สารสองล้อ กุมภาพันธ์ 2556

Page 1

STRiDA

¨Ñ¡ÃÂÒ¹ ÊØ´¨ Òº...

ÊÓËÃѺ ¤¹àÁ×ͧ!


เสือหมอบซีรสี ์ Ride การเพิม่ ความยาวของท่อคอเฟรม ให้ระดับแฮนด์สูงขึ้น และลดความยาวท่อบนเล็กน้อย เพือ่ การขับขีท่ สี่ บายกว่า หน้าไม่กม้ ไม่ปวดหลัง ลดแรงกด ระหว่างมือกับแฮนด์ไม่ท�ำให้มือชา ฐานล้อที่กว้างขึ้น ให้การควบคุมทีป่ ลอดภัยกว่ายางนอกขนาดความกว้าง 25C ลดแรงสะเทือนเพิ่มความนุ่มนวล ให้คุณปั่นได้ สนุกมากขึ้นและยาวนานขึ้น

Ride[20Lite 93 สปีด]

เฟรม Road Ride Alloy 6061 ตะเกียบ Road Carbon Lite Nano Taper มือเกียร์ Shimano Tiagra ตีนผี Shimano Tiagra สับจาน Shimano Tiagra ชุดจานหน้า Shimano Tiagra 50-34T เฟือง Shimano CS-6400 11-25T โซ่ KMC X10 10s เบรค MERIDA Road Comp แฮนด์คอ MERIDA Road Pro Compact / MERIDA Pro อาน MERIDA Pro ชุดล้อ Alex Race24 + Shimano Tiagra hubs ยางนอก Maxxis Detonator 700x25C ราคาตั้ง 35,500

Ride 88 [16 สปีด] MERIDA EUROPE GmbH BLUMENSTRASSE 51 71106 MAGSTADT, GERMANY WWW.MERIDA.DE

ติดตามรายละเอียดได้ที่ facebook.com/MERIDA.IN.TH บจก.ไซเคิลสปอร์ต โทร 02-6217225

เฟรม Road Ride Alloy 6061 ตะเกียบ Road Carbon Nano M5 มือเกียร์ Shimano 2300 Dual Control ตีนผี Shimano Sora สับจาน Shimano 2200 ชุดจานหน้า FSA Tempo53-39T เฟือง Sunrace CS-R6 12-25T โซ่ KMC Z78s เบรค Road Alloy Dual Pivot แฮนด์คอ MERIDA Anatomic Road / MERIDA Comp 1 อาน MERIDA Slim ชุดล้อ Alex R450 ยางนอก Maxxis Detonator 700x25C ราคาตั้ง 21,500


พบกับทีมจักรยานถนน LAMPRE-MERIDA ในโปรแกรม UCI World Tour ปี 2013 นี้

REACTO 907-E [20 สปีด]

เฟรม REACTO Pro Carbon Nano Di2 ตะเกียบ REACTO Carbon Lite Taper มือเกียร์ Shimano Ultegra Di2 ตีนผี Shimano Ultegra Di2 สับจาน Shimano Ultegra Di2 ชุดจานหน้า Shimano Ultegra 50-34T เฟือง Shimano CS-6700 11-28T โซ่ Shimano CN-6701 เบรค Shimano Ultegra แฮนด์คอ FSA Energy Ergo + FSA SL-K อาน Selle Italia SLS Monolink ชุดล้อ Fulcrum Quattro ยางนอก Continental Grand Prix 4000S 23C ราคาตั้ง 149,000

RACE LITE 904 [20 สปีด]

เฟรม RaceLite 6066 Aluminum ตะเกียบ Carbon Lite Nano Taper มือเกียร์ Shimano 105 ตีนผี Shimano 105 สับจาน Shimano 105 ชุดจานหน้า Shimano R56550-34T เฟือง Shimano CS-4600 12-28T โซ่ KMC X10 10S เบรค MERIDA Road Pro แฮนด์คอ FSA Gossamer + MERIDA Pro OS อาน Selle Italia X1 ชุดล้อ MERIDA MR500+ Shimano 105 Hubs ยางนอก Vittoria Rubino Slick 700*23C ราคาตั้ง 42,000 MERIDA EUROPE GmbH BLUMENSTRASSE 51 71106 MAGSTADT, GERMANY WWW.MERIDA.DE

ติดตามรายละเอียดได้ที่ facebook.com/MERIDA.IN.TH บจก.ไซเคิลสปอร์ต โทร 02-6217225




สารสองล้อ ฉบับที่ ๒๖๐ / กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ISSN ๑๕๑๓-๖๐๕๑

บทบรรณาธิการ

ออกแบบปก ZangZaew

แวดวงสองล้อ ๘ ปฏิทินทริป ๒๕๕๖ ๑๒ ทริปเดือนกุมภาพันธ์ ๑๔ ทริปเดือนมีนาคม ๑๖ STRiDA จักรยานจับสุดจ๊าบ...ส�ำหรับคนเมือง ๑๗ ทริปเดือนเมษายน ๒๐ จักรยาน.. งานศิลป์ระดับหรู ๒๑ สรุปทริป..ปั่นสองน่อง ท่องภูฯ ๒๔ ทริปประเพณีของสิงห์นักปั่นทางเรียบ ๒๘ ๕ เหตุผลที่ควรปั่นจักรยาน..ไปท�ำงาน! ๓๐ Bike to work ๓๒ นักสะสมจักรยาน ๓๔ Bike Doctor App คัมภีร์ดูแลจักรยานคันโปรด ๓๖ Melbourne … เมืองจักรยาน ๒ ๓๘ Clipless Pedals ๔๐ บริจาคจักรยาน ๔๔

สังคม.. น่ารัก.. ของนักปั่นจักรยาน นับแต่ปั่นจักรยานสมัยยังเรียนหนังสือ.. ความรู้สึกเวลานั้น ก็สนุกสนานกับเพื่อนๆ หลังเลิกเรียน ปั่นไปเที่ยว ปั่นไปกิน.. เมื่อ เวลาผ่านไปสู่วัยท�ำงาน จักรยาน..ดูเหมือนจะเลือนลางห่างหาย ไปจากชีวิตประจ�ำวัน.. จวบจนเวลานี้ความรู้สึกดีๆ ความรู้สึก สนุกสนาน ความรู้สึกเบิกบาน ได้หวนคืนกลับมาอีกครั้ง กลับมา ในรูปแบบที่แตกต่างกันจากอดีต กลายเป็นความรู้สึกที่ “ยิ่งกว่า” เพราะนอกจากสิง่ ดีๆ ทีส่ ะสมเป็นทุนไว้นบั แต่อดีต จะหวนมาฟืน้ คืน อีกครัง้ ยังมีพลังของสังคมจักรยานทีเ่ ติบโต แจ่มชัดมากเป็นทวีคณ ู ด้วยว่าหันไปทิศทางใด กระแสแลความนิยมของการใช้จักรยาน ทั้งการเดินทาง การท่องเที่ยว และการออกก�ำลังกาย มีให้พบเจอ มีให้กล่าวถึงไม่เว้นวัน ใช่ว่า...การเข้ามาอยู่ในแวดวงจักรยานจึงพาลท�ำให้พบเห็น กระแสเหล่ า นี้ แต่ ก ารใช้ จั ก รยานก� ำ ลั ง แตกหน่ อ ต่ อ ยอดไปสู ่ สังคมใหญ่ ให้หนั มาสนใจกิจกรรมอันประกอบด้วยคุณประโยชน์แทบ ทุกด้าน อีกทั้งยังสามารถตอบโจทย์ของการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ได้แทบทุกข้อ.. ด้วยเพราะสังคมของผู้ใช้จักรยานนั้นมากมายไป ด้วยมิตรภาพ เพียงแค่เห็นก็ทักทาย ให้ความช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน เริ่มหันมาจับจักรยาน.. แล้วปั่นไปด้วยกัน นะครับ.. บรรณาธิการสารสองล้อ

สารสองล้อ ได้รบั การสนับสนุนโดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) วัตถุประสงค์ของสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย

๑. ส่งเสริมการใช้จักรยานในทุกกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อาทิเช่น เพื่อสุขภาพ ๕. ร่วมกันท�ำกิจกรรมเพือ่ สาธารณะประโยชน์ และสันติภาพของมวลมนุษยชาติ ๖. เป็นศูนย์กลางในการสื่อสาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี ยกย่อง ให้ก�ำลังใจ และพลานามัย การคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และนันทนาการ และให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในหมู่สมาชิก ที่ประกอบคุณงามความดี ๒. ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาจราจรด้วยการใช้จักรยานทั่วประเทศ ๓. เป็นองค์กรประสานงานระหว่างผู้ใช้จักรยานทั่วประเทศและในระดับสากล ช่วยเหลือสังคมและส่วนรวม ๔. อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ๗. ไม่ด�ำเนินกิจกรรมทางการเมือง

เจ้าของ สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา มงคล วิจะระณะ บรรณาธิการ วรวุฒิ วรวิทยานนท์ กองบรรณาธิการ ก�ำพล ยุทธไตร, ศักดิร์ พงค์ เกรียงพิชติ ชัย, กัญญพัฒน์ บัณฑุกลุ , สุปรียา จันทะเหลา พิสจู น์อกั ษร วีณา ยุกตเวทย์ ประสานงานและบัญชี วิภาดา กิรานุชติ พงษ์ ส่วนทะเบียน เรืออากาศตรีลิขิต กุลสันเทียะ ฝ่ายโฆษณา กัญญพัฒน์ บัณฑุกุล พิมพ์ที่ บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จ�ำกัด โทร. ๐-๒๒๑๔-๔๖๖๐, ๐-๒๒๑๔-๔๓๗๐ โทรสาร ๐-๒๖๑๒-๔๕๐๙ ส�ำนักงาน สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ๒๑๐๐/๓๓ ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ ๒๒ (สาธุประดิษฐ์ ๑๕ แยก ๑๔) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐ โทรสาร ๐-๒๖๗๘-๘๕๘๙ เวบไซต์ www.thaicycling.com Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล์ tchathaicycling@gmail.com

สนใจสมัครสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เพื่อสิทธิพิเศษในการร่วมกิจกรรมและรับสารสองล้อฟรี สมาชิกรายปี ๒๐๐ บาท ( ต�่ำกว่า ๑๕ ปี ๘๐ บาท ) สมาชิกตลอดชีพ ๒,๐๐๐ บาท ติดต่อได้ที่ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐ โทรสาร ๐-๒๖๗๘-๘๕๘๙ หรือสมัครออนไลน์ได้ที่ http://www.thaicycling.com/member



ประชาสัมพันธ์

แวดวงสองล้อ งานมาฆปูรมีศรีปราจีน ครั้งที่ ๒๗

วันที่ ๑๘ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โบราณสถาน สระมรกต และวัดสระมรกต จังหวัดปราจีนบุรี งานที่จัดเป็นประจ�ำนับตั้งแต่กรมศิลปากรได้ เข้าขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานวัดสระมรกตแห่งนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 และได้ขุดค้นพบรอยพระพุทธบาท คูท่ ใี่ หญ่และเก่าแก่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย สันนิษฐานว่า เป็นสมัยทวารวดี และนับแต่นนั้ มา จังหวัดปราจีนบุรี ได้ จั ด งานมาฆปู ร มี ศ รี ป ราจี น มาโดยตลอดจนถึ ง ปัจจุบัน โดยก�ำหนดจัดในช่วงวันมาฆะบูชาของทุกปี ภายในงานมีกจิ กรรมมากมาย อาทิ การเดินธุดงค์ของ พระภิกษุสงฆ์, กิจกรรมน�ำเที่ยวโบราณสถานเมือง ศรีมโหสถ, ตลาดบรรยากาศย้อนยุคเมืองศรีมโหสถ, การแสดงแสงสีเสียง สื่อผสม การแสดงโขนศิลปากร เรื่องรามเกียรติ์ ชุดนางลอย ยกรบ, พิธีเวียนเทียน รอบรอยพระพุทธบาทคู่ และแสดงเทศนาพระโอวาท ปาติโมกข์ สามารถติ ด ต่ อ สอบถามข้ อ มู ล และตั ว อย่ า ง เส้นทางท่องเที่ยวได้ที่ ททท. ส�ำนักงานนครนายก โทร. ๐-๓๗๓๑-๒๒๘๒, ๐-๓๗๓๑-๒๒๘๔ หรือดาวน์โหลดข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.tat8.com

โครงการ “ซ่อมรักษ์ สร้างเสริม ด้วยจักรยาน”

๒๓ - ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖ ชมรมจั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพจั ง หวั ด นครปฐม มีแนวคิด ท�ำโครงการ ซ่อมรักษ์ สร้างเสริมด้วยจักรยาน โดยการเชิ ญ ชวนเด็ ก และเยาวชนที่ เ ป็ น อนาคต ของชาติมาเข้าร่วมโครงการ เพือ่ สร้างจิตส�ำนึกในการ อนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม ในช่วงปิดเทอมภาค ฤดูร้อน เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ และยังห่างไกลยาเสพติด ประกอบด้วย กิจกรรมหลักดังนี้ - ให้ ค วามรู ้ เรื่ อ งการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและ สิ่งแวดล้อม - ให้ความรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม - ให้ความรูเ้ รือ่ งการซ่อมจักรยาน และการปัน่ จักรยานที่ถูกต้อง - กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ - จัดการแข่งขันจักรยานรุ่นเด็กและเยาวชน

สอบถามรายละเอียดได้ที่ นายธวัชชัย เอกธุระประคัลภ์ ๐๘๑-๘๔๓-๐๑๕๕



แวดวงสองล้อ ปั่นปันรัก เพื่อผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ

ศุกร์ที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ผูส้ งู อายุคอื ผูท้ สี่ ร้างประโยชน์ให้กบั ชาติบา้ นเมือง มาแล้วมากมาย อีกทั้งยังเป็นผู้มีพระคุณล้นเหลือ ในครอบครัว ซึ่งลูกหลานควรระลึกถึง และยังเป็น ประชากรทีม่ สี ดั ส่วนมากถึง ๓ ใน ๕ ของประชากรโลก ผู้สูงอายุจึงถือเป็นบุคคลที่ส�ำคัญ ท�ำให้รัฐบาลในยุค สมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี โดย มีการก�ำหนดนโยบาย มอบให้กรมประชาสงเคราะห์ จัดตั้งสถานสงเคราะห์คนชรา บ้านบางแค เป็นแห่ง แรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ และต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้มีการจัดประชุม สมัชชาโลกว่าด้วยผู้สูงอายุ ณ กรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย องค์การอนามัยโลก ยังได้ก�ำหนดให้ปี พ.ศ.2525 เป็นปีรณรงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยก�ำหนดค�ำขวัญว่า “Add life to Years” เพื่อ ให้ประเทศต่างๆ ช่วยกันส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

