใช้ในการทํางานทุกอย่างกับ Gmail เช่น การเช็ค จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสร้างเว็บบล็อก หรือการใช้บริการต่างๆ ที่ Gmail จัดให้ เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยแล้วให้กรอกข้อมูลต่อไปทุกช่องให้ครบถ้วน ดังตัวอย่างที่แสดงให้ดูใน หน้า 3 (แต่ขอ้ มูลทุกช่องต้องเป็นของท่านเอง...ห้ามใช้ข้อมูลเดียวกับตัวอย่าง..) เสร็จแล้วให้กดที่ปมุ่ ข้อความ ฉันยอมรับ โปรดสร้างบัญชีของฉัน ทีอ่ ยู่ด้านล่างสุด

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

9

ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก การสร้างเว็บบล็อกเบื้องต้นมีขั้นตอนดังนี้ 1. พิมพ์ข้อความ http://www.blogger.com ตรงนี้ แล้วกดEnter จะเข้าสู่เว็บไซต์

2. เมื่อเข้าสู่เว็บไซต์ Blogger แล้ว สําหรับผู้ที่ใช้ Email ของ Gmail อยู่แล้วให้ทําตาม ขั้นตอน 2.1 และสําหรับผู้ที่ยงั ไม่มี Email ของ Gmail ให้ทําตามขั้นตอน 2.2 ดังต่อไปนี้

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

10

2.1 สําหรับผู้ทมี่ ี Gmail สามารถลงชื่อเข้าใช้งาน Blogger ได้เลย โดยใส่ Email ที่ เป็นของ Gmail และรหัสผ่านของคุณเอง “................................@gmail.com ”

ใส่ Email ที่เป็นของ Gmail และ รหัสผ่านของคุณเอง

เมื่อกรอกแล้ว คลิก “ลงชื่อเข้าใช้งาน”

2.2 สําหรับผู้ทยี่ ังไม่มี Email ของ Gmail ให้คลิกเลือก สมัครใช้งาน

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

11

จากนั้นให้กรอกตามขั้นตอนต่าง ๆ ของ Gmail เพื่อทําการสมัครบัญชี Google ใหม่

สําหรับผู้ที่สร้างบัญชีของ gmail ใหม่

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

12

1. พิมพ์ชื่อ – นามสกุล 2. ตั้งชื่อสําหรับใช้เป็น e-mail (ใช้ตัวอักษรอังกฤษ ตัวเลข และจุดเท่านั้น) 3. ตั้งรหัสผ่าน อย่างน้อย 8 อักขระ 4. ยืนยันรหัสอีกครั้ง 5. เลือกใส่เดือน/วัน/ปี เกิด เช่น กุมภาพันธ์ 19 ปี(ค.ศ.) 1982 6. เลือกเพศ หญิง/ชาย/อื่นๆ 7. ใส่เบอร์โทรศัพท์มือถือ 8. ใส่ email ที่ใช้ปัจจุบัน (ถ้ามี)

9. พิมพ์รหัสยืนยันตามที่กําหนดให้

10. เลือกประเทศไทย 11. คลิกเลือก ฉันยอมรับ

12. คลิกเลือก ขั้นตอนต่อไป

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

13

Trick เมื่อทําตามขั้นตอนการสมัครเสร็จเรียบร้อยแล้ว สําหรับบางท่านทาง Google จะ ขอให้คุณ “ยืนยันบัญชีของคุณ ก่อนที่คณ ุ จะสามารถใช้งานได้” ให้ทําตามขั้นตอน ดังนี้

1. ให้คลิกเลือกการยืนยัน โดยให้ ส่งผ่านทางข้อความ หรือ โทรศัพท์ 2. เลือกประเทศ เป็นประเทศไทย 3. กรอกเบอร์โทรศัพท์ที่ต้องการให้ ส่งข้อความ หรือ โทรศัพท์ 4. คลิก

จากนั้นรอรหัส 6 หลักจากทาง Google ส่งเข้ามาทางข้อความ หรือโทรศัพท์ แล้ว ใส่รหัสยืนยันทีท่ าง Google ส่งเข้มา

5. ใส่รหัสยืนยันจากทาง Google

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

14

เมื่อทําตามขั้นตอนสําเร็จเสร็จสิ้นแล้วจะเข้าสู่หน้า สร้างโปรไฟล์ของคุณ... ให้คลิก ขั้นตอนถัดไป

คลิก ขัน้ ตอนถัดไป

เมื่อดําเนินการตามขั้นตอนแล้ว google จะแสดง email ใหม่ของคุณ จากนั้นให้คลิก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

