_/'\_ คู่มือมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร

Page 1



มาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร ๒๕๕๖ นครศรีธรรมราชถือได้วา่ เป็นดินแดนทีห่ ลากหลาย และเป็นแผ่นดินทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ มีพระบรมธาตุ เจดีย์ เป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน เป็นเส้นทางท่องเที่ยวสุขใจ เมื่อไปสัมผัสพลังแห่งศรัทธา อิ่มอุ่นและอิ่มเอมด้วยความปิติแห่งความเป็นสิริมงคล แม้เพียงครั้งเดียวที่มีโอกาสได้มานมัสการ องค์ พ ระบรมธาตุ เ จดี ย์ เชื่ อ กั น ว่ า เป็ น สิ ริ ม งคลแห่ ง ชี วิ ต อั นใหญ่ ห ลวงเพราะมี โ อกาสใกล้ ชิ ด องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีคำ�กล่าวว่าเม็ดทรายทุกเม็ดในแผ่นดินนี้ถูกเหยียบย่ำ�โดยผู้ใฝ่ธรรม มาแล้วทั้งสิ้น จนชาวพุทธเชื่อกันว่าเกิดมาหนึ่งชาติขอได้กราบพระธาตุเมืองนคร เพื่อมุ่งหมายให้ ทุกคนละชั่ว ใฝ่ดี และทำ�จิตใจให้ขาวรอบ จึงถือได้ว่าชาวนครศรีธรรมราชเติบใหญ่ภายใต้ร่มเงา ศิลปะที่ผสมผสานกับความเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์ของอาณาจักรตามพรลิงค์ อันมีความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ ประจักษ์บนถนนสายเดียวเทีย่ วได้ ๕ ศาสนา ๕ วัฒนธรรม และยังมีแหล่งท่องเทีย่ วสวยงามหลากหลาย และมีคณ ุ ภาพทีไ่ ด้รบั รางวัลกินรีเป็นเครือ่ งหมายรับประกันถึง ๑๕ รางวัล และทีน่ เ่ี ป็นเมืองทีอ่ ากาศดี ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ทั้งยังเป็นนครแห่งการเรียนรู้ดูงาน เหนือสิ่งอื่นใดนครศรีธรรมราช ยังมีประเพณีวัฒนธรรมที่เป็นอัตลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความมีชีวิตจิตญาณ เป็นเหตุปัจจัยให้เป็น ศูนย์กลางการพัฒนาทุกอย่างให้เอื้อต่อการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงพุทธ จนถึงขั้นเป็นดินแดนแห่ง การท่องเที่ยวจาริกแสวงบุญ ณ พระบรมธาตุเจดีย์บนคาบสมุทรแหลมทองที่มีความสัมพันธ์กับ นานาชาติรอบมหาสมุทรอินเดีย - อ่าวเบงกอลมาเนิ่นนานให้ทัดเทียมกับอีก ๓ สถานแสวงบุญ สำ�คัญของชาวพุทธทัว่ โลก คือ สังเวชนียสถาน ในประเทศอินเดีย อนุราธปุระ-โปโลนารุวะ ประเทศ ศรีลังกาและมหาเจดีย์ชเวดากอง ในสหภาพพม่า และด้วยพลังแห่งความเชื่อและศรัทธาในพุทธา นุภาพทีก่ ว้างไกล ยังมีประเพณีทเี่ ป็นมรดกตกทอดมา มากกว่า ๘๐๐ ปี คือ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ เพื่อโน้มนำ�การปฏิบัติบูชาตามคำ�สอนสำ�คัญของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือโอวาทปาฏิโมกข์ แห่งมาฆะมาส ละชั่วใฝ่ดี และทำ�จิตใจให้ขาวรอบ เกิดมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยวเชิงพุทธ หรือการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และให้เกิดการ พัฒนาอย่างสมดุลระหว่างการท่องเทีย่ วกับ วัฒนธรรมประเพณีทเี่ ก่าแก่สกู่ ารท่องเทีย่ วเพือ่ การ เรียนรู้ อันจะก่อให้เกิดความภาคภูมใิ จใน เอกลักษณ์วัฒนธรรม และเป็นวิถีไทย


งานมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร ปี ๒๕๕๖ ปฏิบัติบูชาญาณสังวร ประเพณีแห่ผา้ ขึน้ ธาตุ เป็นประเพณีน�ำ ผ้าพระบฏห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ นับเป็นประเพณี ที่เกิดขึ้นและสืบเนื่องมากว่า ๘๐๐ ปี มีเพียงหนึ่งเดียวในประเทศไทย ถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมมหา กุศลทีช่ าวพุทธพึงได้รบั สักครัง้ หนึง่ ในชีวติ ถือว่าเป็นวันทีร่ ะลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า ชาวเมืองจึงได้พร้อมใจกันนำ�ผ้าแถบสีขาว เขียนภาพพระพุทธเจ้าหรือพุทธประวัติเรียก ว่า “ผ้าพระบฏ” และผ้ายาวสีเหลืองและสีแดง ขึ้นห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ในวันเพ็ญเดือนสาม เป็นประจำ�ทุกปี ถือกันว่าเป็นการบูชาพระพุทธองค์อย่างใกล้ชิด และในอดีตชาวนครศรีธรรมราช และพุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย ได้สบื สานและพัฒนางานประเพณีแห่ผา้ ขึน้ ธาตุเป็นลำ�ดับมา ปัจจุบนั มีเหตุปัจจัยอันควรยกระดับสู่นานาชาติ ทั้งในฐานะที่ประเทศไทยได้รับการยอมรับให้เป็นศูนย์กลาง พระพุทธศาสนาโลก และในโอกาสทีจ่ งั หวัดเตรียมการเพือ่ เสนอวัดพระมหาธาตุฯ และองค์พระบรม ธาตุเจดีย์เป็นมรดกโลก ประกอบกับปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ เป็นวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ๒ พระชันษา แห่งสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ชาวนครศรีธรรมราชจึงได้ จัดงานนี้ให้เป็นงานระดับนานาชาติเพื่อรองรับสถานะทั้งสาม ในระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และสวนศรีธรรมาโศกราช อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

บุญกวนข้าวมธุปายาสยาคู ๑๒ กระทะ ๑๒ ราศี/นักษัตร ร่วมถือศีล และประพฤติพรหมจรรย์แล้วทำ�บุญสิ่งของ และกำ�ลังกวนข้าวมธุปายาสยาคู อันเป็นเสมือนอาหารทิพย์ที่พระพุทธองค์ทรงเสวยก่อนการบรรลุธรรม พลาดไม่ได้กับพิธีกวนข้าว มธุปายาสยาคู ๑๒ กระทะ ๑๒ ราศี/นักษัตรตามปีเกิด เมื่อกวนจนสุกสมบูรณ์แล้วแบ่งนำ�ไป ถวายพระ พร้อมกับแบ่งกันกิน พร้อมกับนำ�กลับไปฝากกัลยาณมิตรเป็นของทิพย์ควรค่า

บุญสมโภชผ้าพระบฏบูชาพระบรมธาตุ ร่วมทำ�บุญสร้างทำ�ผ้าพระบฏรูปแบบ และขนาดต่าง ๆ ตามกำ�ลัง และศรัทธา แล้วนำ�ไป ร่วมพิธีสวดสมโภช และมหรสพเฉลิมฉลองอย่างครั้งพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชเมื่อกว่า ๘๐๐ ปีก่อน ณ เบื้องหน้าอนุสาวรีย์พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เมืองนคร


บุญแห่ผ้าขึ้นธาตุ ร่วมขบวนแห่ผ้าอันศักดิ์สิทธิ์ของผู้คนนับหมื่นแสนที่สืบทอดมาร่วม ๘๐๐ ปี ชมขบวนแห่ผ้า พระบฏพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี จากอำ�เภอปากพนัง ตลอด ถึงขบวนแห่ผ้าพิธีหลวง วันมาฆบูชา จากสนามหน้าเมืองเข้าประตูเมืองนครไปตามถนนราชดำ�เนิน จนถึงลานพระบรมธาตุเจดียน์ ครศรีธรรมราช แล้วทำ�พิธถี วายพร้อมกัน ในวันที่ ๒๕ กุมพาพันธ์ ๒๕๕๖

บุญเวียนเทียนมาฆบูชา ร่วมสวดมนต์ภาวนาและเวียนเทียนบูชาและระลึกถึงคุณแห่งพระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เนื่องในวันมาฆบูชา เวียนเทียนรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ สามารถทำ�ได้ ๕ แบบ คือ การเวียนบูชาบนลานประทักษิณ การเวียนรอบฐานในวิหารทับเกษตร การเวียนตามพระเจดียร์ าย การ เวียนในพระวิหารคด และการเวียนรอบนอกพระวิหารคด

ผ้าพระบฏ : เครื่องพุทธบูชาของชาวพุทธทั่วโลก ผ้าพระบฏ เป็นหนึง่ ในเครือ่ งบูชาพระพุทธเจ้าของชาวพุทธทัว่ ทัง้ โลกมาเนิน่ นาน ตัง้ แต่สมัย พุทธกาลในอินเดียทีม่ ตี ำ�นานการเขียนภาพว่าพระเจ้าอชาตศัตรูทลู ขอพระพุทธฉายจากพระพุทธเจ้า เพื่อสักการะบูชาแทนพระองค์ และพระพุทธองค์ได้ประทานพระพุทธฉายประทับบนผืนผ้าผืนหนึ่ง พร้อมการระบายด้วยสีตา่ ง ๆ ให้ จนสืบต่อการทำ�ภาพบนผืนผ้าอย่างกว้างขวางถึงประเทศทิเบต จีน ญีป่ นุ่ และเกาหลี ทีย่ งั นิยมการเขียนภาพพระพุทธเจ้า และอืน่ ๆ บนผืนผ้า เฉพาะในทิเบตทุกวันนี้ ผ้าพระบฏ ทีเ่ รียกว่า ถังกา (Thangkha) ได้แพร่หลายไปทัว่ ทัง้ โลก โดยเฉพาะภาพกาลจักร หรือ Wheel of Life หรือ ปฏิจจสมุปบาท แสดงถึงพระธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้ และสั่งสอน

