ระบบการเรียนการสอน

Page 1

1

ระบบการเรียนการสอน ระบบการเรียนการสอน คือ การจัดองคประกอบของการเรียนการสอนใหมคี วามสัมพันธกนั เพื่อ สะดวกตอการนําไปสูจดุ หมายปลายทางของการเรียนการสอนที่ไดกําหนดไว สวนที่สําคัญคือ ประกอบดวย ผูสอนและผูเรียน

ความสําคัญของระบบการเรียนการสอน เปนการจัดระบบการเรียนการสอนที่มีการวางแผนมาแลวใหตรงตามหลักสูตรของเนื้อหาวิชาและ สามารถยืดหยุนเนื้อหาหรือเพิ่มเติมเนื้อหาที่เราจะสอนไดตามความตองการของผูเรียนหรือเราจะสามารถวัด ไดจากการทดสอบวาผูเรียนเหมาะกับเนื้อหาแบบไหนเพื่อเราจะไดสอนเนือ้ หาที่มี จุดหมายที่เฉพาะเจาะจง ที่จะใหผูเรียนบรรลุผลสําเร็จอยางใดอยางหนึ่ง

องคประกอบของระบบการเรียนการสอน ระบบการเรียนการสอนประกอบดวยสวนยอยๆ ตาง ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวพันกันและกัน สวนที่ สําคัญคือ กระบวนการเรียนการสอน ผูสอนและผูเรียน ยูเนสโก ( UNESCO) ไดเสนอรูปแบบขององคประกอบของระบบการเรียนการสอนไว โดยมีองคประกอบ 6 สวน คือ 1. องคประกอบของการสอนจะประกอบดวย ผูสอน ผูเรียน สื่อ การเรียนการสอนวิธีสอนซึ่งทํางาน ประสานสัมพันธกัน 2. กิจกรรมการเรียนการสอน จะตองมีสื่อการเรียนการสอนและแหลงที่มาของสื่อการเรียนการสอนเหลานั้น 3. ผูสอนตองหาแนวทาง แนะนําชวยเหลือผูเรียนใหเกิดการเรียนรูที่ดีที่สุด 4. การเสริมกําลังใจ การจูงใจแกผูเรียน นับวามีอิทธิพลตอการที่จะเสริมสรางความสนใจ ใหการเรียนการ สอนมีคุณภาพ 5. การประเมินผล ผลที่ออกมาอยางมีประสิทธิภาพโดยการประเมินทั้งระบบ เพื่อดูวาผลที่ไดนั้นเปนอยางไร เปนการนําขอมูล ขอเท็จจริงมาเปรียบเทียบกับประสิทธิผลของระบบ เพื่อการแกไขปรับปรุงตอไป


2

6. ผลที่ไดรับทั้งประเมิน เพื่อประเมินผลในการปรับปรุงและเปรียบเทียบกับการลงทุนในทางการศึกษาวา เปนอยางไร

อาจารยบญ ุ ชม ศรีสะอาด ไดกลาวถึงองคประกอบของระบบการเรียนการสอน ไดแก ตัวปอน(Input) กระบวนการ (process) และผลิต (Output) ดังภาพ

ตัวปอน(Input) - ผูสอน

- ผูเรียน - หลักสูตร - สิ่งอํานวยความ สะดวก

กระบวนการ (process)

ผลิต (Output)