งานจักรยาน

ซึ่ ง คณะกรรมการอ� ำ นวยการวั น อนามั ย โลกของ กระทรวงสาธารณสุ ข ได้ มี ม ติ ใ ห้ ใช้ ค� ำ ขวั ญ เป็ น ภาษาไทยว่า “ให้ความรัก พิทักษ์อนามัย ผู้สูงวัย อายุยืน” รั ฐ บาลไทยสมั ย นั้ น ซึ่ ง ตรงกั บ รั ฐ บาลของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ก็ได้เห็นความส�ำคัญต่อ นโยบายดังกล่าว โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๒๕ อนุมัติให้วันที่ ๑๓ เมษายนของ ทุกปีเป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติ ขอเชิญชวนนักปั่นทุกเพศวัย โดยเฉพาะนักปั่น จักรยานสูงอายุ ไปร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพ อันเป็น ประโยชน์ส�ำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วยนิทรรศการ ความรูเ้ พือ่ การรณรงค์สร้างกระแสสังคม ให้เกิดความ ตระหนักถึงคุณค่าและความส�ำคัญของผูส้ งู อายุดว้ ยกัน ณ สวนลุมพีนี ในวันศุกร์ที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖ เริม่ ลงทะเบียนเวลา ๐๘.๐๐ น. จากนัน้ ร่วมปัน่ จักรยาน รอบบริเวณสวนลุมพินี

ข่ า วดี ส� ำ หรั บ ผู ้ รั ก การปั ่ น จั ก รยานทุ ก ท่ า นกั บ งานจั ก รยาน ครบวงจร ครั้งแรกของไทยเพื่อตอบสนองไลฟสไตล์คนรักจักรยานที่ ก�ำลังได้รับความนิยมอย่างมากในขณะนี้ ภายในงานมีสินค้า ส�ำหรับ จักรยาน จะมีการแสดงจักรยานเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด จากทั่วโลก พร้อมอุปกรณ์มากมายน�ำเสนอให้ผู้รักสุขภาพ และชอบขับขี่จักรยาน ให้เลือกชม และซือ้ ในราคาพิเศษสุดเฉพาะในงาน ผูเ้ ข้าชมงานยังจะได้ ประโยชน์อีกเยอะ งานนี้จัดพร้อมงานกาแฟ เบเกอรี่ ไอศกรีม ปีที่ ๗ ใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ และงานท่องไทย ท่องโลก ครัง้ ที่ ๖ งานแสดงทัง้ ๕ จัดระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๗ กุมภาพันธ์ นี้ ฮอลล์ ๓ - ๔ อิมแพ็ค เมืองทอง ตั้ ง แต่ เวลา ๑๐.๓๐ น. - ๒๐.๐๐ น.ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม คลิ ก www.thaibikeshow.com

10


www.shimano.com

ST-9000

SL-BSR1

FC-9000

FD-9000 SM-BB9000

RD-9000

CS-9000

CN-9000

HAH HONG TRADING L.P.

Tel : 02-225-0485, 02-222-1638 Fax : 02-226-3030 210 Luang Road, Pomprab, Bangkok 10100 e-mail : junior12@truemail.co.th

หจก. ฮะฮงพาณิชย

โทร : 02-225-0485, 02-222-1638 แฟกซ : 02-226-3030 210 ถนนหลวง แขวงปอมปราบฯ กรุงเทพมหานคร 10100 อีเมล : junior12@truemail.co.th 11


ปฏิทินทริป

ปฏิ ทิ น ทริ ป

เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ๒๕๕๖ ๒ - ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ 2 - 3 February 2013

ปั่นจักรยาน..สุดประจิมที่ริมเมย Cycling trip to the west of Thailand at Moei River ๑๔ - ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ 14 - 17 February 2013 Thailand Bike & Vehicle 2013 เมืองทองธานี Thailand Bike & Vehicle 2013 at IMPACT Exhibition Convention Center คืนวันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ and Friday Night 15 February 2013 Friday Night Ride เทียนทะเล ๗๐ กม. Friday Night Ride, Cycling to Thian-Talay,

อาทิตย์ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

Bangkuntian 70 km

มือใหม่หัดขี่ Sunday 17 February 2013

๒๓ - ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

กรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง ปั่นเพื่อน้องมูลนิธิคามิเลี่ยน

๒๓ - ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

The amateur cycling event 23 - 24 February 2013 Cycling trip from Bangkok to Rayong for Camillian Foundation

ผ้าป่าสามัคคี กรุงเทพฯ-พะเยา 23 - 25 February 2013

อาทิตย์ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖

Cycling trip to offering robes to Buddhist priests at

นัดซ่อมจักรยานเพื่อน้อง monastery from Bangkok to Phayao คืนวันศุกร์ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๖ Sunday 10 March 2013 Friday Night Ride ศาลายา ๗๐ กม. Bicycle repair for Kids ๑๖ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ Friday Night 15 March 2013 รีไซเคิลจักรยานประจันตคาม ปราจีนบุรี Friday Night Ride, Cycling to Salaya 70 km. อาทิตย์ที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๖ 16 - 17 March 2013 bicycle trip to Prachantakham, Prachin Buri มือใหม่หัดขี่ Recycle Sunday 24 March 2013

๖ - ๘ เมษายน ๒๕๕๖

The amateur cycling event

สองน่องท่องสองแผ่นดิน ตราด-เกาะกง กัมพูชา 6 - 8 April 2013 กับ ททท. จ.ตราด Cycling trip to Trad-Koh Kong Cambodia with

๑๓ - ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖

Trad TAT office

ท่องธรรมชาติตรัง-สตูล 13 - 18 April 2013

คืนวันศุกร์ที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖

Cycling trip to Nature tourism at Trang and Satun

Friday Night Ride วัดมังกรกมลาวาส Friday night 19 April 2013 Friday Night Ride, Cycling to Dragon Temple (วัดเล่งเน่ยยี่สอง) ๘๐ กม. Kammalawat 80 km. อาทิตย์ที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๖ Sunday 21 April 2013 ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี ๒๕๕๖ TCHA annual general meeting 2013 อาทิตย์ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๖ Sunday 28 April 2013 มือใหม่หัดขี่ The amateur cycling event

หมายเหตุ: รายการต่างๆ อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ สอบถามรายละเอียดหรือสมัครร่วมทริปได้ที่ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐ email: tchathaicycling@gmail.com หรือติดตามรายละเอียดได้ที่ www.thaicycling.com, Facebook.com/TCHAthaicycling Remarks: Trips can be changed as appropriate, English information, call Bob Tel. 081-555-2901, email: bobusher@ksc.th.com


.


TCHA ชวนปั่นและร่วมกิจกรรม TCHA ชวนปั่น

เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

สามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับทริปต่างๆ และการช�ำระค่าทริป ได้ที่ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗ หรือ ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐

ปั่นเพื่อน้องมูลนิธิคามิเลี่ยน

๒๓ - ๒๔ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ ระยะทางไป-กลั บ ประมาณ ๑๙๕ กม. สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ขอเชิญทุกท่านร่วม ปั่นจักรยานทางไกล กรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง ระดมทุน ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสศูนย์คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง (CSC) เป็นหน่วยงานการกุศลทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไร ซึ่งสนับสนุนให้ความรักและดูแลเด็กๆ ที่ติดเชื้อเอชไอวี จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยนักบวชชาวอิตาเลียน นาม Fr.Giovanni Contarin ร่วมสนับสนุนทุนช่วยเหลือ โดยคุณเกตุ วรก�ำธร (คุณบ๊อบ) อุปนายกสมาคมฯ สนใจร่วมเดินทางแจ้งชือ่ เบอร์โทร ด่วน เพือ่ เตรียม ที่พักให้เพียงพอ (ไม่เสียค่าใช้จ่าย) ส�ำหรับท่านทีป่ ระสงค์เดินทางกลับโดยรถบัส กรุณา แจ้งความประสงค์เพื่อรวบรวมจ�ำนวนคน ด�ำเนินการจัด จ้างรถบัสและรถบรรทุกจักรยานกลับ และเฉลีย่ ค่าใช้จา่ ย กันต่อไป +−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+

Friday Night Ride ชวนปัน่ ไปเทีย่ วเทียนทะเล

คืนวันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ระยะทาง ๗๐ กม. กิจกรรมปั่นเที่ยวยามราตรี ชมแสงสี ดูเส้นทางใน มุมมองที่แปลกตาไปจากเดิม จัดเป็นครั้งที่ ๒ นับจากที่ ครั้งแรกในเดือนมกราคม ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ด้วยระยะทางสู่สุวรรณภูมิกว่า ๗๐ กม. มาถึงเดือนแห่ง ความรัก เราจะน�ำพาไปเทีย่ วเทียนทะเล ทีจ่ ะท�ำให้ทราบ ว่า.. กรุงเทพฯ ก็มีทะเล • ๑๙.๐๐ น. นัดรวมพล ณ ที่จอดรถ โลตัสพระราม ๓

14

• ๑๙.๓๐ น. ล้อหมุน ออกจากที่จอดรถห้างโลตัสด้าน ถนนนราธิวาสฯ ผูน้ ำ� ทริปจะแจ้งเส้นทางให้ทราบก่อน ออกเดินทาง อย่าลืมเตรียมอุปกรณ์สำ� หรับปัน่ ยามค�ำ่ คืน่ ไฟส่อง สว่าง ไฟกระพริบ เสือ้ สะท้อนแสง หมวกกันกระแทก และ ตรวจสอบสภาพรถให้สมบูรณ์กจิ กรรมนีไ้ ม่มคี า่ ใช้จา่ ยแต่ อย่างใด เรามีอาสาสมัครกลุ่ม COFFEE BIKE ในเสื้อสีส้ม สดใส คอยดูแลให้ความสะดวกและความปลอดภัย

+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+

เชิญทุกท่านร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าการศึกษา กรุงเทพฯ-พะเยา

๒๓ - ๒๖ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๖ ระยะทางประมาณ ๑๔๐ กม. เดินทางกลับ กทม. โดยรถบัสปรับอากาศ ท� ำ บุ ญ ให้ กั บ โครงการสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม การจั ด การเรียนการสอนสาระ ศิลปศึกษา (ทัศนศิลป์ ด น ต รี น า ฏ ศิ ล ป ์ ) โรงเรียนบ้านโพธิ์ทอง หมู ่ ที่ ๒ ต� ำ บลคื อ เวียง อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา ก�ำหนดการ (อาจเปลี่ยนแปลงได้) • เดินทางคืนวันศุกร์ที่ ๒๒ ก.พ. ๒๕๕๖ โดยรถบัส ไปลงล�ำปางเช้าวันที่ ๒๓ เช้า ปั่นไปพะเยาระยะทาง ประมาณ ๑๔๐ ก.ม. • ๒๔ ก.พ. ๒๕๕๖ ทอดผ้าป่าตอนเช้า แล้วปัน่ ไป น�ำ้ ตก ภูซาง ระยะทาง ๗๐ กม. พัก ๑ คืน • ๒๕ ก.พ. ๒๕๕๖ ออกเดินทางปัน่ ขึน้ ภูชฟี้ า้ ระยะทาง ประมาณ ๗๐ กม. พักค้างคืนบนภูชี้ฟ้า • ๒๖ ก.พ. ๒๕๕๖ เดินทางปั่นกลับมาพะเยา ระยะ ทาง ประมาณ ๑๔๐ ก.ม. • ขึน้ รถบัสกลับถึงกรุงเทพฯ ประมาณ ๐๕.๐๐ น. ของ วันที่ ๒๗ ก.พ. ๒๕๕๖ สอบถามรายละเอียดค่าใช้จ่ายได้ที่สมาคมฯ



TCHA ชวนปั่นและร่วมกิจกรรม TCHA ชวนปั่น สามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับทริปต่างๆ และการ ช�ำระค่าทริป ได้ที่ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗ หรือ ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐

นัดซ่อมจักรยานเพื่อน้อง

อาทิตย์ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ขอเชิ ญ ชวนเพื่ อ สมาชิ ก ที่ มี ทั ก ษะในการ ซ่อมบ�ำรุงจักรยาน หรือสมาชิกท่านใดต้องการหา ประสบการณ์ เรียนรู้เรื่องการซ่อมจักรยาน ไปร่วม กิจกรรมซ่อมจักรยานเพื่อน้องกันได้ เรามีจักรยาน มากมายซึ่งได้รับความอนุเคราะห์จากองค์กรเอกชน และประชาชนทัว่ ไป น�ำมาปรับแต่งให้สามารถใช้งาน ได้ ดี ดั ง เดิ ม เพื่ อ น� ำ ไปบริ จ าคในโครงการรี ไซเคิ ล จักรยานเพื่อน้อง ๘.๐๐ น. พบกันที่โรงงานของน้าหมี พุทธบูชา ซอย ๓๖ เข้าซอยไปประมาณ ๓ กม. โทรสอบถามที่ น้าหมี ๐๘๑-๙๑๙-๒๙๘๙ สมาชิกท่านใดจะน�ำขนม ผลไม้ไปแบ่งปันกันกิน ก็ยินดี

16

เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ รีไซเคิลจักรยานประจันตคาม ปราจีนบุรี

๑๖ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ ต่อเนื่องจากการร่วมซ่อมจักรยานข้างต้น.. ขอเชิญไปร่วมกิจกรรมเพือ่ มอบจักรยานให้กบั นักเรียน ในเขตอ�ำเภอประจันตคาม และร่วมปัน่ จักรยานท่องเทีย่ ว แบบสองวันหนึ่งคืน พักที่ศาลเจ้าปุนเท้ากงม้า (กาง เต็นท์) โดยมีทมี จักรยานประจันตคามมาต้อนรับ แวะ เที่ยวน�้ำตกตะคล้อ สักการะหลวงปู่จ�ำปาที่วัดบุฝ้าย ที่มรณภาพมานานกว่า ๙ ปี สังขารไม่เน่าไม่เปื่อย แถมยังมีผิวหนังเหลืองเหมือนสีทอง ขากลับเดินทาง ด้วยรถตู้และรถบรรทุกจักรยาน รวมระยะทางที่ปั่น จักรยานประมาณ ๑๗๐ กม. รับจ�ำนวนจ�ำกัด ๓๐ ท่าน ค่าใช้จา่ ยท่านละ ๕๐๐ บาท รวมอาหารสองมือ รถบริการ ประกันอุบัติเหตุ ก�ำหนดเดินทาง เสาร์ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๖ พร้ อ มกั น เวลา ๐๗.๐๐ น. ที่ ส วนวชิ ร เบญจทั ศ (สวนรถไฟ) จองและช�ำระค่าทริปได้ทสี่ มาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพไทย +−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+−+