ภาพผ้าพระบฏถังกากาลจักร หรือ Wheel of Life แบบทิเบต-เนปาล


โดยทีผ่ า้ พระบฏนัน้ เล่ากันว่า พญาศรีธรรมโศกราช ผูค้ รองเมืองนครศรีธรรมราชในขณะนัน้ ให้น�ำ ขึน้ ห่มสมโภชองค์พระบรมธาตุเจดียน์ ครศรีธรรมราช จนกลายเป็นประเพณีแห่ผา้ ขึน้ ห่มพระบรมธาตุ เมืองนครสืบมาจนถึงปัจจุบัน สำ�หรับในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย พบหลักฐานการทำ�และบูชาผ้าพระบฏอยู่ทั่วไปใน หลากหลายรูปแบบ ชื่อเรียก รวมถึงประเพณีพิธีที่เกี่ยวเนื่อง ได้แก่ ผ้าพระบฏในงานบุญเทศน์ มหาชาติ ที่นิยมทำ�เป็นผ้าพระบฏแสดงภาพในพระเวสสันดรชาดก ทั้ง ๑๓ กัณฑ์, ผ้าผะเหวด ใน งานบุญผะเหวด หรือ พระเวส หรือ เทศน์มหาชาติของภาคอีสาน และตุงพระบฏล้านนาที่มีความ หลากหลายมากที่สุด ซึ่งโดยรวมแล้วถือเป็นเครื่องพุทธบูชา สร้างกุศลให้ตนเอง ตลอดจนอุทิศ ส่วนกุศลแด่ผอู้ นื่ รวมทัง้ ประกอบในการสือ่ สารธรรมะ การเฉลิมฉลอง และพิธกี รรมต่าง ๆ จนถึง ขัน้ สูงสุดคือความมุง่ หมายได้บรรลุถงึ ซึง่ นิพพานหรือได้พบพระศรีอาริยเมตไตรย ดังทีม่ กั นิยมเขียน กำ�กับไว้ว่า “...นิพานปัจโยโหตุ ขอให้พบพระอาริยเมตรัย, ...ขอให้สำ�เร็จนิพพานเทอญ,...ขอให้เข้า นิพพานพระปัจโยโหตุ...”

ประเพณีบูชาผ้าพระบฏห่มองค์พระบรมธาตุ : หนึ่งเดียวที่เมืองนครสู่ระดับนานาชาติ จากตำ�นานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชทีส่ บื สานมาเป็นหนึง่ ในพิธแี ละประเพณีสำ�คัญของ ชาวพุทธทัว่ ทัง้ ด้ามแหลมทองมาช้านาน กระทัง่ ถือกันว่า สักครัง้ หนึง่ ในชีวติ ขอให้ได้มโี อกาสห่มผ้า บูชาพระบรมธาตุเมืองนคร โดยเฉพาะในโอกาสมาฆบูชาที่ถือกันว่าเป็นโอกาสอันเป็นมงคล และ มหากุศลยิง่ มีพทุ ธศาสนิกชนทุกชาติภาษาหลัง่ ไหลกันมาแห่ผา้ บูชาพระบรมธาตุอย่างเนืองแน่นใน ทุกปีนั้น โดยในปี ๒๕๕๖ นี้ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ชมรมรักษ์บ้านเกิด หอจดหมายเหตุ พุทธทาสอินทปัญโญ และทุกภาคส่วนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ร่วมกันจัดงานสำ�คัญประจำ�ปี เพือ่ แห่แหนผ้าพระบฏของพุทธศาสนิกทัง้ ในระดับชุมชนท้องถิน่ เมืองนครขึน้ มาอีกครัง้ จนถึงของทัว่ ทุกภูมภิ าค และจากนานาชาติ


แบบผ้าพระบฏบูชา ตามนิยามความหมาย ผ้าพระบฏของไทย หมายถึงผ้าผืนสีเ่ หลี่ยมขนาดยาว หรือขนาดย่อม ที่เขียนภาพพระพุทธเจ้า พุทธประวัติ หรือทศชาติชาดก ตลอดจนข้อคติธรรมคำ�สอน สำ�หรับ ห้อยแขวนเป็นพุทธบูชา มีขนาดแตกต่างตามคติ และความนิยม โดยนิยมเขียนเป็นภาพพระพุทธเจ้า พระองค์เดียวหรือขนาบด้วยพระอัครสาวก, เล่าเรือ่ งพุทธประวัติ จนกระทัง่ เรือ่ งราวอืน่ ๆ เช่น พระมาลัย ชาดกทศชาติ พระเวสสันดรชาดก พระเจดียจ์ ฬุ ามณี และข้อคติธรรมต่าง ๆ เพือ่ การสักการะ ประดับ ตกแต่ง และประกอบการถ่ายทอดสอนสั่ง เผยแผ่พระศาสนาจนกระทั่งเป็นการสืบทอด และอุทิศ ส่วนกุศลสร้างผลบุญ ซึ่งพบมีหลักฐานการทำ�ในประเทศไทยตั้งแต่ครั้งแผ่นดินกรุงสุโขทัยจนตลอด สมัยอยุธยา และรัตนโกสินทร์นั้น ปัจจุบันลดถอยบทบาทลง ดังเช่นในภาคเหนือ ที่กำ�ลังกลายเป็น เพียงเครื่องประดับตกแต่ง และบูชาในฐานะธง-ตุงแบบต่าง ๆ ขณะที่ในภูมิภาคอื่นก็เหลืออยู่เพียง ในบางประเพณีพธิ กี รรมเท่านัน้ เช่นงานบุญผะเหวด หนึง่ ในฮีตสิบสองของภาคอีสาน งานบุญเทศน์ มหาชาติของภาคกลาง รวมถึงงานบุญแห่ผ้าขึ้นธาตุของเมืองนครศรีธรรมราชทีภ่ าคใต้