15

เมื่อทําตามขั้นตอนเสร็จแล้ว Blogger จะให้ยืนยันโปรไฟล์ของคุณ จากนั้นให้ คลิกเลือก ดําเนินการต่อไปยังบล็อกเกอร์

คลิก

สําหรับผู้ทใี่ ช้ Email ของ Gmail อยู่แล้ว ทําตามขั้นตอน 2.1 และสําหรับผู้ที่ยังไม่มี Email ของ Gmail ทําตามขั้นตอน 2.2 เสร็จตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว จะเข้าสูห่ น้าของเว็บไซต์ของบล็อกเกอร์ และเริม่ ทําขัน้ ตอนการสร้างบล็อกเกอร์ ดังนี้ 3. เมื่อเข้าสู่หน้าเว็บไซต์ของ Blogger จะต้องทําการสร้างบล็อกก่อน ดังนี้ 3.1 ให้ คลิก บล็อกใหม่ เพื่อทําการสร้างบล็อก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

16

3.1 คลิก

3.2 เมื่อคลิก บล็อกใหม่ จะปรากฏหน้าต่างใหม่ ให้ดําเนินการ สร้างบล็อกใหม่ ทําตามขั้นตอน ดังนี้

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

17

ส่วนนี้ต้องเป็นชื่อภาษาอังกฤษ เท่านั้น เป็นส่วนสําคัญที่ต้อง จดจําหรือจดบันทึกไว้ในการ เข้าใช้งานตลอดไป (ถ้าท่านลืม ข้อมูลที่เคยทําไว้ จะใช้ ประโยชน์อะไรไม่ได้เลยแล้วจะ กลายเป็นเว็บล้างในที่สุด) โดย ตั้งชื่อจะต้องใช้ชื่อที่ไม่ซ้ํากับชื่อ ที่มีอยู่แล้ว ซึ่งถ้าตั้งชื่อผ่าน blogger จะบอกว่า “ที่อยู่ บล็อกนีส้ ามารถใช้ได้”

ส่วนนี้ตั้งเป็นชื่อภาษาไทยหรือ ภาษาอังกฤษก็ได้

สามารถเลือกแม่แบบได้ตามต้องการ ยกเว้นแบบ Dynamic Views

คลิก

เมื่อทําการสร้างบล็อกแล้ว จะเห็นว่ามี Blog ที่ได้สร้างเพิ่มขึ้นมา 1 Blog โดยจะ บอกว่า สร้างบล็อกของคุณแล้ว

Blog ใหม่ที่สร้างขึ้นมา

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

18

ไชโย!! มีเว็บบล็อกเป็นของตัวเองแล้วววว

ตัวเลือกหน้าตาเว็บบล็อกที่พร้อมในการใช้งานต่อไป เมื่อทําการสร้างบล็อกแล้ว ในกรณีเลือก..เริ่มต้นการโพสต์ ในส่วนบทความจะมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

คลิก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

19

เมื่อเข้าสู่ในขั้นตอนของ เริ่มต้นการโพสต์ มีขั้นตอนดังนี้ ส่วนของชื่อโพสต์ หรือ ชื่อเรื่อง

เมื่อทําการเขียนบทความเสร็จแล้ว คลิก

ส่วนของการเขียนบทความ

ส่วนของเมนู

ส่วนของการตั้งค่าโพสต์

จากนั้นจะเข้ามาสู้หน้าของบทความ ให้ คลิก ดูบล็อก เพื่อทําการดูเนื้อหาของ บทความที่ทําการโพสต์ ในหน้าของบล็อกเกอร์

คลิก เพื่อทําการดู เนื้อหาของบทความ

เมื่อเสร็จสิ้นขัน้ ตอนการโพสต์บทความแล้ว ก็จะได้หน้าของบทความในหน้าแรกของ บล็อกเกอร์ ถือเป็นการเสร็จสิ้นในขั้นตอนของการเขียนบทความลงในเว็บบล็อกเรียบร้อยแล้ว

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

20

การตั้งค่าบล็อกเกอร์ เมื่อได้ทําตามขั้นตอนการสร้างบล็อกเสร็จเรียบร้อยแล้ว การตั้งค่าบล็อกเกอร์ก็มีส่วนสําคัญ เป็นอย่างมาก ทั้งการตั้งค่าขั้นพื้นฐาน การตั้งค่าในส่วนของโพสต์และความคิดเห็น และการตั้งค่าใน ส่วนของภาษาและการจัดรูปแบบ มาเริ่มต้นการตั้งค่าบล็อกเกอร์ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ เมื่ออยู่ในหน้าแรกของบล็อกเกอร์สามารถเข้าไปทําการตั้งค่าบล็อกเกอร์ ดังนี้