การดําเนินการสอน

ผลการเรียนรู

- การสรางพื้นฐาน

ใหผูเรียน - การเสริมความ

พรอมในการเรียน - ใชเทคนิคการสอน

ติดตามการประเมินผลและแกไขปรับปรุง

- ดานพุทธิพิสัย - ดานจิตพิสัย - ดานทักษะพิสัย


3

ตัวปอน( Input) คือ สวนประกอบตางๆ ที่นาํ เขาสูระบบไดแก ผูสอน ผูสอน ผูเรียน หลักสูตร สิ่งอํานวย ความสะดวก ผูสอน หรือครู เปนองคประกอบสําคัญทีจ่ ะทําใหการเรียนการสอนบรรลุผลตามวัตถุประสงค ซึ่งขึ้นอยูกับคุณลักษณะหลายประการไดแกคุณลักษณะดานพุทธิพิสัย เชน ความรู ความสามารถ ความรูจําแนกเปนความรูในเนื้อหาสาระที่สอน ความรูใ นเทคนิคการสอนตาง ความตั้งใจในการสอน ผูเรียน ผูเรียนเปนองคประกอบที่สําคัญทีส่ ุดในระบบการเรียนการสอนซึ่งจะบรรลุผลสําเร็จไดยอมขึ้นอยู กับคุณลักษณะของผูเรียนหลายประการ เชน ความถนัด ความรูพื้นฐานเดิม ความพรอมความสนใจและ ความพากเพียรในการเรียนทักษะในการเรียนรู หลักสูตร หลักสูตรเปนองคประกอบหลักทีจะทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

หลักสูตรประกอบดวยองคประกอบพื้นฐาน 4 ประการคือ - วัตถุประสงคการเรียนรู - เนื้อหาสาระที่เรียน - กิจกรรมการเรียนการสอน (รวมวิธีสอนและสื่อการเรียนการสอน) - การประเมินผล สิ่งอํานวยความสะดวก อาจเรียกอีกอยางวา "สิ่งแวดลอมการเรียน" เชน หองเรียน สถานทีเ่ รียน ซึ่ง ประกอบดวยโตะ เกาอี้ แสงสวาง


4

กระบวนการ ( Process) ในระบบการเรียนการสอนก็คือ การดําเนินการสอนซึ่งเปนการนําเอาตัวปอนเปนวัตถุดิบในระบบ มาดําเนินการเพื่อใหเกิดผลผลิตตามที่ตองการ ในการดําเนินการสอนอาจมีกิจกรรมตางๆ หลายกิจกรรม ไดแก การตรวจสอบและเสริมพื้นฐานการสรางความพรอมในการเรียน การใชเทคนิคการสอนตาง ๆและ อาจใชกจิ กรรมเสริมการตรวจสอบและเสริมพื้นฐาน เปนกิจกรรมที่ทําใหผูสอนรูจกั ผูเรียนและไดขอสนเทศ ที่นํามาใชชวยเหลือผูเรียนที่ยังขาดพื้นฐานที่จําเปนกอนเรียน เพื่อใหไดมีพนื้ ฐานที่พรอมที่จะเรียนโดยไมมี ปญหาใด ๆ การสรางความพรอมในการเรียน เมื่อเริ่มชั่วโมงเรียน โดยทัว่ ไปแลว จะมีผูเรียนที่ยังไมพรอมที่จะเรียน เชน พูดคุยกัน คิดถึงเรื่องอื่น ๆ ฯลฯ ถาผูสอนเริ่มบรรยายไปเรื่อยๆ อาจไมไดผลตามที่ตองการโดยเฉพาะในชวงตนชั่วโมงนั้นจึงควรดึง ความสนใจของผูเรียนใหเขาสูก ารเรียนโดยเร็ว ซึ่งทําไดหลายวิธี เชน ใชคําถาม ใชสื่อโสตทัศนูปกรณชวย เราความสนใจ หรือยกเรื่องที่เกี่ยวของมาเลาใหนักเรียนฟง ในการสรางความพรอมไมควรใชเวลามาก เกินไป นาจะใชเวลาไมเกิน 5 นาที และทําทุกครั้งที่สอน เมื่อพบวาผูเรียนยังไมพรอมผลผลิต ( Output )

ผลผลิต คือ ผลที่เกิดขึ้นในระบบซึ่งเปนเปาหมายปลายทางของระบบ สําหรับระบบการเรียนการสอน ผลผลิตที่ตองการก็คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียน ไปในทางที่พึงประสงค ตามทฤษฎีของ เบนจามิน บลูม -พุทธิพิสยั ( Cognitive) 1. ความรูค วามเขาใจ 2. การนําไปใช 3. การวิเคราะห 4. การสังเคราะห 5. การประเมินผล