การบูชาด้วยผ้าพระบฏ การสร้างทำ� ห้อยแขวน และห่มผ้าพระบฏบูชาพระบรมธาตุเจดีย์เนื่องในวันมาฆบูชา นอกจากจะเป็นโอกาสพิเศษ ๒ ประการ คือ ๑) เป็นการบูชา ณ พระมหาเจดีย์ ที่ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาแต่โบราณ ๒) เนื่องในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ที่ พระพุทธองค์ทรงแสดงพระธรรมครั้งสำ�คัญคือ โอวาทปาฏิโมกข์ ซึ่งเป็นหลักใหญ่ใจความในชั้น อุดมการณ์และข้อปฏิบัติของชาวพุทธแล้ว ยังควรปฏิบัติบูชาด้วยการสร้างทำ�และนำ�กลับไปห้อย แขวนบูชา ณ เคหสถานบ้านเรือนในตำ�แหน่งอันเหมาะสม ให้ยิ่งกว่าอามิสบูชา ใช้เป็นเครื่องเตือน หรือทีต่ งั้ แห่งสติและปัญญาให้มนั่ ระลึกและน้อมนำ�หลักธรรมคำ�สอนของพระศาสนามาถือปฏิบตั ิ ในชีวิตอย่างเนืองนิตย์ ก็จะช่วยให้เป็นการปฏิบัติบูชาดังที่พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญว่ายิ่งกว่า อามิสบูชา ผู้ปฏิบัติเท่านั้นที่จะเห็นได้ และรับผลได้ด้วยตนเอง

โอวาทปาฏิโมกขคาถา สพฺพปาปสฺส อกรณํ, กุสลสฺสูปสมฺปทา, สจิตฺตปริโยทปนํ, การไม่ทำ�บาปทั้งปวง; การทำ�กุศลให้ถึงพร้อม; การชำ�ระจิตของตนให้ขาวรอบ; เอตํ พุทธานสาสนํ. ธรรม ๓ อย่างนี้ เป็นคำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา, นิพพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทธา, ขันตี คือความอดกลั้น เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง; ผู้รู้ทั้งหลาย กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง; น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี, สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต. ผู้กำ�จัดสัตว์อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าบรรพชิตเลย; ผู้ทำ�สัตว์อื่นให้ลำ�บากอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย. อนูปวาโท อนูปฆาโต, ปาติโมกเข จ สํวโร, มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ, ปนฺตญฺจ สยนาสนํ, อธิจิตฺเต จ อาโยโค, เอตํ พุทธานสาสนํ. การไม่พูดร้าย, การไม่ทำ�ร้าย; การสำ�รวมในปาฏิโมกข์; ความเป็นผู้ประมาณในการบริโภค; การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด; ความหมั่นประกอบในการทำ�จิตให้ยิ่ง; ธรรม ๖ อย่างนี้ เป็นคำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.


ผ้าพระบฏมาฆบูชา แห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติ ที่เมืองนคร ๒๕๕๖ มีหลากหลายรูปแบบให้ร่วมสร้าง ทำ�และน้อมนำ�กลับไปเป็นเครือ่ งประกอบการปฏิบตั บิ ชู า ณ เคหสถาน เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ได้สนับสนุนส่งเสริมกลุม่ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนให้คดิ ประดิษฐ์ และผลิตทัง้ แบบผ้าพระบฏผืนผ้า, ผ้าพระบฏ ผืนยาว, ผ้าพระบฏตุง และผ้าพระบฏธงราว โดยถือแนวสีผ้าดั้งเดิมอย่างแต่ก่อนคือ ขาว เหลือง และแดง เขียนหรือพิมพ์ด้วยภาพอันชวนบูชาหลากหลายแบบพร้อมคาถาข้อธรรมกำ�กับไว้เป็น เครือ่ งช่วยความจำ�เพือ่ นำ�ไปเป็นหลักปฏิบตั ิ และมีภาพปีนกั ษัตรประจำ�ผืนเพือ่ ความสอดคล้องต่อปี เกิดของผู้บูชา และการเป็นเมืองสิบสองนักษัตรมาแต่เดิมของนครศรีธรรมราช บัญชา พงษ์พานิช หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