Friday Night Ride ชวนปัน่ ไปเทีย่ วศาลายา

คืนวันศุกร์ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๖ ระยะทาง ๗๐ กม. ครั้งที่ ๓ ส�ำหรับกิจกรรมปั่นท่องราตรีในปีนี้.. เราจะน�ำพาปัน่ ไปตามเส้นทางทีจ่ ะท�ำให้รสู้ กึ แตกต่าง จากกลางวัน.. เพือ่ ไปยังศาลายา ส่วนจะมีอะไรน่าตืน่ เต้นสนุกสนานตามเส้นทางอย่างไรนั้น.. ไปรับทราบ กัน ณ จุดรวมพลได้เลย • ๑๙.๐๐ น. นัดรวมพล ณ ที่จอดรถ โลตัสพระราม ๓ • ๑๙.๓๐ น. ล้อหมุน ออกจากที่จอดรถห้างโลตัส ด้านถนนนราธิวาสฯ ผู้น�ำทริปจะแจ้งเส้นทางให้ ทราบก่อนออกเดินทาง อย่าลืมเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับปั่นยามค�่ำคื่น ไฟส่องสว่าง ไฟกระพริบ เสื้อสะท้อนแสง หมวกกัน กระแทก และตรวจสอบสภาพรถให้สมบูรณ์กจิ กรรมนี้ ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยแต่อย่างใด เรามีอาสาสมัครกลุม่ COFFEE BIKE ในเสื้อสีส้มสดใส คอยดูแลให้ความสะดวกและ ความปลอดภัย


ป นจักรยานมา

ลดราคาพิเศษ! ราน DD Pharmacy สถานที่ตั้ง จากแยกอังรีดูนังค เขามาทางถนนสุรวงศ เลยทางเขาถนนธนิยะมาประมาณ 20 เมตร


เรื่อง ZangZaew

STRiDA

บทความ

จักรยานจับสุดจ๊าบ...ส�ำหรับคนเมือง ไปไหนมาไหน.. ได้ เ ห็ น ผู ้ ป ั ่ น จักรยานรูปทรงแปลกตา ด้วย โครงสร้างสามเหลี่ยม สามารถ พับเก็บได้อย่างรวดเร็ว พับแล้ว เหลื อ กิ น พื้ น ที่ เ พี ย งนิ ด เดี ย วเท่ า นั้ น .. อี ก ทั้ ง สี สั น ยังสวยงามต้องตาต้องใจนักปัน่ จักรยานในสังคมเมือง ไม่น้อย จักรยานที่ว่านี้มีชื่อว่า สไตรด้า (STRiDA) ที่มาของจักรยานสไตรด้านั้น มาจากความคิด ความฝันของหนูน้อยวัย ๑๒ ปี ที่อาศัยอยู่ในเมือง เชฟฟีลด์ ประเทศอังกฤษ เด็กน้อยคนนี้คือ “มาร์ค แซนเดอร์” เขาเป็นเด็กทีไ่ ม่ได้มคี วามเกีย่ วข้องใดๆ กับ กลุม่ หรือชุมชนของคนจักรยานแม้แต่นอ้ ย ทว่า.. ๗ ปี หลังจากนั้น.. โครงการจักรยานที่ชื่อว่า “สไตรด้า” ได้ก�ำเนิดขึ้นจากสมองของเขา! มาร์ค แซนเดอร์ สนใจออกแบบผลิตภัณฑ์โดย วางเป้าหมายไปที่กลุ่มผู้ที่ยังไม่ได้ใช้จักรยานในการ เดินทาง ซึง่ มีมากกว่า ๑๖๐ ล้านคนทัว่ โลก (ข้อมูลจาก ทีมส�ำรวจจักรยานของ Trek) โดยเฉพาะการเดินทาง

มาร์ค แซนเดอร์ กับ STRiDA EVO ที่ไต้หวัน Photo credit: Mark Sanders

18

STRiDA EVO

ในเมือง แนวทางการออกแบบ จึงเน้นทีก่ ารนัง่ ขีแ่ บบ สบาย หลังตรง ไม่หมอบก้มเหมือนบรรดาเสือทัง้ หลาย มาร์คได้ทำ� วิทยานิพนธ์โครงการจักรยานสไตรด้า ที่มีความหนาถึง ๗๕ หน้าในการจบการศึกษา ซึ่ง เป็นแนวคิดทีแ่ ตกต่างจากจักรยานพับต่างๆ ในยุคนัน้ กระทั่งในที่สุดรูปแบบของจักรยานในวิทยานิพนธ์ ฉบับนี้ ได้กลายมาเป็นจักรยานสไตรด้าตัวจริงๆ ออกสู่ ท้องตลาด หลังจากนัน้ ได้มกี ารพัฒนาคุณสมบัตติ า่ งๆ ให้ดียิ่งขึ้นตลอดเวลา ในปี ค.ศ. ๒๐๐๐ จักรยานสไตรด้าคว้ารางวัล การออกแบบจากนิตยสาร ไอดี แม็กกาซีน กับการ พัฒนาจักรยานสไตรด้ารุ่น ๓ ต่อมาปี ค.ศ. ๒๐๐๗ บริษัท Ming Cycle ได้ซื้อลิขสิทธิ์ทั้งหมดของการ ออกแบบจักรยานตระกูลนี้ มาพัฒนาต่อและเพิม่ เกียร์ เข้าไป โดยยังคงให้ มาร์ค แซนเดอร์ เป็นผู้ออกแบบ เหมือนเดิม ปัจจุบันสไตรด้ารุ่นล่าสุดคือรุ่น EVO มี ๓ เกียร์ ซึง่ ช่วยเพิม่ สมรรถนะในการปัน่ บนเส้นทาง ต่างๆ ได้มากยิ่งขึ้น

STRiDA LT

STRiDA SX

เป็นรุน่ ทีม่ เี กียร์ ๓ ระดับ เป็นรุ่นไม่มีเกียร์ ขนาดล้อ เป็ น รุ ่ น ไม่ มี เ กี ย ร์ ขนาด อยู่ในดุมของเฟืองหน้า ๑๖ นิ้ ว น�้ ำ หนั ก ตั ว รถ ล้อ ๑๘ นิ้ว น�้ำหนักตัวรถ น�้ำหนักตัวรถ ๑๓ กก. ๑๐ กก. ๑๒ กก.


จักรยานสไตรด้ารุน่ ทีจ่ ำ� หน่ายในปัจจุบนั ทุกรุน่ ของจักรยานสไตรด้าจะผลิตตัวเฟรมด้วยอลูมินั่มรุ่น 7000 คุณภาพสูง แข็งแรง น�้ำหนักเบา ระบบห้ามล้อ แบบดิสก์ และใช้สายพานคุณภาพสูงส�ำหรับระบบ ขับเคลื่อน ขณะนี้ ในไทยมีจำ� หน่ายอยู่ ๓ รุน่ คือ.. STRiDA LT, STRiDA LT Limited, STRiDA Evo 3 speeds และ ก�ำลังจะเพิ่ม STRiDA SX เข้ามาประมาณกลางปี ๒๕๕๖ นี้ ส�ำหรับในประเทศไทยนั้น ตัวแทนจ�ำหน่าย อย่างเป็นทางการของ สไตรด้า คือ One Fine Day Bicycles ตั้งอยู่ที่ ๒๗/๒ ซอยลาซาล ๒๓ แยก ๖ สุขุมวิท ๑๐๕ เขตบางนา กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๗๔๔-๔๐๗๗ และ ๐๘-๗๕๙๕-๗๔๑๗

STRiDA LT รุน่ Limited Edition 25th ผลิตขึน้ เนือ่ งในโอกาส ที่ STRiDA ครบรอบ ๒๕ ปี ในแต่ละประเทศจะมีเพียง ๒๕ คัน และในแต่ละคันจะมีตัวเลขระบุ ๑ ถึง ๒๕ • สีด�ำ • ก้ามเบรค ขาจาน แฮนด์ เป็นสีด�ำ • ดิสเบรค สีเหลือง • ทับทิม สีเหลือง • ปลอกแฮนด์ หนังสีด�ำปั๊มตรา STRiDA • ลายเซ็นของ มาร์ค แซนเดอร์

19


TCHA ชวนปั่น

TCHA ชวนปั่นและร่วมกิจกรรม

เดือนมีนาคม-เมษายน ๒๕๕๖

สามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับทริปต่างๆ และการช�ำระค่าทริป ได้ที่ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗ หรือ ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐

ปั่นปันรักเพื่อผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ศุกร์ที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖

ในประเทศไทยเรานัน้ รัฐบาลในสมัย พล.อ.เปรม ติ ณ สู ล านนท์ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ผู ้ สู ง อายุ จึ ง ได้ มีมติให้วันที่ ๑๓ เมษายนของทุกปี เป็นวันผู้สูงอายุ แห่งชาติ อีกทั้งวันดังกล่าวยังเป็นวันปีใหม่ไทยหรือ วันสงกรานต์ นอกจากท�ำบุญตักบาตรตามวิถีพุทธ แล้ว ยังเป็นการรดน�้ำด�ำหัวขอพรจากผู้ใหญ่ที่นับถือ อีกด้วย สมาคมจั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพไทยจึ ง ขอเชิ ญ ชวนทุกท่าน ร่วมกิจกรรม “ปั่นปันรักเพื่อผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ” เนื่องในวันผู้สูงอายุแห่งชาติ ปี ๒๕๕๖ ซึ่งจัดให้มีขึ้นในวันศุกร์ที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ สวนลุมพินี โดยภายในงานนอกจากการปั่นจักรยาน แล้ว ยังมีกิจกรรมอันเป็นสาระประโยชน์ส�ำหรับ ผูส้ งู อายุ นิทรรศการความรูเ้ พือ่ รณรงค์สร้างกระแสให้ สังคมตระหนักถึงคุณค่าและความส�ำคัญของผูส้ งู อายุ อีกด้วย

ปั่นจักรยานสองแผ่นดิน

โอกาสพิเศษที่จะได้ปั่นจักรยานสัมผัสดินแดน สองประเทศทีเ่ ป็นเพือ่ นบ้านกัน ด้วยการปัน่ จักรยาน เลียบชายหาดทีจ่ งั หวัดตราด สัมผัสชีวติ ของชาวประมง ควบคูไ่ ปกับชายทะเลทีส่ วยงามเงียบสงบ โดยมีวทิ ยากร ในพื้นที่บรรยายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวสถานที่ต่างๆ ในจังหวัด และรุ่งขึ้นจะน�ำพาคณะข้ามชายแดนไทยกัมพูชา ที่บ้านหาดเล็ก อ.คลองใหญ่ จ.ตราด เพื่อปั่น เข้าสู่จังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา นอกจากจะได้ สัมผัสวิถชี วี ติ ของชาวเกาะกงแล้ว ยังได้มโี อกาสละเท้า จากจักรยาน ไปล่องเรือเข้าชมธรรมชาติป่าโกงกาง ทีบ่ างคยัค แวะพักทีเ่ กาะกงหนึง่ คืนก่อนเดินทางกลับ กิจกรรมครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ ๓ วัน ๒ คืน คือเดินทางวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๕๖ (นัดหมายกันที่ โลตัสพระราม ๓ เวลา ๐๕.๓๐ น.) วันที่ ๗ เมษายน ข้ามไปยังประเทศ กัมพูชา และเดินทางกลับในวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๖ สอบถามรายละเอียดค่าทริป และจองทริปได้ที่ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ด่วน!

ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ๒๕๕๖ อาทิตย์ที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๖ วันส�ำคัญของสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย มาบรรจบครบรอบอีกครั้งหนึ่ง นั่นคือการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี ซึ่งมีก�ำหนดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๖ ที่จะถึงนี้ ขอเชิญท่านสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ทั้งรายปีและตลอดชีพ เข้าร่วม ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เสวนาสังสรรค์ คอยติดตามรายละเอียดของสถานที่ และก�ำหนดการในฉบับหน้า หรือที่ www.thaicycling.com

20


เรื่อง ZangZaew

บทความ

ปัจจุบันนี้.. จักรยานใช่แต่เป็น เพี ย งพาหนะส� ำ หรั บ เดิ น ทาง หรือใช้เพื่อการแข่งขันแต่เพียง อย่างเดียว แต่การสร้างสรรค์ และออกแบบ เพื่อผลิตจักรยานนั้น ได้กลายเป็น งานศิลปะระดับฝีมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง.. งานจาก นักออกแบบ ทีท่ ำ� ให้พาหนะสองล้อเรียบง่ายเหล่านี.้ . กลายเป็นงานศิลปะที่ล�้ำค่าได้อย่างน่าทึ่ง Budnitz คือยี่ห้อของจักรยานระดับหรู ซึ่งมี

จักรยาน.. งานศิลป์ระดับหรู ที่มาจากนาย Paul Budnitz ผู้เริ่มต้นจากการสร้าง จักรยานเฟรมไทเทเนียมเพื่อใช้เองในปี ค.ศ. ๒๐๐๒ และกลายเป็นทีส่ นใจของผูค้ นทีพ่ บเห็น กระทัง่ ต้องการ ให้เขาสร้างเฟรมจักรยานแบบเดียวกันนั้นให้บ้าง ใน ที่สุดเขาจึงได้ก่อตั้งบริษัทผลิตจักรยานของตัวเองขึ้น มาในปี ค.ศ. ๒๐๑๐ ด้วยเป้าหมายในการที่จะสร้าง จักรยานระดับคุณภาพสูง สวยงาม ฟังชั่นครบ และ การออกแบบที่ใช้ได้ตลอดกาล แต่สามารถใช้ในชีวิต ประจ�ำวันได้

เฟรมบนเดิ น คู ่ ส องเส้ น โค้ ง จั บ หลักอาน และลงยึดที่ดุมล้อหลัง

ใช้ระบบดิสก์เบรค

ใช้สายพานกับชุดขับเคลื่อน

21


รุน่ ต่างๆ ของจักรยาน Budnitz ปัจจุบนั จักรยานทุกรุน่ ของ Budnitz ใช้วสั ดุระดับพรีเมีย่ ม

No.1 TITANIUM ตั ว ท็ อ ปสุ ด มี น�้ ำ หนั ก เบา และเน้ น No.2 TITANIUM เน้นความคล่องตัว เฟรมวัสดุไทเทเนียม ความเร็ว เฟรมวัสดุไทเทเนียม ขนาดล้อ 29 นิ้ว ล้อหน้า ๒๙ นิ้ว ล้อหลัง ๒๙ นิ้ว

No.3 STEEL เฟรมโลหะโคร-โมลี ขนาดลงล้อ ๒๙ นิ้ว เน้น No.3 HONEY EDITION ลักษณะเช่นเดียวกับ No.3 ที่ยางใหญ่ขนาด ๒ นิ้ว STEEL แต่อุปกรณ์เน้นเบาะและปลอกแฮนด์เป็นหนัง ยาง หน้ากว้างสีครีม