คลิกเมนู การออกแบบ

คลิกเมนู

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

21

การตั้งค่า > พื้นฐาน 1. ชื่อ / เป็นส่วนของชื่อหัวของบล็อก 2. คําอธิบาย / เป็นส่วนของ คําอธิบายใต้ชื่อหัวของบล็อกเกอร์ 3. ที่อยู่ของบล็อก / เป็น ส่วนของการเปลี่ยนชื่อ โดเมน

การตั้งค่า > โพสต์และความคิดเห็น

เมื่อทําการเปลี่ยนเสร็จแล้ว ให้คลิก 4. แสดงสูงสุด / เปลี่ยนจาก 7 บทความ เป็น 500 บทความ เมื่อทําการเปลี่ยน เสร็จแล้วให้คลิก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

22

การตั้งค่า > ภาษาและการจัดรูปแบบ เมื่อทําการเปลี่ยนเสร็จแล้ว ให้คลิก

5. โซนเวลา / เป็น

เมื่อทําการตั้งค่าบล็อกเกอร์เรียบร้อยแล้ว ให้คลิก ดูบล็อก เพื่อทําการดูภาพรวม ของบล็อกเกอร์ที่ได้ทําการแก้ไข เปลี่ยนแปลงการตั้งค่า 6. คลิก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

23

ได้ทําการตั้งค่าบล็อกเกอร์เสร็จสิ้น เรียบร้อยแล้ว..เย้ยยยยยย

เมื่อได้ทําการตั้งค่าบล็อกเกอร์เสร็จแล้ว หลังจากนี้จะเป็นขั้นตอนในส่วนประกอบสําคัญของ บล็อกเกอร์ การตกแต่งเว็บบล็อก โดยใช้เมนู “แม่แบบ” การตกแต่งเว็บบล็อก ซึ่งใช้แม่แบบของบล็อกเกอร์อย่างง่าย มีขั้นตอนดังนี้

1.คลิกเมนู แม่แบบ เพื่อทําการเลือก เทมเพลตบล็อกเกอร์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

24

2. คลิกเลือกแม่แบบของบล็อกที่ต้องการ โดยการคลิกที่

จากนั้นจะแสดงหน้าตัวอย่างของแม่แบบทีต่ ้องการ

3. คลิก ใช้กับบล็อก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

25

4. คลิก กําหนดค่า เมื่อต้องการ ปรับการตกแต่งบล็อกด้วยตัวเอง

5. คลิกเมนู เทมเพลต

6. เลือกเทมเพลตที่ต้องการ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

7. คลิกเมนู พืน้ หลัง

26

8. คลิกเลือกภาพพื้นหลังที่ ต้องการ

9. คลิก เสร็จสิ้น

10. คลิกเมนู ปรับความกว้าง

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

11. เลือกปรับค่าความกว้าง ตามความเหมาะสม

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

27

12. คลิกเมนู รูปแบบ 13. เลือกรูปแบบของบล็อกเกอร์ ตามความต้องการ

14. คลิกเมนู ขั้นสูง 15. เลือกการปรับแต่งเทมเพลตบล็อก เกอร์ตามความเหมาะสม

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

28

16. คลิก ใช้กบั ล็อก เมื่อปรับแต่งเสร็จสิ้นแล้ว

การตกแต่งเว็บบล็อก โดยใช้เมนู “แม่แบบ” เสร็จสมบูรณ์ แล้ว

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

29

ส่วนประกอบของบล็อก เว็บบล็อกของ Blogger มีส่วนประกอบสําคัญ 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนหัวบล็อก (Banner) 2. ส่วนบทความ / เนื้อหา 1. ส่วนหัวบล็อกและคําอธิบายบล็อก 3. ส่วนปรับแต่ง / ออกแบบ Gadget เป็นส่วนที่สามารถตกแต่งให้สวยงาม เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้ด้วย รูปภาพและตัวอักษรข้อความ

2. ส่วนบทความ เป็นส่วนที่สามารถบรรจุได้ทั้ง รูปภาพและข้อความ แต่รูปภาพไม่สามารถเปลี่ยน ตําแหน่งได้ตามความต้องการ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