ประเพณีกวนข้าวมธุปายาสยาคู : หนึ่งในกิจกรรมที่สำ�คัญของงานมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร ข้าวมธุปายาสยาคู (ข้าวทิพย์ ข้าวกระยาทิพย์ ข้าวยาคู) เป็นชื่อของอาหารชนิดหนึ่ง ในสมัยก่อน ชาวภาคใต้นิยมทำ�กันที่วัดทุกปี ในเดือน ๖ บ้าง เดือน ๑๐ บ้าง โดยถือเอาระยะที่ ข้าวแตกรวงผลิเมล็ดพอเป็นน้ำ�นม แต่ภายหลังหันมานิยม ทำ�กันในวันขึ้น ๑๓ ค่ำ� และ ๑๔ ค่ำ� เดือน ๓ ต่อเนือ่ งกับวันมาฆบูชา แต่เดิมการกวนมธุปายาสยาคูเป็นศาสนกิจของพราหมณ์ ภายหลัง พุทธศาสนิกชนได้น�ำ มาปฏิบตั เิ ป็นประเพณีดว้ ยสืบเนือ่ งจากความเชือ่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพุทธประวัติ ตอน นางสุ ช าดาถวายข้ า วมธุ ป ายาสยาคู เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า เสวยแล้ ว ก็ ท รงบรรลุ อ ภิ สั มโพธิ ญ าณ พุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราชมีความเชื่อว่า ข้าวยาคูเป็นอาหารทิพย์ ผู้ได้รับประทานจะมี สมองดีเกิดปัญญา มีอายุยนื ยาวพลานามัยสมบูรณ์ ผิวพรรณผ่องใส และเป็นยาขนานเอกทีส่ ามารถ ขจัดโรคร้ายได้ทุกชนิด ทั้งยังบันดาลความสำ�เร็จสมความปรารถนาในสิ่งที่คิดด้วย


กวนข้าวมธุปายาสยาคู ๑๒ กระทะ ๑๒ ราศี/นักษัตร แต่ละปีนักษัตร/ราศี ใส่วัตถุดิบพิเศษอะไรเป็นองค์ประกอบ

๑. ปีชวด ใช้ กล้วย และใบกล้วย โดยใช้ เนื้อกล้วยผสมกวนในกระทะ และ ใช้ใบตองผสมเป็นฟืน หรือใช้รองหลังจากกวนข้าวฯ เสร็จ ๒. ปีฉลู ใช้ เนื้อลูกตาล หรือน้ำ�ตาลสด โดยใช้ เนื้อลูกตาล หรือน้ำ�ตาลสด ปรุงผสมกวนในกระทะ ๓. ปีขาล ใช้ เนื้อขนุน หรือเม็ดขนุน และไม้ขนุน โดยใช้เนื้อขนุน หรือเม็ด ขนุน (ต้นสุก) กวนผสมในกระทะ และใช้ไม้ขนุนเป็นฟืน ๔. ปีเถาะ ใช้ เนื้อมะพร้าว หรือน้ำ�มะพร้าว และไม้มะพร้าว โดยใช้เนื้อ มะพร้าว หรือน้ำ�มะพร้าว กวนผสมในกระทะ และใช้ไม้มะพร้าวเป็นฟืน ๕. ปีมะโรง ใช้ เยื่อไผ่ และไม้ไผ่ โดยใช้เยื่อไผ่ กวนผสมในกระทะ และใช้ ไม้ไผ่เป็นฟืน ๖. ปีมะเส็ง ใช้ ใบโพธิ์ (ใช้รองหลังจากกวนข้าวเสร็จ) ๗. ปีมะเมีย ใช้ กล้วย และใบกล้วย โดยใช้เนื้อกล้วยผสมกวนในกระทะ และใช้ใบตองผสมเป็นฟืน หรือใช้รองหลังจากกวนข้าวฯ เสร็จ ๘. ปีมะแม ใช้ เยื่อไผ่ และไม้ไผ่ โดยใช้เยื่อไผ่ กวนผสมในกระทะ และใช้ ไม้ไผ่เป็นฟืน ๙. ปีวอก ใช้ เนื้อขนุน หรือเม็ดขนุน และไม้ขนุน โดยใช้เนื้อขนุน หรือเม็ด ขนุน (ต้นสุก) กวนผสมกวนในกระทะ และใช้ไม้ขนุนเป็นฟืน ๑๐. ปีระกา ใช้ ไม้ต้นฝ้ายเป็นฝืน ๑๑. ปีจอ ใช้ เกสรดอกบัวหลวง และใบบัวหลวง โดยใช้เกสรดอกบัวหลวงผสม กวนในกระทะ และใช้ใบบัวหลวง รองหลังจากกวนข้าวฯ เสร็จ ๑๒. ปีกุน ใช้ เกสรดอกบัวหลวง และใบบัวหลวง โดยใช้เกสรดอกบัวหลวง ผสมกวนในกระทะ และใช้ใบบัวหลวง รองหลังจากกวนข้าวฯ เสร็จ อาจารย์คฑา ชินบัญชร


กำ�หนดการ

มาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนคร ปี ๒๕๕๖ ปฏิบัติบูชาญาณสังวร ๒๑ - ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