5

-จิตพิสัย ( Affective) 1. ความชอบ 2. ความซาบซึ้ง 3. การเห็นคุณคา 4. รูจักลําดับของคุณคา 5. ประพฤติตามอุดมคติ -ทักษะพิสัย ( Psychomotor) 1. เลียนแบบได 2.การทําไดดวยตนเอง 3. ทําไดอยางแมนยํา 4. ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. ทํางานไดอยางอัตโนมัติ การติดตามผล ประเมินผล และปรับปรุง เพื่อใหการเรียนการสอนบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ ผูสอนจะตองพิจารณาองคประกอบตาง ๆ ทั้งหมดในระบบ โดยพิจารณาผลผลิตวาไดผลเปนไปดังทีม่ ุงหวังไวหรือไมมีจุดบกพรองในสวนใดทีจ่ ะตอง แกไข ปรับปรุงบาง


6

การออกแบบระบบการสอน (ISD: Instructional System Design) เปนการจัดการระบบการสอนอยางมีระบบ โดยอาศัยความรูเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรูก ารเรียนรูซึ่ง จะรวมองคประกอบและปจจัยตางๆเพื่อนนําไปสูการออกแบบระบบ แลวจึงทําการปรับปรุงแกไขจนใช ไดผล เปนการนําความสําเร็จของการเรียนรู ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว กระบวนการออกแบบการเรียน การสอน จะประกอบไปดวยหลักพื้นฐาน 4 สวน ดังตอไปนี้ 1. วัตถุประสงค เปนสวนทีก่ ําหนดวัตถุประสงคของการเรียนรูของผูเรียน 2. ผูเ รียน โดยจะพิจารณาจากคุณสมบัตขิ องผูเรียน เพื่อการออกแบบระบบการสอนใหเหมาะสม 3. วิธกี ารและกิจกรรม กําหนดวิธีการและกําหนดกิจกรรมในกระบวกการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ 4. การวัดและประเมินผล เปนการกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูข องผูเรียนใหสอดคลอง ตามวัตถุประสงค

หลักการออกแบบระบบการเรียนการสอนแบบ ADDIE model ADDIE MODEL เปนการออกแบบระบบการเรียนการสอน กลาวคือกระบวนการพัฒนาโปรแกรม การสอน จากจุดเริ่มตนจนถึงจุดสิ้นสุด มีแบบจําลองจํานวนมากมายที่นกั ออกแบบการสอนใช และสําหรับ ตามความประสงคทางการสอนตางๆ กระบวนการออกแบบการเรียนการสอนแบบ ADDIE สามารถสรุป เปนขั้นตอนทัว่ ไปไดเปน 5 ขั้น ประกอบไปดวย


7

1. ขั้นการวิเคราะห (Analysis) 2. ขั้นการออกแบบ (Design) 3. ขั้นการพัฒนา (Development) 4. ขั้นการนําไปใช (Implementation) 5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation)

ขั้นตอนการพัฒนา ADDIE model 1. ขั้นตอน การวิเคราะห (Analysis) เปนรากฐานสําหรับขัน้ ตอนการออกแบบการสอนขั้นตอนอื่นๆ ในระหวางขั้นตอนนี้ คุณจะตอง ระบุปญหา ระบุแหลงของปญหา และวินิจฉัยคําตอบที่ทําได ขั้นตอนนี้อาจประกอบดวยเทคนิคการวินจิ ฉัย เฉพาะ เชน การวิเคราะหความตองการ (ความจําเปน), การวิเคราะหงาน, การวิเคราะหภารกิจ ผลลัพธของ ขั้นตอนนี้มักประกอบดวย วิธีการแกปญหา และ รายการภารกิจที่จะสอน ประกอบดวยรายละเอียดแตละ สวน ดังนี้ - ใครคือกลุมเปาหมายและเขาตองมีคณ ุ ลักษณะอยางไร - ระบุพฤติกรรมใหมทคี่ าดหวังวาจะเกิดขึน้ กับผูเรียน - มีขอจํากัดในการเรียนรูที่มีอยูอะไรบาง - อะไรที่เปนทางเลือกสําหรับการเรียนรูที่มีอยูบาง - หลักการสอนที่พิจารณาเปนแบบไหน อยางไร - มีชวงเวลาการพัฒนาเปนอยางไร