3. ส่วนปรับแต่ง เป็นส่วนที่สามารถย้าย ตําแหน่งได้ทั้งด้านซ้ายและขวามี องค์ประกอบส่งเสริมความยืดหยุ่นได้ดี สามารถเลื่อนตําแหน่งองค์ประกอบไปได้ ทั้งด้านซ้ายและขวา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

30

การตกแต่งบล็อก การตกแต่งบล็อกเป็นศิลปะที่ทําให้ผลงานมีความแปลก สวยงามสะดุดตา

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

31

1. การตกแต่งส่วนบทความใหม่ ให้เริ่มจากหน้าของเว็บบล็อกโดยมีขั้นตอนดังนี้

คลิก

1. ส่วนของชื่อโพสต์ หรือชื่อเรื่อง

5. เมื่อทําการเขียนบทความเสร็จแล้ว คลิก

3. ส่วนของการเขียนบทความ

2. ส่วนของเมนู

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

4. ส่วนของการตั้งค่า โพสต์

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

32

ส่วนของเมนูที่สําคัญ และใช้บ่อยสําหรับการใส่เขียนบทความลงใน Blog

การใช้แถบคําสั่งด้วยภาษาจาวาสคริปต์ รูปแบบของตัวอักษร

รูปแบบของขนาดตัวอักษร

การจัดรูปแบบของตัวอักษร B ตัวหนา / ตัวเอียง / ตัวขีดเส้นใต้ / ตัวขีดเส้นกลาง สีข้อความ / สีพื้นหลังข้อความ เพิ่มลิงค์หรือลบลิงค์ / แทรกรูปภาพ / แทรกวิดีโอ / แทรกการข้าม การจัดเรียง / รายการตัวเลข / รายการลําดับหัวข้อย่อย อ้างคําพูด / ลบการจัดรูปแบบ / ตรวจการสะกด

เผยแพร่บทความ / บันทึกบทความ(ฉบับร่าง) แสดงตัวอย่างของบทความ / ปิด

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

33

เมื่อเข้าสู่ขั้นตอนการเขียนบทความ ให้ทําตามขั้นตอนการโพสต์บทความเบื้องต้น ดังนี้ - ใส่ชื่อเรื่องโพสต์บทความ - ใส่เนื้อหาของบทความที่ต้องการโพสต์ลงในบล็อก - ใส่รูปภาพลงในบทความ - ทําการแทรกการข้ามของบทความ เพื่อไม่ให้เนื้อหายาวเกินหน้าแรกของ บทความในบล็อกเกอร์ - ทําคําสั่งลิงค์ไปยังเว็บไซต์อื่นๆที่ต้องการ 1. ชื่อเรื่องโพสต์บทความ

3. เลือกไอคอนแทรก รูปภาพ

2. เนื้อหาของบทความที่ต้องการโพสต์

4. คลิก เพือ่ ทําการอัพโหลด รูปภาพลงในบทความ

5. คลิกเลือกไฟล์รูปที่ต้องการ จากนั้น คลิก รออัพโหลดไฟล์ภาพ เมื่ออัพโหลดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิก เพิ่มรายการที่เลือก สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

34

6. คลิก เพื่อนํารูปภาพลงในบทความ

จากนั้ น ให้ ทําการจัดรู ปภาพตามความเหมาะสม โดยคลิกที่รู ปภาพ จะมีเมนูใ น การจัดขนาดภาพ การจัดวางภาพตําแหน่งภาพ การเพิ่มคําบรรยาย คุณสมบัติ และการลบภาพ ในบทความ

เมนูการจัดวางภาพ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

35

จะได้ตําแหน่งการวางภาพตามต้องการ และตามความเหมาะสมของบทความ

จากนั้นใช้ไอคอน แทรกการข้าม ในการแบ่งส่วนของบทความ ในกรณีที่เนื้อหาของ บทความมีจํานวนมาก เนื่องจากเนื้อหาในหน้าของบล็อกเกอร์จะดูไม่เยอะเกินไป

7. คลิก เพื่อทําการแบ่งส่วน ของเนื้อหาบทความ

จากนั้นจะเห็นเส้นแบ่งบทความปรากฏขึ้นมา ในส่วนเนื้อหาบนเส้นแบ่งบทความ จะเป็นส่วนที่แสดงในหน้าแรกของบล็อกเกอร์ และส่วนล่างเส้นแบ่งบทความ จะ แสดงในส่วนของเนื้อหาด้านใน

