เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Page 1

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื อสาร


ประวัตขิ องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศเกิ ดจากการ รวมกั น ของเทคโนโลยี 2 ด้ า น คื อ เทคโนโลยีโ ทรคมนาคมกับ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ซึ! งแต่ละด้านมีประวัติหรื อ พัฒนาการ ดังนี(


เทคโนโลยีโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคม เริ! มจากการประดิ ษฐ์โทร เลขของ แซมวล มอร์ ส(Samual Morse) ในปี พ.ศ. 2380 นับ ว่ า เป็ นครั( งแรกที! ข่ า วสารถู ก แปลงเป็ นสั ญ ญาณไฟฟ้ า ส่ ง ไปตามสายเป็ นระยะทางไกลๆได้ โดยอาศัย วิ ธี ก ารเข้า รหัสตัวอักษร เป็ นรหัสอื!นที! ประกอบด้วยจุ ด (.) และขีด (-) เช่น สัญญาณขอความช่วยเหลือฉุ กเฉิ น SOS จะเข้ารหัสเป็ น... - - - ... การรับส่ งโทรเลขได้ถูกนํามาใช้งานในเชิงการค้าตั(งแต่ พ.ศ. 2387 เป็ นต้นมา และในปี พ.ศ. 2401 ได้มีการวางสาย เคเบิ ลใต้มหาสมุ ทรแอตแลนติ ก ทําให้เ กิ ด การสื! อสารข้าม ทวีประหว่างทวีปอเมริ กากับทวีปยุโรปขึ(นเป็ นครั(งแรก


ในปี พ.ศ. 2419 อเล็ก ซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์ (Alexander Alexander Graham Bell)ได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ และได้ต( งั ชุมสายโทรศัพท์แห่ งแรก ที! เ มื อ งนิ ว เฮเวน รั ฐ คอนเนตทิ ค ัต สหรั ฐ อเมริ กา จากนั(น เครื อ ข่ า ย โทรศัพ ท์ ไ ด้ข ยายตัว ออกไปอย่ า งรวดเร็ ว จนในปั จ จุ บ ัน สามารถ ติ ด ต่ อ สื! อ สารกัน ได้ด้ว ยระบบโทรศัพ ท์ท างไกลอัต โนมัติ นั บ เป็ น พัฒนาการอันยิง! ใหญ่ดา้ นเทคโนโลยีเครื อข่ายโทรคมนาคม ด้านการสื! อสารไร้สาย ได้มีการพัฒนาการค้นพบคลื!นวิทยุในปี พ.ศ. 2430 โดย ไฮน์ริช แฮตน์ (เฮิร์ต) (Heinrich Hertz) และต่อมาปี พ.ศ. 2437 กูกลิเอลโม มาร์ โคนี (Guglielmo Marconi) สามารถประดิ ษฐ์ เครื! องรั บ ส่ ง วิ ท ยุ เ ครื! องแรกได้ สํ า เร็ จ จากนั( นได้มี พ ัฒ นาการทาง เทคโนโลยีที!สาํ คัญหลายอย่าง ดังต่อไปนี(


ในปี พ.ศ. 2477-2479 จอห์น เฟลมมิง (John Flemming) และ ลี เดอ ฟอเรสต์ (Lee De Forest) ได้ประดิษฐ์หลอดสุ ญญากาศ ซึ! งเป็ นจุดเริ! มต้นของ การขยายการแปรรู ปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ในปี พ.ศ. 2497 วลาดิเมียร์ สวอริ คิน (Vladimir Zworykin) ได้ ประดิษฐ์หลอดภาพโทรทัศน์ ซึ! งเป็ นที!มาของจอภาพคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั ในปี พ.ศ. 2490 ชอกลีย ์ บาร์ ดีน และ แบรตเทน (Schockley, Bardeen and Brattain) ได้ประดิษฐ์ทรานซิ สเตอร์ ซึ! งเป็ นที!มาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ แบบสารกึ!งตัวนําไอซี และซี พียใู นคอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ. 2500 คิลบี และ นอยส์ (Jack Kilby, Robert Noyce) ได้ ประดิษฐ์วงจรรวมหรื อไอซี ซึ! ง เป็ นเทคโนโลยียอ่ ส่ วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที! ทําให้คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั มีสมรรถนะสู งและมีขนาดเล็ก ในปี พ.ศ. 2504 บริ ษทั เอทีแอนด์ที ได้สร้างดาวเทียมสื! อสาร เทลสตาร์ สตาร์ 1 เป็ นดาวเทียมสื! อสารดวงแรกของโลก


เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ยุคที 1 พ.ศ. 2489 – 2501 เป็ นการประดิษฐ์เครื! องคอมพิวเตอร์ ที!มิใช่เครื! องคํานวณ โดยเมาช์ลี และเอ็กเคอร์ ต (Mauchly and Eckert) ได้นาํ แนวความคิดนั(นมาประดิษฐ์เป็ น เครื! องคอมพิวเตอร์ ที!มีประสิ ทธิ ภาพมากเครื! องหนึ!งเรี ยกว่า ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ! งต่อมาได้ทาํ การปรับปรุ งการทํางานของ เครื! องคอมพิวเตอร์ ให้มีประสิ ทธิ ภาพดียง!ิ ขึ(น และได้ประดิษฐ์เครื! อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ(นเพื!อใช้ในการสํารวจสํามะโนประชากร ประจําปี


ลักษณะเฉพาะของเครืองคอมพิวเตอร์ ยุคที 1 ใช้อุปกรณ์หลอดสุ ญญากาศ (Vacuum Tube) เป็ น ส่ วนประกอบหลัก ทําให้ตวั เครื! องมีขนาดใหญ่ ใช้ พลังงานไฟฟ้ ามาก และเกิดความร้อนสู ง ทํางานด้วย ภาษาเครื! อง (Machine Language) เท่านั(น เริ! มมีการ พัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ(นใช้งาน


ยุคที 2 พ.ศ. 2502 – 2506 มีการนําทรานซิ สเตอร์ มาใช้ในเครื! องคอมพิวเตอร์ จึง ทําให้เครื! องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ!มประสิ ทธิ ภาพ ในการทํางานให้มีความรวดเร็ วและแม่นยํามากยิง! ขึ(น นอกจากนี( ในยุคนี(ยงั ได้มีการคิดภาษาเพื!อใช้กบั เครื! อง คอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาฟอร์ แทน (FORTRAN)จึงทําให้ ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสําหรับใช้กบั เครื! อง คอมพิวเตอร์


ยุคที 3 พ.ศ. 2507 – 2512 คอมพิวเตอร์ ในยุคนี(เริ! มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิ สเตอร์ ได้เพียง 5 ปี เนื!องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี!ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรื อ เรี ยกกันย่อๆ ว่า "ไอซี " (IC) ซึ! งไอซี น( ีทาํ ให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip)เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนําเอาแผ่น ชิปมาใช้แทนทรานซิ สเตอร์ ทาํ ให้ประหยัดเนื(อที!ได้มาก ลักษณะเฉพาะของเครืองคอมพิวเตอร์ ยุคที 3 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรื อ ไอซี และวงจรรวม สเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เป็ นอุปกรณ์หลัก ความเร็ วใน การประมวลผลในหนึ! งคําสั!ง ประมาณหนึ! งในล้านของวินาที (Microsecond : mS) สู งกว่าเครื! องคอมพิวเตอร์ ในยุคที! 1 ประมาณ 1,000 เท่า ทํางานได้ดว้ ย ภาษาระดับสู งทัว! ไป


ยุคที 4 พ.ศ. 2513 – 2532 เป็ นยุคที!นาํ สารกึ!งตัวนํามาสร้างเป็ นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ! งสามารถย่อส่ วนไอซี ธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามา ในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโคร โพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ(น ทําให้เครื! องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมี ความสามารถในการทํางานสู งและรวดเร็ วมาก จึงทําให้มีคอมพิวเตอร์ ส่วน บุคคล (Personal Computer) ถือกําเนิดขึ(นมาในยุคนี( ลักษณะเฉพาะของเครืองคอมพิวเตอร์ ยุคที 4 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็ นอุปกรณ์หลัก มีความเร็ วในการประมวลผลแต่ละคําสั!ง ประมาณ หนึ! งในพันล้านวินาที (Nanosecond : nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็ วในการ ประมวลผลแต่ละคําสั!ง ประมาณหนึ! งในล้านล้านของวินาที (Picosecond : pS)


ยุคที 5 พ.ศ. 2533 – ปัจจุบัน ในยุคนี(มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการ ทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบาย ในการใช้งานอย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื! อง คอมพิวเตอร์ แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ(นใช้งานในยุคนี(กบั โปรแกรม เป็ นต้น


ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื อสาร คําว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบคํา 2 คํา ได้แก่ เทคโนโลยี และ สารสนเทศ ซึ! งแต่ละคํามีความหมายดังนี( เทคโนโลยี (Technology) เป็ นคําที!มาจากรากศัพท์ภาษา ละตินว่า TEXERE มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า to weave แปลว่า สาน เรี ยบเรี ยง ถักทอ ปะติดปะต่อ และ construct แปลว่า สร้าง ผูกเรื! อง ความรู ้สึกนึ ก คิดที!ก่อให้เกิด ส่ วนเทคโนโลยี ในรากศัพท์ภาษากรี กมาจากคํา ว่า technologia แปลว่า การทํางานอย่างเป็ นระบบ (systematic treatment) (วิทย์ เที!ยงบูรณธรรม, 2539)