8

2. การออกแบบ (Design Phase) ขั้นตอนการออกแบบประกอบดวย การสรางจุดประสงคการเรียนรู กําหนดเครื่องมือวัดประเมินผล แบบฝกหัด เนื้อหา วางแผนการสอน และเลือกสื่อการสอน ขั้นตอนการออกแบบควรจะทําอยางเปนระบบ และมีเฉพาะเจาะจง โดยความเปนระบบนีห้ มายถึงตรรกะ มีระเบียบแบบแผนของการจําแนก การพัฒนา และการประเมินแผนยุทธวิธีที่วางไวเพื่อใหบรรลุเปาหมาย สําหรับความเฉพาะเจาะจงหมายถึงแตละ องคประกอบของการออกแบบรูปแบบการสอนจะตองเอาใจใสทุกรายละเอียด ซึ่งมีขนั้ ตอนดังนี้ - จําแนกเอกสารของการออกแบบการสอนใหเปนหมวดหมู ทั้งดานเทคนิคยุทธวิธีในการออกแบบการสอน และสื่อ - กําหนดยุทธศาสตรการเรียนการสอนใหสอดคลองกับพฤติกรรมทีค่ าดหวังในแตละกลุม พุทธิพิสัย (Cognitive) จิตพิสัย (affective) ทักษะพิสัย (psychomotor) - สรางสตอรีบ่ อรด - สรางสื่อตนแบบ

3. ขั้นการพัฒนา (Development Phase) ขั้นตอนการพัฒนาคือขัน้ ที่ผูออกแบบสรางสวนตางๆ ที่ไดออกแบบไวในขั้นของการออกแบบซึ่ง ครอบคลุมการ สรางเครื่องมือวัดประเมินผล สรางแบบฝกหัด สรางเนื้อหา และการพัฒนาโปรแกรมสําหรับ สื่อการสอน เมื่อเรียบรอยทําการทดสอบเพื่อหาขอผิดพลาดเพื่อนําผลไปปรับปรุงแกไข


9

4. ขั้นการนําไปใช (Implementation Phase) ในขัน้ ตอนการดําเนินการนี้ หมายถึงขั้นของการสอนโดยอาจจะเปนรูปแบบชัน้ เรียน การฝกอบรม หรือหองทดลอง หรือรูปแบบการเรียนการสอนทีใ่ ชคอมพิวเตอร โดยจุดมุงหมายของขั้นตอนนี้คอื การสอน อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะตองใหการสงเสริมความเขาใจของผูเรียนสนับสนุนการเรียนรอบรู ของผูเรียนตามวัตถุประสงคตางๆที่ตั้งไว 5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation Phase) ขั้นการประเมินผลประกอบดวยสองสวนคือการประเมินผลรูปแบบยอย (Formative) และการ ประเมินผลในภาพรวม (Summative) การประเมินผลรูปแบบคือการนําเสนอในแตละขัน้ ของ ADDIE Process ซึ่งเปนการประเมินผลเพื่อพัฒนา และการประเมินผลในภาพรวมจะทําเมื่อการสอนเสร็จสิ้นเพื่อ ประเมินผลประสิทธิผลการสอนทั้งหมดขอมูลจากการประเมินผลรวมโดยปกติมกั จะถูกใชเพื่อการตัดสินใจ เกี่ยวกับรูปแบบการสอน