วันเวลา กิจกรรม สถานที่ วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๑๐.๐๐ น. พิธีเปิดกิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ วัดพระมหาธาตุฯ/วัดสระเรียง/ วัดบุญนารอบ ๑๐.๐๐ น. การสวดด้าน ณ วัดพระมหาธาตุฯ ๑๗.๐๐ น. พิธีเปิดนิทรรศการผ้าพระบฏ/ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ตลาดนัดโบราณ ๑๙.๐๐ น. การแสดงธรรม (สองธรรมาสน์) ณ วัดสระเรียง ๑๙.๐๐ น. การแสดงแสงเสียงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช วันศุกร์ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๑๐.๐๐ น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ วัดพระมหาธาตุฯ/วัดสระเรียง/ วัดบุญนารอบ ๑๐.๐๐ น. การสวดด้าน ณ วัดพระมหาธาตุฯ ๑๓.๐๐ น. การเขียนผ้าพระบฏ ณ โรงเรียนปากพนัง ๑๗.๐๐ น. กิจกรรมตลาดนัดโบราณ/ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช นิทรรศการผ้าพระบฏ ๑๗.๐๐ น. ลานคนลานธรรม ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๑๙.๐๐ น. การแสดงแสงเสียงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๑๙.๐๐ น. การสวดมนต์/ทำ�วัตรเย็น/ฟังธรรม ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง นำ�ภาวนา วัดพระมหาธาตุฯ ๒๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ ๑) ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ๒๑.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ ๒) ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ


วันเวลา กิจกรรม วันเสาร์ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๐๔.๐๐ น. พิธใี ห้ทานไฟ ๑๐.๐๐ น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ๑๐.๐๐ น. การสวดด้าน ๑๗.๐๐ น. กิจกรรมตลาดนัดโบราณ/ นิทรรศการผ้าพระบฏ ๑๗.๐๐ น. พิธีกวนข้าวมธุปายาส

สถานที่ ณ ลานวัดพระมหาธาตุฯ ณ วัดพระมหาธาตุฯ/วัดสระเรียง/ วัดบุญนารอบ ณ วัดพระมหาธาตุฯ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช

ณ วัดพระมหาธาตุฯ/วัดศาลามีชัย/ วัดสวนป่าน ๑๗.๐๐ น. พิธีกวนข้าวมธุปายาส ๑๒ ราศี ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๑๘.๐๐ น. พิธีสมโภชผ้าพระบฏนานาชาติ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๑๙.๐๐ น. พิธีสมโภชผ้าพระบฏพระราชทาน ณ โรงเรียนปากพนัง ๑๙.๐๐ น. การแสดงแสงเสียงและนาฏศิลป์ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๑๙.๐๐ น. ดนตรีธรรมะ (วงจีวัน) ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ๑๙.๓๐ น. สวดมนต์/ทำ�วัตรเย็น/ฟังธรรม ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ๒๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ ๑) ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ๒๐.๐๐ น. ดนตรีธรรมะ (วงจีวัน) ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๒๐.๓๐ น. การแสดงหุ่นกระบอกไทย (เรื่องศีลห้า) ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๒๑.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ ๒) ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ วันอาทิตย์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๐๖.๐๐ น. พิธีตักบาตรวันมาฆบูชา (๑,๒๕๐ รูป) ณ ถนนราชดำ�เนิน (หน้าวัดพระมหาธาตุฯ) ๑๐.๐๐ น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ณ วัดพระมหาธาตุฯ/วัดสระเรียง/ วัดบุญนารอบ ๑๖.๐๐ น. พิธรี บั ผ้าพระบฏพระราชทานจากปากพนัง ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ๑๗.๐๐ น. กิจกรรมตลาดนัดโบราณ/ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช นิทรรศการผ้าพระบฏ


วันเวลา กิจกรรม วันอาทิตย์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๑๗.๐๐ น. พิธีพุทธาภิเษกและสมโภช - ผ้าพระบฏพระราชทาน - ผ้าพระบฏนานาชาติ - ผ้าพระบฏจากหน่วยงานและเอกชน ๑๘.๓๐ น. การแจกจ่ายข้าวมธุปายาส ๑๙.๐๐ น. การแสดงแสงเสียงและนาฏศิลป์ ๑๙.๐๐ น. ดนตรีอคูสติก (วงภูมิจิต) ๑๙.๓๐ น. การสวดมนต์/ทำ�วัตรเย็น/ฟังธรรม ๒๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ ๑) ๒๐.๐๐ น. ดนตรีธรรมะ (วงภูมิจิต) ๒๐.๓๐ น. การแสดงหุ่นกระบอก (เรื่องการอยู่ร่วมกัน - การช่วยเหลือ กันในสังคม) ๒๑.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงธรรม (กัณฑ์ที่ ๒) วันจันทร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๐๖.๐๐ น. พิธีตกั บาตร ๑๐.๐๐ น. กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา ๑๔.๐๐ น. ลงทะเบียนขบวนแห่ผ้าพระบฏ ๑๕.๐๐ น. พิธีเปิดงานและปล่อยขบวนแห่ ผ้าพระบฏ ๑๗.๐๐ น. พิธีถวายผ้าพระบฏเป็นพุทธบูชา ๑๘.๐๐ น. พิธีเวียนเทียน ๑๙.๐๐ น. เสร็จพิธี