No.4 STEEL เฟรมโลหะโคร-โมลี มีขนาดเล็กลง ใช้ล้อขนาด ๒๔ นิ้ว

22


Paul Budnitz เป็นศิลปิน นักเขียน นักสร้าง ภาพยนตร์ นักออกแบบผลิตภัณฑ์ เขามีชอื่ เสียงในการ ออกแบบและผลิตของเล่นแนวศิลปะ หนึ่งในสินค้า แบรนด์ที่รู้จักกันคือ KidRobot (www.kidrobot. com) พอลได้ออกแบบและด�ำเนินการผลิตจักรยาน ในแบบเฉพาะของตัวเองขึ้นมา โดยเน้นที่การใช้วัสดุ ชั้นดีท�ำเฟรมอย่างไทเทเนี่ยม ส�ำหรับรุ่นระดับสูง และใช้โลหะโคร-โมลี่ ส�ำหรับรุ่นรองลงมา ทว่า.. อุ ป กรณ์ โ ลหะเกื อ บทุ ก ชิ้ น ส่ ว นของตั ว รถ ใช้ วั ส ดุ ไททาเนียมเป็นส่วนใหญ่ และได้จดั แบ่งกลุม่ เอาไว้ตาม ลักษณะการใช้งาน งานออกแบบของจั ก รยาน Budnitz นั้ น นอกจากใช้วัสดุคุณภาพเยี่ยมแล้ว รูปลักษณ์ของการ ออกแบบ ยังมีความสวยงามสะดุดตาอย่างมาก โดย เฉพาะรูปทรงโค้งเว้าของเฟรม ซึ่งเฟรมด้านบนจะใช้ โลหะทรงกลมสองเส้น เชื่อมโยงจากจุดยึดคอแฮนด์ แยกเป็นสองเส้นมาจับหลักอาน และลงไปถึงจุดจับ ดุมล้อหลัง เป็นเส้นเดียวกันตลอด ทุกรุ่นเลือกใช้ระบบเบรคแบบดิสก์ และระบบ สายพานแทนโซ่ในชุดขับเคลื่อน ลดปัญหาเรื่องของ คราบน�้ำมัน อีกทั้งยังเพิ่มความนุ่มนวลในขณะปั่น ได้เป็นอย่างดี พร้อมจุดยึดต่างๆ ณ ต�ำแหน่งของ ตะเกียบคู่หน้าและหลัง ในการติดตั้งอุปกรณ์บรรทุก สัมภาระ แน่นอนว่า.. จักรยานยี่ห้อนี้เน้นที่ “คุณภาพ” ของวัสดุและการผลิต จึงท�ำให้ราคาค่าสินสอดหาก ไปขอหมั้นหมายนั้นค่อนข้างสูง ซึ่งคงจะไม่เหมาะ กับนักปั่นเบี้ยน้อยอย่างเรา.. แต่สิ่งที่เห็นได้คือ การที่ จักรยานได้กลายเป็นงานศิลปะสร้างสรรค์ โดยเฉพาะ ในด้านการออกแบบไม่มีจุดสิ้นสุด

23


เรื่อง/ภาพ schantalao • วันที่ ๑๒ - ๑๓ มกราคม ๒๕๕๖

สรุปทริป

ปั่นสองน่อง ท่องภู ดูธรรมชาติ อ.ภูเรือ-อ.ด่านซ้าย จ.เลย เสนทาง จ.เลย-อ.ภูเรือ ระยะทางประมาณ ๔๘ กม.

จบทริปกันไปด้วยความสนุกสนานเฮฮา เหล่า บรรดาสิงห์นักปั่นทั้งมือใหม่และมือเก๋าหลาย ท่าน เอ่ยปากว่า งานนีเ้ ส้นทางโหดแต่สนุกสนาน มากมาย รวมไปถึ ง การต้ อ นรั บ อย่ า งอบอุ ่ น ของทีมงานเจ้าหน้าที่ จากการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย จ.เลย และชมรมจักรยานของภูเรือ และด่านซ้าย

จุดพักที่ ๓ (กม.๓๑) ตรงขามจุดชมวิว

จุดพักที่ ๕ (กม.๔๕) เทอรโมมิเตอรยักษ

จุดพักที่ ๔ (กม.๔๒) ณ วัดปาหวยลาด รับประทานอาหารกลางวัน

จุดพักที่ ๑ ทางเขาวัดปาศรีมงคล

จุดพักที่ ๒ (กม.๒๔) ทางเขาวัดปาภูผาหมาน จุดเริ่มตน เทศบาลเมืองเลย

จุดหมาย เทศบาลภูเรือ

กิ

จกรรมครั้ ง นี้ เ ป็ น การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว จังหวัดเลย โดยมีคณ ุ ภานุ แย้มศรี รองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดเลย คอยต้อนรับและกล่าวเปิดงาน พร้อมกันนี้ คุณสัมพันธ์ คูณทวีลาภผล นายกเทศมนตรีเมืองเลย ก็ได้รว่ มปัน่ จักรยานไปพร้อมๆ กับพวกเราและอยูจ่ น จบทริปทั้ง ๒ วันด้วย วันแรกของทริปนีใ้ ช้เส้นทางจากเทศบาลเมืองเลย ไปจนถึง อ.ภูเรือ เราออกสตาร์ทรอบขา พร้อมสภาพ อากาศเย็นๆ ท้องฟ้ามีเมฆครึม้ ตลอดทัง้ วัน ได้ชมความ เส้นทางเนินเขาแบบนี้ คุณผู้หญิงก็ปั่นได้ เทศบาลภูเรือ สวยงามของธรรมชาติสองข้างทาง มีเนินเขาลดหลั่น เส น ทาง อ.ภู เ รื อ -อ.ด า นซ า ย ระยะทาง ๓๘ กม. ถือว่าเหมาะแก่การปั่นจักรยานชมวิวเป็นอย่างมาก จุดพักที่ ๒ ชาวบ้านส่วนใหญ่ของ อ.ภูเรือ มีอาชีพปลูกไม้ดอกไม้ ระยะทาง ๑๘ กม. ปม ปตท. ประดับ และเห็ดหอมส่งขายทัว่ ประเทศ ดังนัน้ สองข้าง จุดพักที่ ๒ จุดพักที่ ๔ ระยะทาง ๙ กม. บริษท TSA ทางเราก็จะได้ชื่นชมกับแปลงดอกไม้สีสดพร้อมกับ พระธาตุ ศรีสองรัก (ชมแปลงผัก-ดอกไม) จุดพักที่ ๓ มีวิวภูเขา ฉายอยู่เบื้องหลัง จุดพักที่ ๕ ระยะทาง ๓๕ กม.

24

ระยะทาง ๓๘ กม. วัดเนรมิตวิปสสนา

วัดโพนชัย


ท่านรองผู้ว่าฯ จ.เลย ร่วมปั่นในพิธีเปิดงาน

มอบจักรยานรีไซเคิลและคอมพิวเตอร์แก่เด็กๆ คณะปั่นถ่ายภาพร่วมกับ ชมรมจักรยานภูเรือ ณ เทอร์โมมิเตอร์ยักษ์

แวะชมผลิตภัณฑ์พืชผัก และสวนดอกไม้ของบริษัท TSA

25


ตามเส้นทางการปัน่ เราแวะสักการะพระพุทธรูป ในอุโบสถอันงดงามที่วัดป่าห้วยลาด ถ่ายภาพเป็น ที่ระลึกที่เทอร์โมมิเตอร์ยักษ์ซ่ึงถือเป็นจุดส�ำคัญใน การถ่ายภาพของนักท่องเที่ยวแทบทุกท่าน จากนั้น.. เรามุ่งหน้าสู่ตัวเมืองของ อ.ภูเรือ เพื่อน�ำจักรยาน รีไซเคิลจ�ำนวน ๕๐ คัน และคอมพิวเตอร์ ๕๐ เครื่อง ไปมอบให้กับน้องๆ ทั้ง ๕ โรงเรียนใน อ.ภูเรือ ทั้งนี้

นพ.ภักดี มัคคุเทศน์ ของพวกเรา

26

มีท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคผ้าห่ม และอุปกรณ์ เครื่องเขียนมาด้วย และปิดท้ายวันแรกด้วยการเข้า พักผ่อนกันที่รีสอร์ทพร้อมการแสดงท้องถิ่น ซึ่งก็คือ ผีตาโขนนั่นเอง นสุดท้ายของทริปนี้พวกเรามุ่งหน้าสู่ อ.ด่านซ้าย เข้าชมแปลงผักและแปลงดอกไม้ของบริษทั TSA จิบไวน์และไอศกรีมหวานอร่อยที่ชาโตเดอเลย หลัง จากนัน้ ก็เข้าไปที่ รพ.สมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย เพือ่ พบคุณหมอนักปั่นผู้บุกเบิกเมืองจักรยานของเมือง ด่านซ้าย นพ.ภักดี สืบนุการณ์ พี่ๆ เพื่อนๆ ชมรม จักรยานเพื่อสุขภาพเมืองด่านซ้ายให้การต้อนรับ พวกเราอบอุน่ มากๆ มีการจัดสรรการจราจรให้คณะปัน่ เดินทางสะดวก ภายในตัวเมืองเทศบาลมองไปทางไหน ก็มีจักรยานจอดอยู่ บ่งบอกให้เห็นได้เลยว่า ชีวิต-

วั


บริเวณลานต้นคริสต์มาสที่ใหญ่ที่สุดในโลก

ประจ�ำวันของชาวด่านซ้ายผูกพันกับพาหนะสองล้อ เช่นกัน พวกเราแวะสักการะพระพุทธรูป และพัก รับประทานอาหารกันที่วัดโพนชัย ซึ่งมีพิพิธภัณฑ์ ผีตาโขน แสดงประวัติและวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาว จังหวัดเลย จากนัน้ เข้าสักการะ “พระธาตุศรีสองรัก” พร้อมรับฟังประวัตอิ นั ยาวนานโดยมีคณ ุ หมอ เป็นมัค คุเทศน์ให้ตลอดการเดินทาง ปิดทริปด้วยเนินหฤหรรษ์ทางขึ้นเป็นเนินสูง เกือบ ๔๕ องศา ท�ำเอาสิงห์ทางเรียบอย่างผู้เขียน ถึงกับต้องลงไปคลาน เนินนี้ใจไม่ถึงก็เข็นขึ้นอย่าง เดียวค่ะ ผู้เขียนคอนเฟิร์ม!! เส้นทางนี้น�ำเราเข้าสู่ วัดเนรมิต-วิปัสสนาซึ่งเป็นวัดป่าส�ำหรับปฏิบัติธรรม มีความงดงามของอุโบสถศิลาแลงหลังใหญ่ พวกเรา น�ำจักรยาน ขึ้นรถบรรทุกและท�ำธุระส่วนตัวเสร็จ

เรียบร้อยที่วัดนี้ก่อนเดินทางกลับกรุงเทพฯ วมระยะทางในการปัน่ วันแรกและวันนีป้ ระมาณ ๘๐ กว่ากิโลเมตร พวกเราเดินทางกลับโดยรถบัส ใช้เส้นทางด่านซ้าย-หล่มสัก ซึ่งเป็นทางขึ้น-ลงเขาซึ่ง พวกเราคิดว่าน่าปั่นมากๆ แต่ความลาดชันของพื้นที่ ท�ำให้ต้องพักความคิดนี้เอาไว้ก่อน สิ่งที่ได้กลับมา จากทริปนี้มีทั้งความสนุกสนานพร้อมกับได้มิตรภาพ จากเพื่อนนักปั่นต่างวัยหน้าใหม่ และกล้ามขาอัน แข็งแรงรวมถึงสุขภาพทีด่ ขี นึ้ ตามมาอีกด้วย…ขอขอบคุณ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยที่เปิดโอกาสนี้ให้กับ พวกเราค่ะ TIPS….ข้อแนะน�ำส�ำหรับนักปั่นมือใหม่ หรือคุณ สาวๆ ที่ยังไม่ช�ำนาญในการปั่นจักรยานขึ้นเขา ควร มีรถเซอร์วิส หรือใช้จักรยานที่มีเกียร์เท่านั้นนะคะ

27


เรื่อง/ภาพ schantalao • วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖

สรุปทริป

กรุงเทพฯ-หัวหิน…ทริปประเพณี ของสิงห์นักปั่นทางเรียบ

ปิดฉากลงอย่างสวยงามอีกครั้ง กับโครงการปั่นจักรยานทางไกล เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ หรือเราเรียกกัน สั้นๆ ว่า ทริปประเพณี กรุงเทพฯ - หัวหิน ครั้งที่ ๑๒ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ที่หลายๆ คนใจจดใจจ่อ เฝ้ารอให้ ถึงวันที่ ๒๐ มกราคมที่ผ่านมา กปั่นที่อยู่ในแวดวงจักรยานหลายท่านจะต้อง เคยผ่านทริปนี้มาไม่มากก็น้อย ถึงได้มีการจัด อย่างต่อเนื่องจนมาถึงครั้งที่ ๑๒ กับระยะทาง ๑๙๘ กิโลเมตร จากศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ บางมด สู่จุดหมายคือหัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์… การจัดงาน แต่ละครั้งทางทีมงานสวนธน Goldcity ได้รับความ ร่วมมือจากหลายๆ หน่วยงาน รวมถึงสปอนเซอร์ตา่ งๆ อย่างมากมาย และสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ก็ได้น�ำเบอร์เกอร์ น�้ำดื่ม และแตงโมหวานฉ�่ำมาร่วม แจกนักปั่นด้วย แต่ละจุดพักจะมีการบริการน�้ำดื่ม กองเชียร์สาวสวยจาก Sport Bicycle มายืนให้ ก�ำลังใจเป็นระยะๆ ส่วนทาง Fuji ก็ได้น�ำรถเซอร์วิส มาบริการ และมียางอะไหล่เปลีย่ นให้ฟรีตลอดเส้นทาง

นั

28


เราออกจากจุดสตาร์ทในเวลา ๗.๓๐ น. ขบวน จักรยานนับกว่า ๕๐๐ คัน ออกจากศูนย์เยาวชน เฉลิมพระเกียรติบางมดมุ่งสู่ถนนพระรามสองตรง ไปจนผ่านมหาชัยเมืองใหม่ เข้าเขตสมุทรสาครซึ่งก็ จะมีนักปั่นที่ออกจากจุดต่างๆ เข้ามาร่วมเป็นระยะ จนท้ายสุดสูจ่ ดุ หมายปลายทางรวมแล้วกว่า ๑,๐๐๐ ชีวติ พร้อมจักรยานคูก่ าย ด้วยสีสนั ของชุดปัน่ ทีม่ ากันเป็น ทีมแทบจะครบทั้ง ๑๒ สีรวมตัวเป็นริ้วขบวนแลเป็น ระเบียบสวยงามน่าประทับใจมาก เมือ่ ถึงปลายทางคือสวนสาธารณะสมเด็จพระราชินี นักปัน่ ก็จะได้พกั ผ่อนคลายความเหนือ่ ยล้าชมวิวทะเล ริมหาดหัวหิน บ้างก็รบี แพ็ครถจักรยานขึน้ รถเซอร์วสิ ก่อนจะหามุมนัง่ พักผ่อน หลายๆ ท่านฟิตซ้อมการปัน่ เพือ่ งานนีเ้ ป็นเวลาหลายเดือน หรือสะสมไมล์การปัน่ มาพอสมควรแล้ว รวมถึงคุณลุงบ๊อบ (Bob Usher เกตุ วรก�ำธร) วัย ๘๓ ปีที่สามารถปั่นได้ระยะทางถึง ๑๘๕ กิโลเมตร ในเวลา ๘ ชั่วโมง ๓๕ นาที เป็นที่ น่าทึ่งมากว่าอายุไม่ใช่ตัวแปรที่ท�ำให้สมรรถภาพของ ร่างกายลดลงเลย... แล้วเจอกันในทริปประเพณีปหี น้า ท�ำให้โลกรูว้ า่ .. คุณก็ทำ� ได้ อย่าให้แพ้คณ ุ ลุงบ๊อบนะคะ...สวัสดีคะ่

29


บทความ

5 เหตุผล

ง า ำ ท น ท ! ป ไ . . ่ ั น น จ ป า ั ก ย ร ที่ควร เรื่อง ZangZaew

Copyright © by peopleforbikes.org

แม้กระแสของการปั่นจักรยานจะเริ่มแรง มากขึ้นเรื่อยๆ ในระยะหลายเดือนที่ผ่านมา แต่ ก็ยังไม่ผู้คนอีกจ�ำนวนไม่น้อย ที่ยังคงกังขา และ ยากต่อการตัดสินใจ ว่าจะใช้จักรยานเพื่อการ สัญจรไปไกลกว่าการปัน่ ไปซือ้ ของทีร่ า้ นสะดวก ซื้อหน้าหมู่บ้านได้จริงหรือ..