CIPPA MODEL

ไดพัฒนาขึ้นโดย ทิศนา แขมมณี รองศาสตราจารยประจําคณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนมีสวนรวมนั้น มิใชหมายความแตเพียงวาใหผูเรียนไดทํา กิจกรรมอะไรๆ ก็ไดที่ผูเรียนชอบ กิจกรรมที่ครูจัดใหผูเรียนจะตองเปนกิจกรรมที่นําไปสูก ารเรียนรูตาม จุดประสงคที่ตั้งไว และเปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทั้งทางดานรางกาย สติปญญา สังคม และ อารมณ จึงจะสามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี ดังนัน้ ครูที่จะสอนผูเรียนโดยยึดผูเ รียนเปนศูนยกลาง ในการเรียนการสอน


10

การจัดการเรียนการสอนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใช CIPPA Model สามารถชวยใหผูเรียนได มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูทั้งทางดานรางกาย สติปญ  ญา สังคม และอารมณ ดังนี้ C มาจากคําวา Construct ซึ่งหมายถึง การสรางความรูตามแนวคิดของปรัชญา กลาวคือ กิจกรรมการ เรียนรูที่ดี ควรเปนกิจกรรมที่ชว ยใหผูเรียนมีโอกาสสรางความรูดวยตนเอง ซึ่งจะทําใหผูเรียนมีความ เขาใจและเกิดการเรียนรูที่มคี วามหมายตอตนเอง การที่ผูเรียนมีโอกาสไดสรางความรูด ว ยตนเองนี้เปน กิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทาง สติปญ  ญา I มาจากคําวา Interaction ซึ่งหมายถึง การปฏิสัมพันธกับผูอื่นหรือสิ่งแวดลอมรอบตัวกิจกรรมการ เรียนรูที่ดี จะตองเปดโอกาสใหผูเรียนไดเคลื่อนไหวทางรางกาย โดยการทํากิจกรรมในลักษณะตางๆ P มาจากคําวา Physical Participation ซึ่งหมายถึง การมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูทางกาย คือ ผูเรียนมีโอกาสไดเคลื่อนไหวรางกาย โดยทํากิจกรรมในลักษณะตางๆ P มาจากคําวา Process Learning หมายถึง กระบวนการเรียนรูตางๆ กิจกรรมการเรียนรูที่ดคี วรเปด โอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูก ระบวนการตางๆ ซึ่งเปนทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวติ เชนกระบวนการ แสวงหาความรู กระบวนการคิด กระบวนการแกปญหา กระบวนการกลุม กระบวนการพัฒนาตนเอง เปนตน A มาจากคําวา Application หมายถึง การนําความรูที่ไดเรียนรูไปประยุกตใช ซึ่งจะชวยใหผเู รียน ไดรับประโยชนจากการเรียน และชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ เพื่อนําไปใชใน ชีวิตประจําวันตอไป


11

ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีลักษณะ ตามหลัก CIPPA MODEL 1. เปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมทางดานกาย (Physical Participation) คือ เปนกิจกรรมที่ ชวยใหผูเรียนไดมีโอกาสเคลื่อนไหวรางกาย เพื่อชวยใหประสาทการรับรูข องผูเรียนตืน่ ตัวพรอมทีจ่ ะ รับขอมูลและการเรียนรูต างๆ ที่จะเกิดขึ้น การรับรูเปนปจจัยสําคัญในการเรียนรู หากผูเรียนไมมีความ พรอมในการรับรู แมจะมีการใหความรูที่ดีๆ ผูเรียนก็ไมสามารถรับได ซึ่งจะเห็นไดจากเหตุการณที่ พบไดเสมอๆ เชน เมื่อผูเรียนนั่งนานๆอาจะหลับได จึงตองใหผูเรียนไดทํากิจกรรมเคลื่อนไหวรางกาย 2. เปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทางสติปญ  ญา (Intellectual Participation) คือเปนกิจกรรมที่ ชวยใหผูเรียนเกิดความเคลื่อนไหวทางสติปญ  ญาหรือพูดงายๆ วา เปนกิจกรรมที่ทาทายความคิดของ ผูเรียน ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดความจดจอในการคิด สนุกทีจ่ ะคิด 3. เปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทางสังคม (Social Participation) คือ เปนกิจกรรมที่ชวยให ผูเรียนมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับบุคคลหรือสิ่งแวดลอมรอบตัว เนื่องจากมนุษยเปนสัตวสังคม ที่อาศัย รวมกันอยูเปนหมูคณะ มนุษยโดยทัว่ ไปจะตองเรียนรูที่จะปรับตัวเขากับบริบทตางๆ การเปดโอกาส ใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับผูอื่น 4. เปนกิจกรรมที่ชวยใหผเู รียนมีสวนรวมทางอารมณ (Emotional Participation) คือ กิจกรรมที่สงผล ตออารมณความรูสกึ ของผูเรียน ซึ่งจะชวยใหการเรียนรูนนั้ เกิดความหมายตอตนเอง กิจกรรมที่สงผล ตอความรูสึกของผูเรียนนัน้ มักจะเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับชีวิต ประสบการณ และความเปนจริง ของผูเรียน จะตองเปนสิ่งที่เกีย่ วของกับตัวผูเรียนโดยตรงหรือใกลตัวผูเรียน