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

36

จากนั้นใช้ไอคอน ลิงค์ เพื่อทําการลิงค์ไปยังหน้าเว็บไซต์ต่างๆ ที่ได้นําเนื้อหามาลง ในบทความ (ในกรณีนําเนื้อหาบทความมาจากเว็บอื่นๆ หรือต้องการใส่ลิงค์ เพื่อไปยังเว็บไซต์ที่น่าใน ใจ) ดังขั้นตอนนี้ - พิมพ์ที่มาของเว็บไซต์ที่ต้องการทําลิงค์ หรือคําที่ต้องการทําการลิงค์ จากนั้น คลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วล้างคลุมคําๆนั้น - จากนั้น คลิกที่ไอคอน ลิงค์ เพื่อทําการลิงค์

8. คลิก

เพื่อทําการลิงค์

9. พิมพ์คําที่ต้องการทําการลิงค์ คลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วล้างคลุมคําๆนั้น - จากนั้นจะมีกล่อง แก้ไขลิงค์ ปรากฏขึ้นมา ให้ทําการ(Copy)คัดลอก URL(ที่อยู่เว็บไซต์)ที่ต้องการ แล้วนํามา(Paste)วาง ลงในช่อง ที่อยู่ทางเว็บ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

37

จะปรากฏคําที่ทําใช้เมาส์ทําการลากคลุมไว้

11.คลิก ตกลง เมื่อทําตามขั้นตอนเรียบร้อย แล้ว

10. ใส่ URL ของ เว็บไซต์ที่ต้องการ เชื่อมโยง

จะแสดง URL ของเว็บไซต์ที่ทําการ ลิงค์

เมื่อทําการเขียนเนื้อหาของบทความเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ทําการ เผยแพร่ บทความลงในโพสต์ ดังนี้

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

38

12. คลิก เพื่อ ทําการเผยแพร่บทความ

จากนั้นจะเข้ามาสู้หน้าของบทความ ให้ คลิก ดูบล็อก เพื่อทําการดูเนื้อหาของ บทความที่ทําการโพสต์ ในหน้าของบล็อกเกอร์

13. คลิก เพื่อทํา การดูเนื้อหาของบทความ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

39

เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอนการโพสต์บทความแล้ว ก็จะได้หน้าของบทความในหน้าแรกของ บล็อกเกอร์ ถือเป็นการเสร็จสิ้นในขั้นตอนของการเขียนบทความลงในเว็บบล็อกเรียบร้อยแล้ว

ส่วนของบทความในหน้าแรกของบล็อก

2. การตกแต่งส่วนปรับแต่ง (ส่วน Gadget) องค์ประกอบที่ใช้ในการปรับแต่งในส่วนนี้มีความยืดหยุ่นสูง ช่วยให้เราสามารถแต่ง เติ ม เสริ ม องค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ เพื่ อ สร้ า งความสมดุ ล หรื อ ความสวยงามให้ กั บ บล็ อ กได้ ส ะดวก องค์ประกอบแต่ละอย่างสามารถโยกย้ายเพื่อสลับตําแหน่งไปวางไว้ในด้านซ้ายหรือขวา หรืออาจสลับ เปลี่ยนวางไว้ในแนวบนหรือล่างก็ได้ ซึ่งในส่วนของตัวปรับแต่งนั้นมีส่วนของGadget ให้เลือกมากมาย ในที่นี้จะยกตัววอย่าง ส่วนของGadget พื้นฐานที่ใช้ในการตกแต่งบล็อกเกอร์เบื้องต้น โดยมีขั้นตอน หรือวิธีการดังนี้

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

40

เมื่ออยู่ในหน้าแรกของบล็อกเกอร์ ให้คลิกเมนู การออกแบบ เพื่อเข้าไปยังแม่แบบ จากนั้น ให้เลือกเมนู รูปแบบ เพื่อทําการเพิ่ม Gadget หรือ เพิ่มตัวปรับแต่งบล็อกเกอร์

1. คลิก

หลังจากนั้นจะเข้าสู่ในส่วนของเมนู แม่แบบ ให้คลิกเลือกในส่วนของเมนู รูปแบบ เพื่อทําการเพิ่มตัวปรับแต่ง

2. คลิกเมนู

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

41

จากนั้นจะเข้าสู่เมนู รูปแบบ

3. คลิก

จากนั้นจะแสดงหน้า เพิ่ม Gadget

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

42

Gadget เป็นส่วนของตัวตกแต่งพื้นฐาน ซึ่งมีทั้งหมด 27 Gadget ด้วยกัน ประกอบด้วย ดังนี้