๒. ปั่นจักรยาน เดินทางได้เร็วกว่า

เพราะระยะในการเดินทางจากบ้านไปทีท่ ำ� งาน ส่วนใหญ่แล้ว มักจะอยู่ในช่วงระหว่าง ๒๐ - ๓๐ กิโลเมตร และในเมืองใหญ่ปัญหาการจารจรคือสิ่งที่ หลีกเลีย่ งไม่ได้ จึงกลายเป็นว่า หากใช้รถยนต์ในระยะ ทางทีเ่ ท่ากัน จักรยานกลับสามารถเลือกเส้นทาง หรือ ลองดูตวั อย่างของผลการวิจยั ของมหาวิทยาลัย ปั่นบนทางเท้า ตัดปัญหาเรื่องการจารจรได้เกือบจะ ในกรุงลอนดอน พบว่า.. ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๒๐๐๗ ร้อยเปอร์เซ็นต์ ถึง ๒๐๐๙ ได้มีการส�ำรวจผู้เดินทางอายุระหว่าง ๑๗ ถึง ๒๐ ปี ในประเทศอังกฤษนั้น พบว่ามีอุบัติเหตุ ๓. เป็นก�ำลังหลักในการลดมลภาวะ บนท้องถนนจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล ซึง่ เพราะจักรยานไม่ได้ใช้เชือ้ เพลิงใดเป็นพลังงาน เกิดขึ้นกับผู้ปั่นจักรยาน น้อยกว่าที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้ นอกจากพลังปัน่ ของผูข้ ี่ และจากผลวิจยั ของมหาวิทยาลัย รถยนต์ ถึง ๑๕ เปอร์เซ็นต์ นั้นเท่ากับว่า... วิสคอนซิน เมดิสัน พบว่า.. หากมีผู้คนในเมืองใหญ่ ปั่นจักรยานไปท�ำงานหรือเดินทางในชีวิตประจ�ำวัน กับระยะทางประมาณ ๘ กิโลเมตรต่อครัง้ จะสามารถ ๑. ปั่นจักรยาน ปลอดภัยมากกว่า เพราะจักรยานทัว่ ไปในการเดินทาง ใช้ความเร็ว ช่วยลดมลภาวะ และสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้คนได้ ไม่สูง และหากใช้อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เช่น มากกว่า ๑,๑๐๐ คน ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการ หมวกนิรภัย ถุงมือ อุปกรณ์สะท้อนแสง หรือสองสว่าง ดูแลรักษาสุขภาพต่อปีรวมกันถึง ๗ พันล้านบาท ก็ยิ่งเพิ่มความปลอดภัยมากขึ้น

30


หากใช้จกั รยานปัน่ ไปท�ำงานสัก ๗๐ คนแทนรถยนต์สว่ นตัว... ท้องถนนจะ “โล่ง” มากขึน้ ขนาดไหน? (Copyright © by billaus.is)

๔. ประหยัดค่าใช้จ่าย

เมื่อปั่นจักรยานเราจะสามารถลดค่าใช้จ่าย จากการใช้รถยนต์ได้ โดยผลส�ำรวจในปี ๒๕๕๒ ของ สมาคมยานยนต์แห่งสหรัฐอเมริกา พบว่าการเดินทาง ไปท�ำงานด้วยจักรยานสามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้ถึง วันละ ๖.๘๓ เหรียญฯ ต่อวัน (ประมาณ ๒๐๐ บาท) เพราะการใช้รถยนต์ใช่ว่าจะมีแต่เพียงค่าน�้ำมัน แต่ ยังมีค่าบ�ำรุงรักษา ซ่อมแซม ประกันภัย ค่าทางด่วน ค่าที่จอดรถ ฯลฯ

๕. สุขภาพดีอยู่เสมอ

การปั่นจักรยานต้องใช้แรงของผู้ปั่น แม้ว่าจะ ปัน่ ไปเรือ่ ยๆ แต่รา่ งกายได้ทำ� งานในลักษณะเดียวกับ การออกก�ำลังแบบแอโรบิค หัวใจเต้นเร็ว มีการสูบฉีด ให้เกิดการหมุนเวียนของเลือด กล้ามเนือ้ ส่วนต่างๆ ได้ ท�ำงาน หากป่ันจักรยานไปท�ำงานเป็นกิจวัตร ก็บอก ลาบรรดาฟิสเนตราคาแพงเหล่านั้นไปได้เลย

ส�ำหรับในเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพฯ ซึง่ ความพร้อม ของถนนหนทางที่จะเอื้ออ�ำนวยความสะดวกต่อการ ปั่นจักรยานจะมีอยู่น้อยมาก อีกทั้งบรรดาเส้นทาง จักรยานที่ถูกจัดท�ำขึ้น มักจะถูกแย่งใช้โดยกลายเป็น ที่จอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือถูกใช้เป็นพื้นที่ ค้าขายของหาบเร่แผงลอยก็ตาม แต่การรอที่จะให้ เกิดทางจักรยานจริงๆ นั้น ต้องอาศัยความร่วมมือ จากหลายๆ ฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความ สนใจอย่างจริงจังจากภาครัฐ ซึง่ ต้องอาศัยระยะเวลา.. ดังนั้นสิ่งที่ดีที่สุดคือ การพึ่งพาตนเอง เลือก ทีจ่ ะปัน่ จักรยานไปท�ำงาน โดยไม่ตอ้ งรีรอให้ใครมา จัดสรรให้ ใช้เส้นทางที่มี ทางเท้าที่เห็น ตรอกซอก ซอยต่างๆ ร่วมกันกับยานพาหนะอื่นๆ โดยเลือกที่ จะปัน่ อย่างปลอดภัย ใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกัน และเคารพ ในการใช้ทางร่วมกัน.. ก็สามารถท�ำให้เหตุผลทั้ง ๕ ข้อข้างต้นนั้น เป็นจริงขึ้นมาได้แล้ว

31


เรื่อง/ภาพ schantalao

Bike to Work

อย่าปั่นจักรยานเพราะจ�ำเป็น ใช้จักรยานเพราะเรารักมัน.. แล้วเราจะมีความสุข “อย่าปั่นจักรยานเพราะจ�ำเป็น ใช้จกั รยานเพราะเรารักมัน.. แล้ว เราจะมีความสุข” ค�ำพูดจากใจ คุณพ่อยังหนุ่มเจ้าของฟิกซ์เกียร์ คั น งาม “แฟลช” หรื อ คุ ณ ทิตย์โสพล ปิยะโสภาพรรณวดี เจ้าหน้าที่ล�ำดับภาพและเสียง สายข่าวต่างประเทศ สถานีโทรทัศน์และวิทยุแห่งประเทศไทย (สทท.) เขาคือชายหนุ่มคนหนึ่งที่รักการปั่นเป็นชีวิตจิตใจ ไม่ใช่เพราะตามกระแสแฟชั่นหรืออะไร แต่เขาปั่น เพราะรักที่ได้ออกแรงจากสองเท้าของตัวเอง มีอิสระ ทุกครั้ง เมื่อสายลมมากระทบผิวหน้า…

มอเตอร์ไซค์มนั ไม่ได้ปน่ั แล้วอีกอย่างเวลาปัน่ จักรยาน เราคุมเวลาได้ อย่างเวลาติดไฟแดงผมก็จะจูงข้ามทาง ม้าลาย เรื่องติดไฟแดงจึงไม่ใช่ปัญหาส�ำหรับผม

หลังจากทีไ่ ด้ปน่ั แล้ว มีอะไรในชีวติ เปลีย่ นแปลง ไปบ้าง?

เรื่องแรกเลยคือสุขภาพครับ ตั้งแต่หันมาใช้ จั ก รยานเดิ น ทางไปท� ำ งานเป็ น ประจ� ำ แล้ ว ก็ อ อก ทริป เที่ยวกับเพื่อนๆ ตามเส้นทางปั่นทั่วๆ ไป อย่าง บางขุนเทียนชายทะเล พุทธมณฑล เลียบทางรถไฟ ตลิ่งชันใกล้ๆ บ้าน แล้วก็อีกหลายที่ครับ… ผมไม่ได้ เป็นไข้หรือเป็นหวัดมา ๒ ปีกว่าแล้วนะ ไม่ต้องห่วง เรื่องค่าหมอค่ายา ส่วนเรื่องค่าใช้จ่ายที่หลายๆ คน ทราบดีว่าอยู่กรุงเทพฯ รถมันติด สาหัสมาก ผมไม่ ท�ำไมถึงได้มาปั่นจักรยาน? จักรยานเป็นพาหนะที่ท�ำให้ผมได้พบเจออะไร ขับรถไปท�ำงานประหยัดค่าน�้ำมันได้เดือนหนึ่ง ๓-๔ ข้างทางได้ดีที่สุด ผมมีความสุขที่ได้ปั่นไปเรื่อยๆ นะ พันบาท เอาไว้พาลูกเทีย่ ว หรือเปลีย่ นอุปกรณ์สำ� หรับ อย่างเวลาปั่นสวนทางกัน ชาวจักรยานก็จะทักทาย จักรยานได้อีก กันเป็นเรือ่ งปกติ เหมือนจักรยานเป็นเพือ่ น กันทัว่ โลก ไม่วา่ จักรยานยีห่ อ้ อะไร รุน่ อะไร ประเภทไหนก็ทกั ทาย กันได้หมด ไม่เหมือนตอนขับรถยนต์คงไม่มีใครหัน ไปทักทายพูดคุยกันได้แบบที่เราปั่นจักรยาน… ผม เคยเจอคนถามว่ า ท� ำ ไมไม่ ขี่ ม อเตอร์ ไซค์ ผมว่ า มันไม่เหมือนกันนะ ปั่นจักรยานมันมีความสุขกว่า

32


เตรียมตัวยังไงเวลาปัน่ ไปท�ำงาน แล้วใช้ระยะทาง ต้องระวังอะไรบ้างขณะปั่น? เท่าไหร่.. กี่นาที? ปัน่ ตามทางทีค่ วรจะปัน่ หัดใช้สญ ั ญาณมือ ถ้าหา

ผมใส่กางเกงปั่นข้างในแล้วใส่ยีนส์แค่เข่าทับ มีผ้าบัฟ หมวกกันน็อค แว่นกันแดด ทาครีมกันแดด ซะหน่อย (หัวเราะ) ผมออกจากบ้านที่ซอยทุ่งมังกร ตลิง่ ชัน ไปถึงทีท่ ำ� งานใช้เวลา ๔๕ นาที ถ้าเทียบกับตอน ขับรถ ผมต้องเผื่อเวลาเพิ่มอีก ๒ ชม. รวมระยะทาง ก็ประมาณ ๑๗ กม. เพราะผมพยายามหาเส้นทางลัด ไม่ให้เจอถนนใหญ่ เมื่อก่อนจะประมาณ ๒๒ กม. ก็ ลดระยะลงได้ตงั้ ๕ กม. พอถึงทีท่ ำ� งานก็เอาน�ำ้ พรมตัว ใช้ผ้าขนหนูผืนเล็กเช็ดตัวซะหน่อย จริงๆ ที่ท�ำงาน ผมมีห้องอาบน�้ำนะ ถ้าจ�ำเป็นจริงๆ ถึงจะอาบ ก็ เปลีย่ นเสือ้ เปลีย่ นกางเกงขายาว ฉีดน�ำ้ หอมก็อยูแ่ ล้ว เพราะผมปั่นไปท�ำงานช่วงเย็น แดดมันไม่ร้อนมาก เหงื่อก็เลยน้อย

ช่วยอธิบายเส้นทางทีป่ น่ั เพือ่ ให้เห็นภาพนิดหนึง่

จากบ้านทีท่ งุ่ มังกรก็วงิ่ เส้นบรมราชชนนี ตรงมา อย่างเดียวออกสุโขทัย เลียบทางรถไฟสามเสน ไปออก ทางกรมประชาสัมพันธ์แล้วทะลุออกซอยอารีย์ ตรงไป เข้าทางกรมทหารทะลุออกราบ ๑๑ ผมก็จะตัดเส้นทาง เลยเหลือแค่ ๑๗ กม.