12

การเรียนการสอน ความหมายของการสอน การสอน เปนงานหลักของครู ซึ่งปจจุบนั ถือวาครูเปนวิชาชีพชั้นสูง ที่บุคคลในวิชาชีพนี้ ตองไดรับ การศึกษาอบรมมาโดยเฉพาะเพื่อใหมคี วามเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหนาที่ สามารถเลือกศึกษา อบรมมา โดยเฉพาะ เพื่อใหมคี วามเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหนาที่ สามารถเลือกวิธีปฏิบัติงานที่เหมาะสม เพื่อชวยให นักเรียนมีความรู ทักษะ และเจตคติ ตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ครูตองมีการฝกฝนดานการสอนอยูเสมอ เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการทํางานเชนเดียวกับวิชาชีพชั้นสูงอื่นๆ และตองมีมาตรฐานของวิชาชีพ การที่ครูสามารถปฏิบัติงานการสอนไดดีขนึ้ อยูกับความสามารถในการผสมผสานศาสตรวาดวยการสอนกับ ศิลปะของการสอนเขาดวยกันเพื่อใหเกิดประสิทธิผลของการสอนสูงสุด วิธีสอน วิธีสอน คือ ขั้นตอนที่ผูสอนดําเนินการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคดว ยวิธกี ารตางๆ ที่ แตกตางกันไปตามองคประกอบและขั้นตอนสําคัญอันเปนลักษณะเดนหรือลักษณะเฉพาะที่ขาดไมไดของ วิธีนั้นๆ เชน วิธีสอนโดยใชการบรรยาย องคประกอบสําคัญของการบรรยาย คือ เนื้อหาสาระที่จะบรรยาย และการบรรยาย และขัน้ ตอนสําคัญคือ การเตรียมเนื้อหาสาระ การบรรยาย (พูด บอก เลา อธิบาย) และการ ประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่เกิดจากการบรรยาย ดังนั้นวิธีสอนโดยใชการบรรยาย ก็คือกระบวนการ หรือขั้นตอนที่ผูสอนใชในการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูต ามวัตถุประสงคทกี่ ําหนด โดยการเตรียมเนื้อหา สาระที่จะบรรยาย แลวบรรยาย คือ พูด บอก เลา อธิบาย เนื้อหาสาระหรือสิ่งที่ตองการสอนแกผูเรียนและ ประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง เทคนิคการสอน เทคนิค คือ กลวิธีตางๆ ที่ใชเสริมกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทําใดๆ เพื่อชวยให กระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทํานั้นๆ มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น เทคนิคการ สอน จึงหมายถึง กลวิธีตางๆ ที่ใชเสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน วิธีการสอน หรือการดําเนินการ ทางการสอนใดๆ เพื่อชวยใหการสอนมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึน้ เชน ในการบรรยาย ผูสอนอาจใช เทคนิคตางๆ ที่สามารถชวยใหการบรรยายมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึน้ เชน การยกตัวอยาง การใช สื่อ การใชคําถาม เปนตน