โดยสามารถเลือกใช้ส่วนของตัวปรับแต่งได้ โดยการคลิกที่ รูปภาพของตัวปรับแต่งนั้นๆ / คลิกที่ชื่อของตัวปรับแต่งนั้นๆ / คลิกที่ไอคอน เพือ่ ทําการเพิ่มตัวปรับแต่งของบล็อกเกอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

43

การเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “รูปภาพ” มีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเมนู รูปภาพ

2. พิมพ์ชื่อหัวเรื่องของรูปภาพ 3. พิมพ์คําอธิบายประกอบรูปภาพ

4. คลิก Browse ค้นหาแหล่งรูปภาพ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

44

5. ค้นหาแหล่งข้อมูลของรูปภาพ 6. เลือกรูปภาพที่ต้องการ

7. คลิก Open เพื่ออัพโหลดรูปภาพ

8. รูปภาพกําลังถูกอัพโหลด

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

45

รูปภาพที่เลือกถูกอัพโหลดขึ้นมา

9. คลิก บันทึก

12. คลิก ดูบล็อก 11. เมื่อได้รูปภาพมาแล้ว ให้คลิก บันทึกการจัดเรียง

10. เมื่อทําการบันทึกแล้ว กล่อง Gadget จะแสดงอยู่ด้านบนสุด

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

46

การเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “รายชื่อลิงค์” มีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “รายชื่อลิงค์”

2. พิมพ์ชื่อหัวข้อของลิงค์ 3. จํานวนลิงก์ที่ต้องการแสดงในรายการ 4. การจัดเรียงลิงค์ 5. ใส่ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการลิงค์ 6. ชื่อเว็บไซต์ที่ต้องการลิงค์ 7. คลิก เพิ่มลิงค์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

47

เพิ่มลิงค์ตามจํานวนลิงค์ที่ต้องการ

8. คลิก บันทึก

11. คลิก ดูบล็อก 10. ให้คลิก บันทึกการจัดเรียง

9. เมื่อทําการบันทึกแล้ว กล่อง Gadget จะแสดงอยู่ด้านบนสุด

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

48

การเพิ่ม Gadget ในส่วนของ “HTML/จาวาสคริปต์” ในที่นี้จะนําคลิปวิดีโอ จาก เว็บไซต์ youtube.com มาทําการวางลงในเว็บบล็อก มีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก Gadget “HTML/จาวาสคริปต์”

2. พิมพ์ชื่อหัวข้อของลิงค์

3. ใส่โค้ด HTML/จาวาสคริปต์

โค้ด HTML/จาวาสคริปต์ ในที่นี้จะนํามาจากเว็บไซต์ youtube.com โดยมีขั้นตอน การนําโค้ดมาวาง ด้งนี้

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

49

3.1 พิมพ์เว็บไซต์ www.youtube.com

3.2 พิมพ์ค้นหาวิดีโอตามที่ต้องการ

3.3 เมื่อได้วิดีโอที่ต้องการแล้ว ให้คลิกเข้าไป ยังวิดีโอนั้น

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

50

3.4 วิดีโอที่ต้องการ

3.5 คลิก Share 3.6 คลิก Embed

3.8 ทําการคัดลอก(Copy)โค้ด เพื่อไปวางใน Gadget โดยให้สังเกตค่า With 280 px และค่า Height 158 px มีการเปลี่ยนแปลงตามที่กําหนด หรือไม่

3.7 กําหนดขนาดวิดีโอ ให้เหมาะสมกับ บล็อกเกอร์ ในที่นี้กําหนดค่า With 280 px และค่า Height 158 px

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

51

4. ทําการวาง(Paste)โค้ดในGadget โดยให้สังเกต ค่า With 280 px และค่า Height 158 px มีการเปลี่ยนแปลงตามที่กําหนดหรือไม่

5. คลิก บันทึก

8. คลิก ดูบล็อก 7. ให้คลิก บันทึกการจัดเรียง

6. เมื่อทําการบันทึกแล้ว กล่อง Gadget จะแสดงอยู่ด้านบนสุด

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

52

เมื่อคลิก ดูบล็อก แล้ว จะปรากฏ Gadget ต่าง ๆ ที่ได้ทําการเพิ่มตัวตกแต่ง ซึ่งยังมี ตัวตกแต่งให้เพิ่มเติมอีกกมากมาย

Gadget รูปภาพ

Gadget รายชื่อลิงค์

Gadget HTML/จาวาสคริปต์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

53

การเคลื่อนย้ายกล่อง Gadget สามารถทําได้ ตามขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเมาส์คา้ ง ตรงกล่องGadget ที่ ต้องการย้าย โดยให้เมาส์เป็นรูป