เส้นทางลัดเลาะตามซอยได้กจ็ ะดี ไม่ตอ้ งเสีย่ งกับรถใหญ่ ในถนนครับ ผมจะเจอถนนใหญ่แค่ช่วงถนนบรมฯ มาซังฮี้ ก็คอ่ นข้างปลอดภัยนะ ผมว่าถ้าเรามีสติขณะปัน่ ยังไงมันก็ไม่อันตราย แต่อุปสรรคก็มีบ้างอย่างพวก แท็กซีป่ าดหน้า รถเมล์เข้าป้าย เราก็ตอ้ งระวังรูจ้ งั หวะ ทีค่ วรจะเบรค ถึงผมจะปัน่ ฟิกซ์เกียร์แต่กต็ ดิ เบรคเพือ่ ความปลอดภัยครับ ยังไงก็อยู่บนพื้นฐานของความ ไม่ประมาทดีกว่า

อยากจะฝากอะไรถึงคนทีย่ งั ไม่กล้าออกมาปัน่ บ้าง

ผมเข้าใจนะ บางคนอาจจะมีปญ ั หาว่าทางบ้าน เป็นห่วง อย่างผมมีภรรยา มีลูกเล็กๆ ๒ ขวบ ผมก็ อธิบายให้เขาเข้าใจว่าผมปั่นแบบไหน มีการเซฟตี้ ตัวเองยังไง ปั่นอย่างมีวินัยเรื่องการใช้ สัญญาณมือ ต้องปรับการรับรูใ้ ห้ไว แล้วเดีย๋ วนีค้ นปัน่ กันเยอะขึน้ นะ เวลาเจอในถนนก็มีบ้างที่ตามๆ กันไป รถในถนนก็ อาจจะเกรงใจเราบ้างนิดหนึ่ง มีน�้ำใจให้จักรยานขึ้น มาบ้าง... ผมว่าไม่น่ายากครับส�ำหรับคนที่อยากเริ่ม ปั่นไปท�ำงานนะ

33


เรื่อง กฤตย์ ทองคง • ภาพ ZangZaew

บทความ

ส�ำ

หรับนักสะสมจักรยานแล้ว พวกเขาปรารถนา ทีจ่ ะเก็บจักรยานทุกคันทีผ่ า่ นสายตา แต่อาจ เป็นไปได้ยากเพราะเหตุปัจจัยหลายๆ อย่าง เช่น เงินไม่พอ..ไม่มีที่เก็บ..ดูแลได้ไม่ทั่วถึง ตามข้อจ�ำกัด ต่างๆ แต่จากใจแล้ว พวกเขาคิดว่า รถแต่ละคันจะมี ลักษณะโดดเด่นทีไ่ ม่เหมือนกันเลย แต่ละตัวตอบโจทย์ จ�ำเพาะทีถ่ กู ออกแบบมาให้เป็นอย่างนัน้ ได้เกือบหมด แต่เป็นเพียงโจทย์คันละข้อเท่านั้น ในทัศนะของพวกเขา โลกปราศจากจักรยานคันใด ที่ตอบสนองประโยชน์ได้สูงสุดในทุกหน้าที่ ท�ำนอง เดียวกัน ก็ไม่มีจักรยานคันใดที่ไม่ได้ถูกออกแบบ จ�ำเพาะออกมา เพียงแต่วา่ ทีอ่ อกแบบมาได้ถกู ใจหรือ ไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง นีเ่ ป็นเหตุผลทีจ่ กั รยานทุกคันควรถูกใครบางคน ดูแล จักรยานคันทีพ่ วกเขาเลือกไว้ จึงมีลกั ษณะทีโ่ ดด เด่นจับใจผู้สะสมได้ชัดเจนมากกว่าตัวอื่นนั่นเอง ส�ำหรับนักสะสมจักรยาน จะมีความแตกต่าง จากนักจักรยานทั่วไป ตรงที่บางตัวในกรรมสิทธิ์ที่มี อยู่อาจขี่ปั่นน้อย หรือแทบไม่ได้ขี่ปั่นเลยก็มี แต่ก็ยัง สมัครใจซื้อเก็บไว้ เกณฑ์เลือกซือ้ รถเก็บของนักสะสมจึงเป็นคนละ เกณฑ์กบั นักจักรยานอืน่ ๆ ทีน่ ำ� มาใช้ทดแทนกันไม่ได้ พูดกันคนละภาษา ถ้าจะแบ่งจักรยานออกเป็นหมวดหมู่ คนปั่นจักรยานเป็นกลุ่มๆ เช่นขี่ปั่นเสือหมอบ ขี่ปั่น เสือภูเขา กลุ่มคนขาย กลุ่มวินเทจ ฯลฯ ลุม่ ทีเ่ งียบทีส่ ดุ ในความเห็นผมก็คอื กลุม่ นักสะสม นี่เอง แต่เป็นกลุ่มจักรยานที่มีอยู่จริง หลายคน

ก 34

นักสะสมจักรยาน อาจไม่ยอมรับกับตัวเองว่าเป็นนักสะสมด้วยซ�ำ ้ พึงพอใจ ที่จะถูกเรียกอยู่ในหมวดหมู่อื่นๆ มากกว่า ตัวตนพวกเขาอาจถูกจัดอยู่ได้ในหลายกลุ่ม หลายพวก เขาอาจจะขี่ ร ถพั บ (บ่ อ ยๆ) แต่ ใ น คลังแสงแล้ว อาจจะครอบครองรถอยู่หลายประเภท ทั้งหมอบคาร์บอน รถไปรษณีย์ ทั้ง Recumbent และ Tendem ในค�ำอธิบายของพวกเขา มีข้อบ่งชี้จ�ำเพาะ เจาะจงค่อนข้างจะแน่นอนว่า ท�ำไมตัวนี้ (ตัวที่เขามี ทุกตัว) จึงแตกต่างจากตัวอื่น และนี่เองคือเหตุผลว่า ท�ำไมเขาจึงไม่ยอมปล่อยออก (ขาย) มันยังทรงคุณค่า ที่จะแลกเปลี่ยนออกไป (ซื้อเก็บสะสม) ที่มีมูลค่า นอกจากจะเป็นเงินตราแล้ว ยังมีมูลค่าการปัดฝุ่น, ปั๊มลม และออกตะลอนล่าอะไหล่ แม้จะหายากและ แสนแพงก็ตาม เมื่อเรื่องด�ำเนินไปจนถึงจุดจุดหนึ่ง ความเป็น นักสะสม จะมีค่าความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับความ เป็นคนขายจักรยานมากขึ้นทุกที แม้ว่าส่วนลึกยัง ไม่ปรารถนาจะขายต่อ แต่เพื่อต้องการเงินเข้ามา หมุนเวียนให้ตัวที่น่าสนใจกว่าเข้ามา เพื่อให้มีพื้นที่ ตัวใหม่ได้มีที่เก็บ เพื่อที่ว่าจะได้เอาตัวที่ต้องการน้อย ที่สุดออกไป ลุม่ นักสะสมจะเป็นกลุม่ นักปัน่ ทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ พอๆ กับกลุ่มผู้ขาย แต่กลับเป็นกลุ่มที่น่าจะมีองค์ความรู้เกี่ยวกับจักรยานมากที่สุด ไม่เคยพบเลยว่า นักสะสมจักรยานผูใ้ ด จะยอมรับตัวเองว่าเป็นนักสะสม ก่อนหน้าหรือขณะเริ่มสะสม


ทุกครั้ง เขาจะปฏิเสธว่า เขาไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่ม ที่ผู้อื่นเรียกขาน แต่จ�ำนวนปริมาณจักรยานในความ ครอบครองกลับเพิม่ มากขึน้ ฟ้องสถานะทีแ่ ท้จริงของ ตนเองอยู่เป็นระยะๆ และในที่สุด เขาจะเป็นคนสุดท้ายในสังคมที่ ยอมรับตัวเองว่าเป็น “นักสะสมจักรยาน” กลุม่ นักสะสมนี้ จะแสดงตัวตนของพวกเขาออก มาได้อย่างเด่นชัดก็ตรงงานนิทรรศการ งานชุมนุม หรือ งานแสดงจักรยานตามวาระต่างๆ ทีห่ ากขาดพวกเขาไป ปราศจากผลงานทีเ่ ขาเก็บเอาไว้มาให้พวกเราดู งานก็ จะจืดชืดลงไปทันตาเห็น ทัง้ งานก็จะเห็นแต่รถกระแสหลักที่หมุนเวียนอยู่ในตลาดเท่านั้นเอง แท้จริงแล้ว เป้าหมายของผูเ้ ข้าร่วมงานนิทรรศการ ก็อยากจะชื่นชมของรักของหวงของพวกเขานั่นเอง กสะสมจักรยานจึงเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังที่งดงาม ทางประวัติศาสตร์ของยานสองล้อ หากไม่มี พวกเขา สังคมก็จะสิ้นไร้แม้แต่สุสานจักรยานที่ให้ พวกเราคุ้ยไปซ่อม สังคมก็จะไม่สามารถสืบค้นอะไร ในประวัตศิ าสตร์จกั รยานได้เลย นอกจากตัวกระดาษ ที่เป็นรูปภาพว่ากาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว เราเคยมีรถ แบบนี้กันด้วย นักสะสมจักรยานจึงเป็นผู้ที่ถูกด่าตอนต้นและ ถูกชื่นชมในภายหลัง ถูกด่าจากเมียที่บ้าน.. เกะกะ จริงๆ... สิน้ เปลืองเงินทอง... มีแค่สองขา แต่มจี กั รยาน มากเสียจนปั่นไม่ทัน ฯลฯ สารพันข้อหาที่เอามายัดเยียด แต่ละค�ำช่าง สรรหามาบัน่ ทอน คือจินตนาการเพียงอย่างเดียวของ คนที่บ้าน แต่พวกเขาก็เดินหน้าท�ำหน้าที่สะสมต่อไป อย่างเงียบๆ จากความอึดต่อค�ำด่าว่า จากวาจาไม่ให้กำ� ลังใจ ของสหายปั่น ครั้งแล้วครั้งเล่า ปริมาณรถที่เพิ่ม มากขึ้น ล้วนแต่บอกว่าเป็นของเจ๋งๆ ทั้งนั้น ไม่เจ๋ง ก็อยู่ไม่รอด ที่สุดท้ายปลายทางตัวที่ถูกคัดออก ถ้า ไม่เป็นการครอบครองจากนักสะสมอื่นแล้ว แทบจะ ไม่มีที่ยืนในสังคม

นั

แต่ชะตากรรมของนักสะสมมิได้ราบรืน่ ทุกเวลา เสมอไป การล่มสลายของคลังแสงหรือยังด�ำรงอยู่ได้ ปลอดภัย สังคมมิได้ให้ความช่วยเหลือใดๆ คงปล่อย ให้เป็นหน้าที่ของใครของมัน ของครอบครัวคนนั้น สะสมกันเอง รวมทั้งเป็นหน้าที่ลูกเมียที่พลอยถูกฉุด ลากลงชะตากรรมสะสมไปด้วยอย่างไม่สมัครใจ ไม่ใช่ปลายทางของนักสะสมทุกคนจะสวยหรู ไม่ใช่เป็นต�ำแหน่งทีถ่ กู เรียกว่า “ผูโ้ อบอุม้ ประวัตศิ าสตร์ สองล้อ” เมื่อภาระรัดตัวด้านต่างๆ กระชับเข้ามา บีบเข้ามา จนท�ำให้บางราย “กรุแตก” “กรุแตก” อาจเป็นที่ชื่นชอบของนักปั่นอื่นจะ ได้ทัศนาชะตากรรมอันแสนเศร้า และผลัดกันเชยชม ของดีราคาถูก เป็นรอยยิม้ พึงใจใหม่ๆ บนคราบน�ำ้ ตา ของนักสะสมเจ้าของกรุ แต่จะท�ำไงได้หละ โลกก็ จ�ำเป็นต้องหมุนต่อไป เมื่องานเลี้ยงเลิกรา ไม่มีใคร สามารถเลือกรับชะตากรรมได้โดยอิสระ มันต้องเป็น ในสิ่งที่ควรจะเป็น ไม่ว่าจะถูกใจใครหรือไม่ก็ตาม แต่ ถ ้ า นั ก สะสมผ่ า นวั น คื น อั น โหดร้ า ยนั้ น มาได้ แล้ววันหนึ่งก็จะต้องมาถึง วั น ที่ น านเพี ย งพอ วั น ที่ ผ มเขาหงอกไป ครึ่งหัว โลกประวัติศาสตร์สองล้อจะจารึกชื่อพวก เขาเป็นการขอบคุณ ขอให้นักสะสมจักรยานจงได้ รับการขอบคุณและถูกให้ก�ำลังใจจากผู้เขียนด้วย ณ ที่นี้ อีกครั้งล่วงหน้า ๑๑.๖๐ น. ๑๙ กันยายน ๒๕๕๕

35


เรื่อง ZangZaew

App Upddate

Bike Doctor App คัมภีร์ดูแลจักรยานคันโปรด

แม้ว่า.. จักรยาน จะเป็นยานพาหนะที่ดูแล้ว ไม่ได้มสี ว่ นประกอบทีล่ กึ ลับซับซ้อนมากนัก แต่สำ� หรับ นักปัน่ จักรยานทัว่ ไป โดยเฉพาะกลุม่ นักปัน่ มือใหม่ ก็ ยังติดๆ ขัดๆ ในการแก้ปัญหาซึ่งเกิดขึ้นกับจักรยาน อยู่เสมอ.. จนบ่อยครั้งจึงต้องพึ่งพาช่างผู้ช�ำนาญ การจากร้านจักรยานต่างๆ แต่จะดีกว่าไหม... หากว่าเราสามารถทีจ่ ะแก้ไข ปรับแต่ง หรือซ่อมบ�ำรุง จักรยานคันโปรดของเราด้วย ตัวเอง เพราะนอกจากจะสามารถดูแลน้องจักรยาน อันเป็นทีร่ กั ด้วยตัวเองแล้ว ยังไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งความ เอาใจใส่ของช่างทีไ่ ม่รจู้ กั ซึง่ บางครัง้ .. อาจจะท�ำอะไร บางอย่างที่ไม่ถูกใจเราเข้าให้บ้างก็ได้.. จับโทรศัพท์มือถือขึ้นมาเลย.. ไม่ว่าจะเป็น ระบบ iOS หรือ Android เจ้า App ที่กล่าวถึงนี้

สามารถรองรับได้ทั้งคู่.. App ตัวนีค้ อื Bike Doctor ซึง่ ถูกสร้างขึน้ โดย นักปั่นจักรยานตัวจริงสามท่าน คือ อังเดรส์ คัมบา นีส์, รอน ฟอเรสเตอร์ และ เอียน ฟูลเลอร์ ทั้งหมด เป็นผูใ้ ช้จกั รยานในชีวติ ประจ�ำวัน และปรารถนาทีจ่ ะ ลบความน่ากลัวของการซ่อมบ�ำรุงจักรยาน ให้หมดไป จากใจของตัวเจ้าของจักรยาน เพื่อบอกว่า.. มันไม่ได้ ยากเลย ที่จะดูแลจักรยานคันเก่งด้วยตัวเอง

คุณสมบัติของ App • เลือกชนิดของจักรยาน สามารถเลือกชนิดของจักรยานได้ ด้วยเมนู Bike Type: ในหัวข้อ Setting มีจักรยาน ๓ ชนิด คือ Road (จักรยานถนน หรือ เสือหมอบ), Hybrid (จั ก รยานปั ่ น ในเมื อ งหรื อ จั ก รยานแม่ บ ้ า น) และ Mountain (จักรยานเสือภูเขา)

36


• เลือกจุดที่ต้องการดูแล เริ่มต้นจากการเปิดเมนู Show Bike เพื่อให้ App แสดงภาพจักรยานชนิดที่เลือก ไว้พร้อมต�ำแหน่งต่างๆ ที่ต้องบ�ำรุงรักษาหรือ ซ่อมแซม จากนั้นก็เพียงแต่แตะที่ต�ำแหน่งนั้น ระบบจะน�ำพาไปสู่หัวข้อต่างๆ เพื่อการเลือก เข้าไปดูรายละเอียด ซึง่ มีมากกว่า ๔๐ รายการ

• อ่านและดูภาพประกอบ เมือ่ เลือกหัวข้อได้ ระบบจะแสดงเนือ้ หา เป็นล�ำดับ ให้เปิดอ่านเป็นหน้าๆ พร้อมภาพ ประกอบ ซึ่งช่วยท�ำให้เข้าใจง่ายขึ้น