สถานที่ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช

ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ณ ลานทรายหน้าพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุฯ ถนนราชดำ�เนิน (หน้าวัดพระมหาธาตุฯ) ณ วัดพระมหาธาตุฯ/วัดสระเรียง/ วัดบุญนารอบ ณ ศาลาประดู่หก ณ ศาลาประดู่หก ณ วัดพระมหาธาตุฯ ณ วัดพระมหาธาตุฯ


Nakhon Si Thammarat’s International Magha Puja Festival 2013

Nakhon Si Thammarat has been regarded as a land of variety and holiness where Phra Thart Chedi resembling a heart center of Buddhists. It is a Route of Happiness to experience the power of faith and to touch happiness. Even once in a life time of a Buddhist that have any opportunity to pay worship to Phra Borommathart Chedi would be a great auspiciousness to life as it is regarded as being close to the Buddha that there is a saying that all single sand on that land had been stepped on by pilgrims till the Buddhists believed to be able to pay worship to Phra Thart Chedi of Nakhon Si Thammarat even only once in a life time within an intention to abstain all sin and to concentrate on doing goodness. It is counted that the people of Nakhon Si Thammarat grow up under the the shade of arts which mixed with the sacred Kingdom of Ligor as shown in the Travel Route of Ligor that provides a travel to 5 religions 5 culture only on one road. Moreover, many more attractions which were guaranteed by some 15 Thailand Tourism Awards are available. It is one of many best-air cities of Thailand and it is a city of learning and educational trip too. Above all, unique cultures of Nakhon Si Thammarat signifies its spirit and life that origin itself to be as a development center of Buddhism Destination to become a Buddhist Pilgrim destination at Phra Borommathart Chedi on the golden peninsular where is of good relationship with other countries around Indai Ocean and Bengal Bay at the similar level with the 3 world class pilgrim destinations that are Holy Places of Buddhism in India, Anuradhapura and Polonnaruwa of Sri Lanka, and Shwedagan Pagoda of Myanmar. With the power of faith and the belief in Buddhism power as well as its famous culture of procession of cloth to wrap the Chedi which has been inherited since some 800 years


ago that has been performed in accordance with the Buddha’s instructions and it became a Buddhism Tourism and Cultural Tourism that lead to proper development from tradition to learning tourism and it would produce the pride in Thai unique culture and Thai folk way. Nakhon Si Thammarat International Magha Puja Festival 2013

“Hae Pha Khuen Thart” has been a tradition of taking Phra Bata Cloth to wrap around the chedi with Buddha’s relics, Phra Borommathart Chedi, for over 800 years. It is a unique tradition in Thailand and is regarded as a great Buddhist virtue that should practice at least once in a life time. It is the day to appreciate the divine grace and goodness of the Lord Buddha, so the people altogether write the image and history of Lord Buddha on strip white cloth which is called “Phra Bata Cloth” (or Phra Bot Cloth) as well as long yellow and red clothes to cover around the Chedi on the fullmoon day of the third Thai Lunar Month annually. The tradition has been regarded as a close worshipping to Lord Buddha. The people of Nakhon Si Thammarat and Buddhists carry on and develop the annual event and raised up the event to international event regarding to the acceptance that Thailand is a world Buddhism Center. On the occasion that Nakhon Si Thammarat Province prepared to propose Wat Phra Mahathart and Phra Borommathart Chedi as a World Heritage, as well as it is B.E. 2556 that is the 100th anniversary 2 years of Somdej Phra Sangkharat, the poeple of Nakhon Si Thammarat provided the tradition of this year in support to the 3 situations on 21st - 25th February 2013 at Wat Phra Mahathart Woraviharn and at Suan Si Thammasokkharat in Amphur Muang, Nakhon Si Thammarat. Mathupayasyaku Rice Stirring Function

Join in keeping a divine life and observing precepts then do a merit making by giving things and do stirring Mathupayasyaku Rice that resembles a divine food that the Buddha ate before his enlightenment. Never miss the function of Mathupayasyaku Rice Stirring of 12 pans in accordance to the 12 years of Chinese Zodiac.


Phra Bata Cloth Celebration in Worshipping to Phra Borommathart

Participate in a merit making by creating Phra Bata as desire and take it in the celebration chanting ceremony as it was in some 800 years ago during the reign of King Si Thammasokkarat. Cloth Wrapping to Phra Thart

Join in a procession of the holy cloth among ten thousands people and view the procession of Phra Bata from Princess Sirindhorn from Amphur Pak Phanang as well as the procession of Royal Cloth on the occation of Magha Puja Day from Sanam Na Muang through the Muang Nakhon Gate along Ratchadamnoen Road to Phra Borommathart Chedi Nakhon Si Thammarat on 25th Febuary 2013. Magha Puja Candlelit Procession

Join in the praying and candlelit procession in recalling of the Buddha, the Dharma, and Buddhist monk on the occasion of Magha Puja Day.