2. จากนั้นทําการ ย้ายไปวางยัง ตําแหน่งที่ต้องการ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

54

5. คลิก ดูบล็อก

4. คลิก บันทึกการจัดเรียง ทุกครั้งเมื่อมี การย้ายตําแหน่งของ Gadget

3. ย้ายตําแหน่งของ Gadget ตามต้องการ

การสร้างบล็อกเบื้องต้น..สําเร็จแล้วววววว สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

55

3. การตกแต่งส่วนหัวบล็อก การตกแต่งส่วนนี้สามารถตัดต่อ ตกแต่งด้วยภาพ สีสัน สัญลักษณ์ หรือตัวอักษรให้ สวยงามด้วยโปรแกรมการตกแต่งภาพ คือโปรแกรม PhotoShop หรือ Illustrator ซึ่งผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมจะได้รับการถ่ายทอดพอสังเขปที่พอจะสามารถสร้างภาพสวย ๆ มาใช้กับหัวบล็อกได้ใน โอกาสต่อไป กิจกรรมฝึกฝนการตกแต่งเว็บบล็อก ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติดังนี้ 1. ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตกแต่งเว็บบล็อกในส่วนบทความใหม่ ตามตัวอย่างจากการ สาธิตโดยใช้เอกสารประกอบการฝึกอบรมในการทบทวนขั้นตอนต่าง ๆ กําหนดให้มีรปู ภาพอย่างน้อย คนละ 5 รูป และบทความใหม่คนละ 2 บท 2. ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตกแต่งเว็บบล็อกในส่วนปรับแต่ง ตามตัวอย่างจากการสาธิต โดยใช้เอกสารประกอบการฝึกอบรมเพื่อการทบทวนขั้นตอนต่าง ๆ กําหนดให้มีรูปภาพอย่างน้อยคน ละ 3 รูป และบทความคนละ 2 บท การตกแต่งสีของเว็บบล็อก สีของเว็บบล็อกเป็นองค์ประกอบสําคัญในการกระตุ้นและดึงดูดความสนใจของผู้ชมเป็นอย่าง ยิ่ง ช่วยสร้างทัศนคติที่ดีต่อชิ้นงาน นอกจากนี้การใช้สียังแสดงออกถึงรสนิยมของเจ้าของเว็บบล็อก เองด้วย เทคนิคพื้นฐานในการใช้สีกับสื่อทุกชนิดควรพิจารณามิติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสีดังนี้ 1. มิติของความกลมกลืนและความตัดกัน 2. มิติของสีโทนร้อนและสีโทนเย็น 3. มิติของมืด และสีสว่าง มิติของสีกลมกลืน 1. สีกลมกลืน (harmony) เหมาะกับการใช้สําหรับเนื้อหาที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นพวกเดียวกัน ประสานสอดคล้องกันได้ดี การใช้สีกลมกลืนเป็นเลือกสีที่มีตําแหน่งใกล้เคียงกันใน วงล้อสี หรือในจานสีที่กําหนดไว้ในคอมพิวเตอร์ เช่น ดํา น้ําตาล แดง ส้ม เหลือง หรือ ดํา น้ํา เงิน เขียวแก่ เขียวอ่อน เหลือง เป็นต้น 2. สีตัดกัน (contrast) เป็นการเลือกใช้สีที่มีตําแหน่งห่างกันในวงล้อสีหรือ จานสีที่ กําหนดไว้ในคอมพิวเตอร์ สีตัดกันเหมาะกับเนื้อหาที่มีความแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน แสดงความ รุนแรง ความลึกลับ ความตื่นเต้น ตัวอย่างของสีตัดกัน เช่น แดง-เขียว แดง-ดํา แดง-น้ําเงิน ขาว-ดํา ส้ม-ดํา ม่วง-เหลือง เหลือง-ดํา ส้ม-น้ําเงิน เป็นต้น