• เลือกหัวข้อ ในแต่ละต�ำแหน่งของจักรยานนั้น ยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกหลายข้อ เช่นแตะที่ต�ำแหน่งล้อ จะมีหัวข้อย่อย ตั้งแต่ การปะยาง เปลี่ยนยางใน เปลี่ยนหรือถอดยางนอก เปลี่ยนซี่ลวดวงล้อ เปลี่ยน เทปรองขอบล้อ ปลดวงล้อ ติดตั้งกันโคลน ฯลฯ • Bike Safety Check เมนูที่เหลือใช้ในการตรวจสอบสภาพความพร้อม ของรถจักรยาน ก่อนออกปัน่ เป็นประจ�ำ ได้เรียงล�ำดับ ขั้นตอนสิ่งที่ควรดูแล ก่อนที่จะน�ำจักรยานออกปั่น นอกจากจะมี ร ายละเอียดมากมาย ของการ ซ่อมบ�ำรุง หรือดูแลรักษา จักรยานแล้ว ยังสามารถ ส่ ง ต่ อ สิ่ ง ที่ ท� ำ ในประเด็ น ต่างๆ ผ่านทาง Twitter ไป ยังเพือ่ นๆ ในกลุม่ ทีต่ ดิ ตาม ได้ เพือ่ จะประกาศให้รวู้ า่ .. คุ ณ สามารถซ่ อ มบ� ำ รุ ง จั ก รยานส่ ว นไหนได้ บ ้ า ง แล้ว.. (คุยเสียหน่อย) ปัญหาเล็กๆ ของ App ตัวนี้ เห็นจะเป็นเรื่อง ภาษา เพราะข้อมูลทัง้ หมดถูกจัดท�ำเป็นภาษาอังกฤษ แต่หากพอรูภ้ าษาบ้าง ก็คงจะไม่ใช่เรือ่ งยากจนเกินไป เพราะเนือ้ หาได้ถกู จัดไว้เป็นหมวดหมู่ อีกทัง้ ยังมีภาพ ประกอบ จึงช่วยให้เข้าใจได้ไม่ยากนัก หากสนใจ App Bike Doctor คู ่ ก ายชาว จักรยาน สามารถเข้าไปดาวน์โหลดได้ที่... iOS ดาวน์ โ หลดจาก iTune ราคา App สนนราคา 4.99 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 148 บาท) Android ดาวน์ โ หลดจาก Google สนนราคา 84.22 บาท

37


เรื่อง วชิรุฬ จันทรงาม

มุมสุขภาพ

Melbourne...เมืองจักรยาน ๒

Happy Valentines ถึงทุกๆ ท่านจาก Melbourne เมืองจักรยาน! เมื่อปีที่แล้ววารสารฯ ฉบับเดือนมีนาคม ๒๕๕๕ ได้มี การลงบทความเรื่อง Melbourne ...เมืองจักรยาน ตอนที่ ๑ ไปแล้ว มีการเล่าถึงการน�ำเทคโนโลยีน�ำสมัยมาประยุกต์ใช้ เพื่อความสะดวกในการเดินทาง เช่นผู้ที่ใช้ iPhone iPad หรือ iPod Touch จะมี App เช่น Tram Tracker ช่วยหาว่า รถรางสายไหน จะไปไหน เวลาอะไรรถจะมาถึงสถานีทเี่ รารออยู่ และขณะทีเ่ ราอยูบ่ นรถรางแล้ว ก็สามารถใส่เบอร์ขบวนรถเพือ่ ที่จะดูว่าขณะนั้นรถรางไปถึงสถานีไหนแล้ว เป็นต้น นอกจากนัน้ App อืน่ ๆ เช่น iFindBikes และ Biximo จะ ช่วยให้เราหาจุดทีเ่ ราสามารถไปเช่ารถจักรยานหรือน�ำรถจักรยาน ที่เช่าอยู่ไปคืน โดยจะมีแผนที่ขึ้นบอกระยะทางว่าเราห่างจาก จุดนั้นๆ กี่เมตร มีช่องว่าง (Empty Docks) ที่ให้น�ำจักรยาน ไปคืนกี่ช่อง และมีจักรยานที่ยังว่างให้เราไปเช่าได้กี่คันเป็นต้น ประเทศ Australia ได้มกี ารส่งเสริมการใช้รถจักรยาน อย่างเป็นรูปธรรม และได้ผลดีเป็นอย่างมาก จึงเป็นทีม่ าของการ เขียนตอนที่ ๒ นี้ เพือ่ เจาะข้อมูลให้ลกึ ขึน้ ว่า “เขาท�ำกันอย่างไร” และน�ำภาพที่ได้บันทึกไว้ในครั้งนี้มาให้ดูกันเพิ่มเติมนะครับ องค์กรทีเ่ ป็นหนึง่ ในตัวขับเคลือ่ นให้เกิดมีการใช้รถจักรยาน กันอย่างเป็นรูปธรรมคือ Australian Bicycle Council • ซึ่งมีบทบาทในการตรวจสอบและประสานการ ปฏิบัติแผนงานของ Australian National Cycling Strategy 2011-2016 • โดยจัดให้มี Forum ซึง่ เป็นศูนย์การแชร์/แลกเปลีย่ น ข้อมูลกันในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในการน�ำแผนกลยุทธ์ต่างๆ ให้ ไปสู่การปฏิบัติ • เก็บ/รวบรวมข้อมูลและแหล่งที่มาในการส่งเสริม การใช้จักรยานให้เพิ่มมากขึ้นใน Australia National Cycling Strategy เป็นแผนกลยุทธ์ส�ำหรับปี ๒๐๑๑-๒๐๑๖ ซึ่งได้พัฒนา ขึ้นมาต่อจากปี ๒๐๐๕-๒๐๑๐ ซึ่งเป็นกรอบความร่วมมือกัน ของทุกส่วนงานของรัฐ ทีเ่ กีย่ วข้องกับท้องถิน่ ทุกภาคส่วนและ อุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะร่วมส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการใช้รถจักรยานกันให้มากขึ้น เพื่อชีวิตที่ดีกว่า แผนกลยุทธ์ได้เล็งเห็นความส�ำคัญว่าการเพิ่มจ�ำนวน ผู้ใช้รถจักรยานในการเดินทางและเพื่อสันทนาการนั้น มีผลดี มากมายต่อตนเองและต่อสังคม

38

Fitness Lifestyle 25

มีการตั้งเป้าไว้ว่าจะเพิ่มผู้ใช้รถจักรยานในออสเตรเลีย ขึน้ อีก ๑ เท่าตัวภายในปี ๒๐๑๖ จากปัจจุบนั มีผใู้ ช้รถจักรยาน ในหนึ่ ง สั ป ดาห์ อ ยู ่ ๑๘% จากประชากร ๒๒.๖ ล้ า นคน (Australian Bureau of Statistics - June 2012) ซึ่งใช้ใน การเดินทางและสันทนาการ โดยมี ๓.๖ ล้านคนเพือ่ สันทนาการ และ ๑.๒ ล้านคนใช้เพื่อการเดินทางอย่างน้อย ๑ ครั้ง (แหล่ง ข้อมูล จากการส�ำรวจโดย Australian Bicycle Council August 2011) โดยมีการวางแผนกลยุทธ์ไว้ดังนี้: ๑. Cycling Promotion - ให้มีการโปรโมทส่งเสริม การใช้จักรยานให้เป็นวิธีการเดินทางที่เป็นไปได้และปลอดภัย และเป็นกิจกรรมสันทนาการที่สนุกสนาน ๒. Infrastructure and facilities – สร้างเครือข่าย ให้ครบวงจรครอบคลุมเส้นทางจักรยานให้มคี วามปลอดภัยและ น่าขี่ รวมถึงการจัดหาให้ความสะดวกต่างๆ ณ ปลายทริปการ เดินทางในแต่ละจุด ๓. Integrated planning – สอดประสานการวางแผน กลยุทธ์เพือ่ ตอบรับให้สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้จกั รยาน ในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับการใช้พื้นถนนและการเดินทาง ๔. Safety – เพื่อให้มีความปลอดภัยในการใช้รถจักรยานขับขี่ ๕. Monitoring and evaluation – พัฒนาให้ดียิ่ง ขึน้ ไปในการเฝ้าติดตามและประเมินผลของโครงการต่างๆและ พัฒนากระบวนการตัดสินใจส�ำหรับการลงทุนสนับสนุนการใช้ รถจักรยาน ๖. Guidance and best practice – สนับสนุน การพัฒนาแนวทางส�ำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เพื่อที่จะ ได้ร่วมกันใช้ข้อปฏิบัติที่ดีที่สุด จะเห็นได้วา่ โครงการต่างๆดังกล่าวทีไ่ ด้ทำ� ประสบผลส�ำเร็จ มาแล้ว และก�ำลังจะพัฒนาก้าวสู่ขั้นต่อไปนั้น จะต้องมีรัฐและ เอกชนผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องเข้ามาร่วมด้วยเป็นตัวขับเคลือ่ น จึงจะ สามารถท�ำได้ส�ำเร็จ สิง่ ทีเ่ ห็นเป็นรูปธรรมและได้ถา่ ยภาพบันทึกไว้ในครัง้ นีม้ :ี ๑. รถจักรยานระบบทันสมัยจัดให้เช่าโดยรัฐ และการน�ำ app บน smart phone มาใช้เพิ่มความสะดวก ๒. ไฟสัญญาณจราจรส�ำหรับรถจักรยาน แสดงให้เห็น ถึงการให้ความส�ำคัญต่อรถจักรยานเพือ่ ความเป็นระเบียบและ ความปลอดภัย ๓. ทางจักรยานเป็นสัดส่วน


๑๐

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙

๒๐

๒๑

๒๔

๒๕

๒๒

๒๓

๔. Bike Lockers ให้บริการทีฝ่ ากรถจักรยานปิดมิดชิด ที่สถานีรถไฟ ๕. ช่องจอดรถจักรยานบนรถไฟ ๖. ที่จอดรถจักรยานแบบติดฝาผนัง ๗. ที่จอดรถจักรยานหน้าสถานที่ต่างๆ ๘. ที่จอดรถจักรยานริมถนน ๙. ที่จอดรถจักรยานริมถนน ๑๐. การจอดรถจักรยานล็อคไว้กับเสาไฟฟ้า ๒ คัน ๑๑. จอดรถจักรยานกับเสาไฟฟ้าคันเดียว ๑๒. รถจักรยานสีเหลือง ๑๓. รถจักรยานแม่บ้านสีม่วงติดตะกร้า ๑๔. เด็กจูงรถจักรยาน ๑๕. รถจักรยานกับรถสปอร์ต MG เปิดประทุน ๑๖. รถจักรยานพับกับรถม้า ๑๗. เด็กจูงรถจักรยาน ๑๘. สุขาสาธารณะริมสวนสาธารณะสร้างอยูใ่ กล้รมิ ถนน ให้ความสะดวกส�ำหรับผูใ้ ช้รถจักรยานและผูใ้ ช้รถใช้ถนนทัว่ ไป ๑๙. ป้ายบอกทางไปสุขาสาธารณะ ๒๐. ประตูห้องสุขา แยกหญิง/ชาย กดเลื่อนเปิด-ปิดอัตโนมัติ มีไฟบอกในกรณีที่ไม่ว่าง

๒๑. เมื่อท�ำธุระเสร็จ กดปุ่มกระดาษช�ำระจะออกมา ทีละ ๓-๔ แผ่น ยื่นมือตรงช่องสบู่เหลวจะไหลลงมาอัตโนมัติ ยืน่ มือในช่องต่อไปน�ำ้ จะไหลลงมาล้างมือให้อตั โนมัติ และน�ำ้ จะชักโครกให้เองโดยมือไม่ตอ้ งสัมผัสหรือกดส่วนใดอีก เป็นการสอนให้ล้างมือทุกครั้งเมื่อท�ำธุระเสร็จ เมื่อล้างมือแล้ว ในขั้นสุดท้ายจะมีลมอุ่นเป่าให้ มือแห้งแทนการใช้กระดาษ เป็นการลดขยะ ๒๒. เมื่ อ มี สัญญาณไฟสี แดงกระพริ บ หมายถึ ง ให้ ออกจากห้องสุขาโดยเร็ว เนื่องจากใช้สุขานานเกินไปแล้ว..มี การบริหารเวลา เพื่อแบ่งให้ผู้อื่นใช้บ้าง..ดีจริง ๒๓. Giant Bicycle Headquarter ๒๔. Bikes Direct Reception Center ๒๕. ชื่นชมกับจักรยานคันใหม่ (ยังไม่แกะกล่อง) มา Melbourne ในครั้ ง นี้ ยั ง มี อี ก หลากหลาย ประสบการณ์ที่จะแชร์ให้กับท่านในตอนต่อๆ ไปครับ “เมื่อรั ฐเริ่ มให้ ความส� ำ คั ญกั บการส่ ง เสริ มการใช้ รถจักรยาน เรา..สมาชิกสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ก็จะ ได้ท�ำหน้าที่ของเราให้ได้อย่างเต็มที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นอีก”

39


เรื่อง ช่างหนึ่ง

เชิงช่างหนึ่ง

Clipless Pedals

วั

นเวลาช่ า งรวดเร็ ว ปานจรวด เหมื อ นโลกเรา หมุนเร็ว รู้สึกมั้ยครับ จริงๆ มันหมุนเท่าเดิม แหละครับ 555 วันๆ ผ่านไปรวดเร็วอย่างนี้อย่าลืมออกก�ำลัง กายกันบ้าง สุขภาพส�ำคัญนะครับ กลับมาพบกันอีก แล้วในวารสาร “สารสองล้อ” ฉบับนี้ผมมีเนื้อหา เชิงช่าง มาน�ำเสนอเหมือนเคย หัวข้อในฉบับนี้เป็น เรื่อง Clipless

Clipless คืออะไร?