13

ทักษะการสอน ทักษะการสอน คือ ความสามารถในการปฏิบัตกิ ารสอนดานตางๆ อยางชํานาญซึ่งครอบคลุมการวาง แผนการเรียนการสอน การออกแบบการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน การใชวิธีสอน เทคนิคการ สอน รูปแบบการเรียนการสอน ระบบการสอน สื่อการสอนการประเมินผลการเรียนการสอน รวมทั้งการใช ทฤษฎีและหลักการเรียนรูและการสอนตางๆ

การเรียนการสอนที่ดี แนวคิดของ Howard Gardner และการวิจัยของ Dale Edgar ไดใหลกั ษณะการสอนที่ดีมาดั้งนี้ 1. ตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 2. เนนความตองการของผูเ รียนเปนหลัก 3. ตองพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูเรียน 4. ตองเปนทีน่ าสนใจ ไมทําใหผเู รียนรูสึกเบือ่ หนาย 5. ตองดําเนินไปดวยความเมตตากรุณาตอผูเรียน 6. ตองทาทายใหผูเรียนอยากเรียนรู 7. ตองตระหนักถึงเวลาที่เหมาะสมที่ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู 8. ตองสรางสถานการณใหผเู รียนไดเรียนรู โดยการปฏิบตั ิจริง 9. ตองสนับสนุนและสงเสริมการเรียนรู 10. ตองมีจุดมุง หมายของการสอน 11. ตองสามารถเขาใจผูเรียน 12. ตองคํานึงถึงภูมิหลังของผูเรียน 13. ตองไมยดึ วิธีการใดวิธีการหนึ่งเทานั้น 14. การเรียนการสอนที่ดีเปนพลวัตร (Dynamic) กลาวคือ มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งในดานการจัดกิจกรรม การสรางบรรยากาศ รูปแบบ เนือ้ หา สาระ เทคนิค วิธี ฯลฯ 15. ตองสอนในสิ่งที่ไมไกลตัวผูเรียนมากเกินไป 16. ตองมีการวางแผนการเรียนการสอนอยางเปนระบบ


14

สรุป หลักการสอนทีด่ ีและระบบการเรียนการสอน ผูสอน วิธีการสอน และการเรียนรู บรรยากาศ สิ่งแวดลอม ตองมีความเกี่ยวของสัมพันธ กัน ผูสอนจะตองมีจรรยาบรรณแหงความเปนครู วิธีการสอนคือกระบวนการปฏิสัมพันธระหวาง ผูสอนกับ ผูเรียนจะตองสอดคลอง เหมาะสม เพื่อทําใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคที่ กําหนดไว มุงใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี เพื่อใหการสอนบรรลุตามเปาหมาย ผูสอนตองเตรียมการสอน มาอยางดี ทําใหผูเรียนเกิดการพัฒนาทุกดาน จัดการสอนอยางมีกระบวนการ และใหครบองคประกอบการ สอน ไดแก การตั้งจุดประสงคการสอน การกําหนดเนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใชสื่อการ สอน และการวัดผลประเมินผล ตองสอดคลองกับวัตถุประสงค ตรงตามจุดมุงหมาย ของ หลักสูตร นอกจากนี้ผูสอนควรไดคํานึงถึงหลักพื้นฐานในการสอน ลักษณะการสอนที่ดี และปจจัยสงเสริม การเรียนรูต ลอดจนรูจ ักใชหลักการสอนใหสอดคลองกับหลักการเรียนรูหลักจิตวิทยาบรรยากาศเปน ประชาธิปไตย ก็จะชวยใหการเรียนการสอนประสบผลสําเร็จไดตามจุดมุงหมายของหลักสูตร


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.