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

56

มิติของสีโทนร้อนและสีโทนเย็น 1. สีโทนร้อน (warm tone) เหมาะกับเนื้อหาสาระที่ให้ความรู้สึกตื่นเต้นหวาดเสียว รุนแรง ไม่สงบ เด็ดเดี่ยว มีอํานาจ การใช้สีโทนร้อนสามารถทําให้เป็นสีกลมกลืนหรือสีตัดกันก็ได้ 2. สีโทนเย็น (cool tone) เหมาะกับเนื้อหาที่ให้ความรู้สึกสบาย เป็นกันเอง ร่มเย็น อบอุ่น สงบ เรียบง่าย ปลอดภัย การใช้สีโทนเย็นสามารถทําให้เป็นสีกลมกลืนหรือสีตัดกันก็ได้ มิติของสีมืดและสีสว่าง 1. สีมืด (shade) ส่วนใหญ่เกิดจากสีแท้ (hue) ผสมกับสีดํา ให้ความรู้สึกลึกลับ น่า กลัว มั่นคง หนักแน่น บึกบึน ซ่อนเร้น สงสัย อึมคไม่กระจ่าง 2. สีสว่าง (tint) เป็นสีที่เกิดจากสีแท้ (hue) ผสมกับสีขาว ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เบิกบาน อ้างว้าง เป็นกันเอง ไว้ใจได้ ใสสะอาด ปลอดภัย เทคนิคการใช้สีเพื่อการสื่อความหมาย การใช้สีกับข้อความเนื้อหาที่ต้องการให้ผู้สามารถอ่านได้ง่ายและชัดเจน ควรยึดหลัก ที่ว่า สีพื้นเข้มต้องให้สีตัวอักษรอ่อน แต่ในทางกลับกันถ้าสีพื้นเป็นสีอ่อนต้องให้สีตัวอักษรเข้ม ต้อง หลีกเลี่ยงสีที่มีลักษณะกลมกลืนกัน เช่น พื้นสีขาวตัวอักษรสีเหลือง สีส้ม หรือ พื้นสีน้ําเงินเข้ม ตัวอักษรสีดํา สีเขียวเข้ม สีน้ําตาล เป็นต้น การใช้สีในเว็บบล็อก การใช้สีเพื่อการตกแต่งเว็บบล็อก โปรแกรมได้กําหนดไว้ในส่วนปรับแต่ง > แบบอักษรและสี มีองค์และกอบที่เกี่ยวข้องได้แก่ จานสีหรือแถบสีซึ่งประกอบไปด้วยสีมืดและสีสว่าง นอกจากนี้ยังมี ส่วนที่บันทึกสีที่เราใช้กับเว็บบล็อกอยู่ในปัจจุบัน และสีที่โปรแกรมคํานวณไว้ที่กลมกลืนกับสีเดิมได้ ด้วย กิจกรรม.....ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเรียนรู้การปรับแต่งองค์ประกอบต่าง ๆ ให้สวยงาม โดย อาศัยหลักการที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ใช้เวลา 30 นาที

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

57

การใช้โปรแกรมร่วมในการจัดหน้าเนื้อหา Weblog ด้วยโปรแกรม Scribd โดยมีขั้นตอนมีดังต่อไปนี้ 1. เข้าไปที่ http://www.scribd.com 2. คลิกเลือก Sign Up ด้านขวามุมบน เพื่อลงทะเบียนโปรแกรม

Sign up

3. เมื่อคลิก Sign Up ก็จะปรากฏ ไดอะล็อกซ์บ๊อกซ์ ในการใส่ ชื่อ E-mail ของตนเองพร้อม พาดเวิร์ด

ใส e-mail (เมลของ gmail) ตั้งชื่อผูใช ใส password

เลื่อนแถบ Scroll bar ลงมาด้านล่างเพื่อให้คลิกปุ่ม upload (สีฟ้า)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

58

4. คลิก upload อีกครั้งเพื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการใส่ลงไป เช่น Word, Power Point หรือ file pdf. เป็นต้น

Tips :ในกรณีที่มีไฟล์งานขนาดพื้นที่ใหญ่หรือความจุค่อนข้างมาก จะทําให้การ upload ช้า

5. เมื่อปรากฏไฟล์ที่ต้องการแล้ว ให้ คลิก ตรงชื่อไฟล์ เพื่อปรากฏหน้าตาตัวอย่างของไฟล์งานที่ เลือก

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


คู่มือการสร้างเว็บบล็อก (Weblog) เพื่อประยุกต์ใช้การเรียนการสอน

59

6. แล้วคลิดปุ่มทีช่ ื่อว่า Share แถวด้านบน 7. ปรากฏไดอะล็อกซ์บ๊อกซ์ Share this document

มาเพื่อให้ Copy Cord url ที่ปรากฏอยู่แถบช่อง กลาง

8. แล้วนําไปวางในส่วนที่เป็น “บทความใหม่” แล้ว คลิกเผยแพร่ทนั ที ก็จะปรากฏหน้าของเว็บบล็อก ได้ตามความต้องการ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา

คณะครุศาสตร์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.