Clipless คืออุปกรณ์ที่ช่วยในการปั่นจักรยาน โดยปกติแล้วเมื่อเราเริ่มขี่จักรยาน เราก็ขึ้นไปนั่งบน เบาะ พร้อมแล้วก็วางเท้าลงไปที่ปั่น นั่นแหละครับ คือการขี่จักรยานไปไหนต่อไหน ถีบจักรยานแบบใช้ บันได “Pedals” เรียบๆ การถีบจักรยานลักษณะนี้ คือการกดเท้าลงไปด้านล่าง ลักษณะแรงกดไปทีบ่ นั ได ปัน่ เพือ่ ส่งก�ำลังไปยังโซ่ แรงกดเท้าจะมีแรงกดแรงปัน่ จะเริ่ม ที่บ่าย ๓ นาฬิกาไปจน ๖ นาฬิกา ของขาทั้ง ด้านซ้ายและขาด้านขวา แบบนีเ้ ป็นแบบทีเ่ ราๆ ใช้ปน่ั จักรยานกัน แต่เมือ่ เราต้องการ การปัน่ ทีไ่ ด้ผลสูงสุด จะเรียก การปัน่ ว่า การปัน่ จักรยาน โดยจะมีเรือ่ งราวของรอบขา เข้ามาเกี่ยวข้อง รอบขาหลานท่านอาจจะเคยได้ยิน นักปัน่ คุยกัน กว่าจะเข้าใจก็เล่นเอาเกือบงงเหมือนกัน

40

ปกติเราใช้บนั ไดธรรมดาทีเ่ ป็นแบบเรียบๆ คือการถีบ จักรยาน ก็คือกดเท้าไปด้านหน้าเท่านั้น พอเท้าใด เท้าหนึ่งหมุนเลื่อนลงไปด้านล่างก็หมดแรงกดบันได แล้ว ลักษณะแบบนีเ้ ราจะได้แรงกดพือ่ ท�ำให้จกั รยาน เคลื่อนที่ไปของเท้าทั้งสองข้างนั้น เป็นมุมจ�ำกัด คือ แรงมาจากแรงกดจากแนวตรงลงไป ๙๐ องศา หรือ เทียบกับหน้าปัดนาฬิกา คือ บ่าย ๓ โมงจนลงมาที่ ๖ นาฬิกา นั่นคือแรงกดที่เราถีบลงไปเท่านั้น มันก็ ไม่เป็นรอบขาถูกต้องมั้ยครับเพราะว่า เราอกแรงแค่ บ่าย ๖ ถึง ๖ โมงเย็นแค่นั้นเอง


Clipless แบบใช้สายรัด

Clipless เป็นแบบมีตัวล็อคที่บันไดและที่พื้นรองเท้า

มาดู ว ่ า เราจะปั ่ น รอบขาได้ อ ย่ า งไรก่ อ นอื่ น ต้องจัดการบันไดอันเก่าออกไปก่อนเลย เปลี่ยนเป็น บันไดปั่นที่จะท�ำให้เท้าของเราติดกับตัวบันไดตลอด เปลี่ยนเป็นลักษณะแบบนี้ แบบแรกที่รู้จักกันเป็นแบบใช้สายรัด แบบนี้ จะรู้จักในชื่อบันไดตะกร้อ การใช้งานคือ สอดเท้า เข้าไปเวลาจะเอาเท้าออกต้องดึงเท้าไปด้านหลัง ข้อดี ของบันไดตะกร้อ เราไม่ต้องซื้อรองเท้าใหม่ เป็นการ เริม่ ต้นฝึกการปัน่ จักรยานทีล่ งทุนน้อย แต่กต็ อ้ งระวัง เมื่อเราไม่ได้สวมเท้าเราเข้าไปด้านในตัวตะกร้ออาจ จะไปเกี่ยว อะไรต่อมิอะไรบนถนนได้ อาทิก้อนหิน เศษขยะบนถนนท�ำให้ตกใจบ้าง

แบบที่สอง เป็นแบบมีตัวล็อคที่บันไดและที่ พื้นรองเท้า ซึ่งด้วยกันหลายรุ่นหลายยี่ห้อ ส่วนใหญ่ จะสามารถปรับตั้งความแข็งของระบบล็อคได้ และ จะต้องสวมรองเท้าที่ออกแบบมาเพื่อติดระบบล็อค กับบันไดเท่านั้น เมือ่ มีความคล่องตัวแล้วก็มาถึงการปัน่ จักรยาน แบบโปรหละครับ โดยใช้บนั ไดคลิปเลส แบบนีเ้ ราต้อง มีรองเท้าและคลิปเลส จะได้ประสิทธิภาพการปั่นสูง มากขึ้น เป็นการฝึกรอบขาแบบ ๑๐๐% รองเท้าและใส่บันไดคลิปเลส จะได้เรื่องการ ปั่นรอบขามาก เนื่องจากเท้าของเราทั้งสองด้าน จะ ติดอยู่กับบันไดปั่นตลอดเวลาในขณะปั่น ข้อดีคือแรง

รองเท้าและใส่บันไดคลิปเลส

41


การปรับตั้งแผ่นตัวล็อคคลิปเลส

ทีก่ ดไปทีบ่ นั ไดจะมีมากขึน้ บันไดแบบติดตะกร้อกดที่ ๓ โมงเย็นไป ๖ โมงเย็น แต่คลิปเลสสามารถปั่นได้ ๓๖๐ องศา หรือออกแรงได้ ๑ รอบของหน้าปัด นาฬิกาเลย ประสิทธิภาพทีไ่ ด้จงึ ท�ำให้เราปัน่ ได้เร็วขึน้ กล้ามเนื้อที่ใช้ในการออกแรงของท่อนขาก็สม�่ำเสมอ คงพอจะทราบข้อดีของคลิปเลสบ้างแล้ว คราวนี้ เพิ่มเติมอีกนิดนึง คือการปรับตั้งระยะการวางเท้า อั น นี้ จ ะเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพขึ้ น ไปอี ก การปรั บ ตั้ ง แผ่นตัวล็อคคลิปเลสนั้น มีวิธีการติดตั้งด้วยนะครับ ไม่ใช่ว่าซื้อมาแล้ววางต�ำแหน่งไหนก็ได้ ควรจะปรับ ตัวคลิปเลสให้ตรงกับบริเวณอุ้งเท้า หรือให้ท่านลาก เส้นจากนิ้วก้อยไปที่นิ้วโป้ง บริเวณตรงกลางจุดนี้ คือ จุดที่เราจะวางตัวคลิปเลสให้ตรงต�ำแหน่ง ในจุดนี้เมื่อเราวางล็อคต�ำแหน่งคลิปเลสแล้ว

42

จะตรงกับแนวแกนบันไดปั่นทันที อันนี้คืดจุดที่เป็น ต�ำแหน่งที่ตรงนะครับ แต่ยังไม่เสร็จนะครับ สิ่งที่จะ ต้องดูควบคู่ไปด้วย ก็คือแนวตรงจากด้านหน้า มอง เข้าไปต้องเป็นแนวตรงขนานไปกับตัวรถด้วย ถ้าปรับ บิดไปก็จะส่งผลไปที่การปั่นท�ำให้มีอาการปวดเท้า ได้รวมถึงแนวการปัน่ จะไม่ตรงกับแนวดิง่ ของบันได ซึง่ จะส่งผลไปทีแ่ รงทีส่ ง่ ไปทีบ่ นั ไดนัน้ เอียงเสียรูปร่างไป ง่ายๆ คือเข่าเลื่อนขึ้นลงไปเป็นแนวตรงนั่นเอง เมื่อแนวเข่าเราไม่ตรง เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง แรงส่งก็ไม่ ๑๐๐% จะท�ำให้ไม่ได้ประสิทธภาพสูงสุด จะถีบหรือจะปั่นอันนี้ขึ้นอยู่กับเรา ว่าเราจะเลือกใช้ นะครับ แต่ทง้ั สองแบบนัน้ ก็ปน่ั ไปไหนต่อไหนได้ เรือ่ ง ราวบันไดถีบๆ ปั่นๆ ก็ขอจบแค่นี้นะครับ ไปซ้อมปั่น ดีกว่าเรา


สินค้าสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เป็นสินค้าที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้ใช้จักรยาน จัดจ�ำหน่ายในราคามิตรภาพ ผลิตจากวัสดุคุณภาพดี สามารถ เลือกซื้อได้ที่ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ๒๑๐๐/๓๓ ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ ๒๒ ถนนนราธิวาส ราชนครินทร์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐ หรือสัง่ ซือ้ ทางไปรษณีย์ ด้วยการโอนเงินเข้าบัญชีของ สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ประเภทบัญชี ออมทรัพย์ ธนาคารกสิกรไทย สาขาโลตัสพระราม ๓ เลขที่ ๘๖๐-๒-๑๔๒๒๒-๒ แล้วกรุณาแฟกซ์ส�ำเนา ใบโอนไปที่ โทรสาร ๐-๒๖๗๘-๘๕๘๙ หรือส่งทาง email: tchathaicycling@gmail.com

๐๑ (เขียว)

๐๑ (ฟ้า)

๐๒

๐๓ แบบ ๑, ๒

๐๓ แบบ ๑

๐๓ แบบ ๒

๐๔ (หน้า)

๐๔ (หลัง)

๐๕ (หน้า)

๐๕ (หลัง)

๐๖

๐๗

๐๘

๐๙

รายการสินค้า

๐๑. หมวกคลุมหน้า มีสเี ขียว สีฟา้ ราคาใบละ ๑๒๐ บาท ๐๒. หมวกงานโชว์จักรยาน ราคาใบละ ๒๐๐ บาท ๐๓. เสื้อยืดจักรยานสีขาว ตัวละ ๑๐๐ บาท แบบ ๑ ด้านหน้าลายจักรยาน ด้านหลังสัญลักษณ์สมาคมฯ แบบ ๒ ด้านหน้าลายจักรยาน ด้านหลังโปรดระวังจักรยาน

๐๔. เสื้อ TCHA แขนสั้น ราคาตัวละ ๗๕๐ บาท ๐๕. เสื้อ TCHA แขนยาว ราคาตัวละ ๙๕๐ บาท ๐๖. เสื้อกั๊กสะท้อนแสง ราคาตัวละ ๑๕๐ บาท ๐๗. กางเกงขาสั้น SDL ราคาตัวละ ๙๕๐ บาท ๐๘. กางเกงขายาว SDL ราคาตัวละ ๑,๑๐๐ บาท ๐๙. ถุงแขนสีด�ำ ราคาคู่ละ ๑๒๐ บาท

43


“โครงการรีไซเคิลจักรยาน”

บริจาคจักรยาน บริจาคจักรยาน

เป็นโครงการต่อเนื่องที่สมาคมจักรยานเพื่อ สุขภาพไทย TCHA จัดขึ้นเพื่อขอเชิญชวนทุกท่าน ที่ต้องการร่วมสนับสนุน ไม่ว่าจะเป็นจักรยานเก่าที่ ใช้แล้ว ซึ่งสมาคมฯ จัดให้มีการบูรณะจักรยานเก่า เหล่านี้ โดยเหล่าช่างจักรยานและสมาชิกทั่วไป ซึ่งมี จิตสาธารณะ มาร่วมกันคนละไม้คนละมือ ปรับแต่ง แก้ไขให้จักรยานที่ได้รับบริจาคเหล่านี้ กลับมาใช้งาน ได้ใหม่อย่างสมบูรณ์ หรือจะเป็นจักรยาน ใหม่ ก็จะยิ่งช่วยเพิ่มความ สะดวกสบาย และกลาย เป็นยานพาหนะ ที่จะช่วย ให้น้องๆ เยาวชน ตามที่ห่างไกล สามารถใช้เพื่อการ เดินทางสัญจร ไปโรงเรียน หรือส�ำหรับภารกิจอื่นๆ ตลอดจนออกก�ำลังกายในครอบครัวได้ โดยไม่ต้อง พึ่งพาพลังงานสิ้นเปลืองด้านอื่น

ขอขอบคุณ

• บริษัท พีทีที่ โกลบอล เคมีคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTT ได้มอบจักรยานเพื่อน�ำไปมอบ ให้นักเรียนทั่วประเทศ กับโครงการ รีไซเคิลจักรยาน โดยมีสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย เป็นตัวแทนน�ำ ไปมอบยังโรงเรียน • คุณเกศิณี มอบ จักรยานสกูตเตอร์ ๑ คัน • ร.ต.ต.สมคิด แก่นท้าว บริจาก ๕๐๐ บาท เพื่อซื้ออะไหล่จักรยาน

ติดตอสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย หรือประสงครวมโครงการรีไซเคิลจักรยานไดที่ สำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ถนนสาทร ๒๑๐๐/๓๓ ซอยนราธิวาสราชนครินทร ๒๒ รถไฟฟา BTS BRT ชองนนทรี (สาธุประดิษฐ ๑๕ แยก ๑๔) มเหสักข ถนนนราธิวาสราชนครินทร แขวงชองนนทรี แมคโคร BRT เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๗๘-๕๔๗๐ ถนนจันทน รร.เซนยอเซฟฯ โทรสาร ๐-๒๖๗๘-๘๕๘๙ ซอย ๑๕ นราธิ ว าสฯ ๒๒ ที่ทำการสมาคมฯ BRT ถนนจันทน เวบไซต www.thaicycling.com (นราธิวาส ซอย ๒๒) ถนนนราธิวาส

ถนนสีลม

รถไฟฟา BTS ศาลาแดง

ทางลงสาธุประดิษฐ

44

ระดิษฐ

ุป ถนนสาธ

สาธุประดิษฐ ๑๕ แยก ๑๔

ทางดว

โลตัสพระราม ๓

ถนนพระราม ๓

Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล tchathaicycling@gmail.com


áÃç¤ËÅѧ¤Ò áÃ礨ѡÃÂÒ¹

จ�ำหน่ายจักรยานแบรนด์คุณภาพชั้นน�ำ และอุปกรณ์ครบครัน Bianchi, Specialized, WHEELER, GIANT, MERIDA, ORBEA 371 ถ.อุดรกิจ ต.ปากน�้ำ อ.เมือง จ.กระบี่ 81000 โทร. 085 888 9580

Tel : 02 589 2614 , 02 591 5220-2

อุปกรณ์GPS ส�ำหรับการท่องเที่ยวและกีฬา SUANTHON BIKE PLUS เฮียจุ๊ย 0 2462 8404 , 08 1899 6223

มาร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าการศึกษา ปั่นจากกรุงเทพฯ - พะเยา ๒๓ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ระยะทางประมาณ ๑๔๐ กม. เดินทาง กลับกทม. โดยรถบัสปรับอากาศ

พิเศษ! บัตรสมาชิกสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ใช้สทิ ธิสว่ นลดได้ที่ PRO BIKE ส่วนลด ๑๕% โทร. ๐ ๒๒๕๔ ๑๐๗๗ WORLD BIKE ส่วนลด ๒๐% โทร. ๐ ๒๙๔๔ ๔๘๔๘ THONGLOR BIKE ส่วนลด ๑๐% ค่าอาหาร เครื่องดื่ม ยกเว้นเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ โทร. ๐ ๒๗๑๒ ๕๔๒๕ ZIP COFFEE (หมูบ่ า้ นสัมมากร) ส่วนลดกาแฟ ๑๐ บาท ส�ำหรับผูถ้ อื บัตรฯ และลด ๒๐ บาท ส�ำหรับผู้ส่วมเสื้อจักรยาน TCHA ลายธงชาติ

จองด่วน!

ท�ำบุญให้กับโครงการสนับสนุนส่งเสริม การจั ด การเรี ย นการสอนสาระศิ ล ปศึ ก ษา (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) โรงเรียนบ้านโพธิ์ ทอง หมู่ที่ ๒ ต�ำบลคือเวียง อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา

สนใจโทร. ๐ ๒๖๑๒ ๔๗๔๗

โฆษณาที่ตรงกลุ่มเป้าหมายเหล่านักปั่นมากที่สุด!

๖ ซม. เปิดพื้นที่โฆษณาย่อยเป็นพิเศษ ส�ำหรับร้านค้าย่อยที่จ�ำหน่าย จักรยาน บริการซ่อมบ�ำรุง จ�ำหน่ายอะไหล่ รับประกอบจักรยาน ๓ ซม. เสื้อผ้า ร้านอาหารสินค้ามือสอง ของส่วนตัว บริการท่องเที่ยว หรืออื่นๆ เชิญจับจองด่วน พื้นที่ขนาด ๓ คูณ ๖ เซนติเมตร ราคาพิเศษในโอกาส เปิดพื้นที่ใหม่เพียง ๑,๐๐๐ บาทต่อครั้งต่อเล่มเท่านั้น ติดต่อด่วน โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๑-๖๒๖๗ หรือทางเวบไซต์ที่ http://bit.ly/TCHAminiAD โฆษณาตรงเป้าหมายและยังได้ร่วมสนับสนุนสมาคมฯ อีกด้วย!

45





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.