Schedule

International Makha Puja Hae Pha Khuen That Festival at Nakhon Si Thammarat 2013 21st - 25th February 2013 Date Activity st Thursday 21 February 2013 10:00 AM Buddhism promoting activities

Venue

Wat Phra Mahathart/Wat Sra Riang/Wat Boon Na Rob. 10:00 AM “Dan Prayer” (prayer in following to Wat Phra Mahathart. books) 5:00 PM Opening function of Phra Bata Cloth Si Thammasokkarat Park. Exhibition and Old-style market 7:00 PM Dharma presentation Wat Sra Riang.


Date Activity nd Friday 22 February 2013 7:00 PM Light and sound presentation and Thai dancing arts show 10:00 AM Buddhism promoting activities 10:00 AM Dan Prayer” (prayer in following to books) 1:00 PM Writing on Phra Bata cloth 5:00 PM Old-style market and Phra Bata Cloth Exhibition 5:00 PM Lan Khon Lan Dharma (human yard - Dharma yard) 7:00 PM Function of prayer/evening prayer/ listening to Dharma 8:00 PM

Dharma presentation (first chapter)

8:00 PM

Dharma presentation (second chapter)

Saturday 23rd February 2013 4:00 AM Hot food alms offering to monks 10:00 AM Buddhism promoting activities

Venue Si Thammasokkarat Park. Wat Phra Mahathart/Wat Sra Riang/Wat Boon Na Rob. Wat Phra Mahathart. Pakpanang School. Si Thammasokkarat Park. Si Thammasokkarat Park. Lan Sai in front Viharn Luang of Mahathart. Lan Sai in front Viharn Luang of Mahathart. Lan Sai in front Viharn Luang of Mahathart.

of Phra Wat Phra of Phra Wat Phra of Phra Wat Phra

Wat Phra Mahathart. Wat Phra Mahathart/ Wat Sra Riang/ Wat Boon Na Rob. 10:00 AM “Dan Prayer” (prayer in following to Wat Phra Mahathart. books) 5:00 PM Old-style market and Phra Bata Si Thammasokkarat Park. Cloth Exhibition 5:00 PM Mathupayas Rice stirring function Wat Phra Mahathart/Wat Sala Meechai/Wat Suan Pan. 5:00 PM 12 Zodiac Mathupayas Rice stirring Si Thammasokkarat Park. function 6:00 PM Function of celebrating to Si Thammasokkarat Park. international Phra Bata Cloth


Date Activity Venue rd Saturday 23 February 2013 7:00 PM Function of celebrating to Royal Phra Pakpanang School. Bata Cloth 7:00 PM Light and sound presentation and Si Thammasokkarat Park. Thai dancing art shows 7:00 PM Dharma music (G One Band) Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. 7:30 PM Function of prayer/evening prayer/ Lan Sai in front of Phra listening to Dharma Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. 8:00 PM Dharma presentation (first chapter) Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. 8:00 PM Dharma music (G One Band) Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. 8:30 PM Dharma presentation (second Lan Sai in front of Phra chapter) Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. th Sunday 24 February 2013 6:00 AM Alms offering on Magha Puja Day to Ratchadamnoen Rd. in front of 1,250 monks Wat Phra Mahathart. 10:00 AM Buddhism promoting activities Wat Phra Mahathart/Wat Sra Riang/Wat Boon Na Rob. 4:00 PM Function of receiving Royal Phra Si Thammasokkarat Park. Bata Cloth from Pakpanang 5:00 PM Old-style market and Phra Bata Si Thammasokkarat Park. Cloth exhibition 5:00 PM Ceremony of Buddhism incantation Si Thammasokkarat Park. and celebration - Royal Phra Bata Cloth. - Internatona Phra Bata Clothes. - Phra Bata Clothes from government and private sectors.


Date Activity th Sunday 24 February 2013 6:30 PM Distribution Mathupayas Rice 7:00 PM Light and sound presentation and Thai dancing art shows 7:00 PM Dharma music (Bhumijit Band) 7:30 PM

Function of prayer/evening prayer/ listening to Dharma

8:00 PM

Dharma presentation (first chapter)

8:00 PM

Dharma music (Bhumijit Band)

8:30 PM

Venue Si Thammasokkarat Park. Si Thammasokkarat Park. Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. Lan Sai in front of Phra Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. Si Thammasokkarat Park.

Marionette show featuring “living together - helping in society� 9:00 PM Dharma presentation (second Lan Sai in front of Phra chapter) Viharn Luang of Wat Phra Mahathart. Monday 25th February 2013 6:00 AM Alms offering to monks Ratchadamoen Rd. in front of Wat Phra Mahathart. 10:00 AM Buddhism promoting activities Wat Phra Mahathart/ Wat Sra Riang/ Wat Boon Na Rob. 2:00 PM Registration of Phra Bata Cloth parade at Sala Pradu Hok. 3:00 PM Opening ceremony and release of Sala Pradu Hok. parade of Phra Bata Cloth 5:00 PM Ceremony of offering Phra Bata Wat Phra Mahathart. Cloth in dedication to Buddha Puja 6:00 PM Function of triple circumambulation Wat Phra Mahathart. 7:00 PM End of all functions.



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.