คาร์เตอร์ วี กู๊ด (Good, 1973) ได้ให้ความหมายของ เทคโนโลยีวา่ หมายถึง การนําเอาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ในวงการต่าง ๆ โดยทําให้เกิดการเปลี!ยนแปลงที!ดีข( ึน เอดการ์ เดล (Dale, 1965) กล่าวว่า เทคโนโลยีไม่ใช่ เครื! องมือแต่เป็ นแผนการ วิธีการทํางานอย่างเป็ นระบบที! ให้ผลบรรลุตามแผนการ ไฮนิช และ คนอื!น ๆ (Heinech and Others, 1989) ได้ อธิบายว่าเทคโนโลยีจาํ แนกออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ


1) เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ(process) เป็ นการใช้วิทยาศาสตร์ และความรู ้ต่าง ๆ ที!รวบรวมไว้อย่างเป็ นระบบ เพื!อนําไปสู่ ผลในทางปฏิบตั ิ โดย เชื!อว่าเป็ นกระบวนการที!เชื!อและนําไปสู่ การแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ 2) เทคโนโลยีลกั ษณะของผลผลิต (product and product) หมายถึง วัสดุและ อุปกรณ์ที!เป็ นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี เช่น ฟิ ล์มภาพยนตร์ เป็ นผลผลิตของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเช่นเดียวกับเครื! องฉายภาพยนตร์ หรื อ หนังสื อเป็ นผลผลิตของเทคโนโลยีเช่นเดียวกับแท่นพิมพ์หนังสื อ เป็ นต้น 3) เทคโนโลยีลกั ษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) ซึ! งใช้ร่วมกันสองลักษณะ เช่น เทคโนโลยีช่วยให้ระบบการรับส่ งข้อมูล เป็ นไปได้อย่างรวดเร็ ว ทั(งนี( เป็ นผลจากความก้าวหน้าของการประดิษฐ์วสั ดุอุปกรณ์ เพื!อการรับส่ งข้อมูล ตลอดจนเทคนิควิธีการต่าง ๆ เพื!อให้ระบบส่ งข้อมูลเป็ นไปได้ อย่างกว้างขวางและรวดเร็ วและในลักษณะของกระบวนการซึ! งไม่สามารถแยกออก จากผลผลิตได้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ ซ! ึ งมีการทํางานเป็ นปฏิสัมพันธ์กนั ระหว่าง ตัวเครื! อง


บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือสาร ในปัจจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือสาร มีบทบาททีก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาสังคมในหลายด้าน ซึง สามารถสรุปได้ดงั นี*


- ช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที!ดีข( ึนจากการสื! อสารที! รวดเร็ วและกว้างไกล - ช่วยทําให้วทิ ยาการต่าง ๆ เจริ ญก้าวหน้าและทันสมัยอย่าง รวดเร็ ว - การรับรู ้และแลกเปลี!ยนข้อมูลข่าวสารของโลกเป็ นไปอย่าง สะดวกและรวดเร็ ว - สามารถเข้าถึงคลังข้อมูลข่าวสารจํานวนมาก ซึ!งสามารถนํามา ประยุกต์ในการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต - สนับสนุนการทํางานและกระบวนการผลิต เช่น การใช้ คอมพิวเตอร์ในการวางแผน การออกแบบและการควบคุมระบบ การทํางาน


- ส่ งเสริ มระบบบริ หารจัดการในรู ปแบบใหม่ เพื!อ เพิ!มประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารจัดการหน่วยงานหรื อ องค์กร - กระจายโอกาสด้านการศึกษา ให้ผเู ้ รี ยนที!อยู่ ห่ างไกล สามารถเรี ยนรู ้ผา่ นระบบการสอนทางไกลหรื อ ผ่านดาวเทียมได้ - สามารถเผยแพร่ สารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ!น สู่ สังคมโลกได้โดยง่าย เช่น การเผยแพร่ งานใน อินเตอร์เน็ตตําบล เป็ นต้น - ช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างต่อเนื!อง


เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทีใช้ ในชีวติ ประจําวัน ใน สังคมปั จจุบนั ไม่วา่ ใครจะอยูท่ ี!ใด แม้ในเมืองหรื อชนบทก็ ตาม ย่อมมีการติดต่อสื! อสารกับบุคคลหรื อสังคมอื!นอยูเ่ สมอไม่ทาง ใดก็ทางหนึ! ง เพื!อแลกเปลี!ยนความรู ้ความคิดเห็นหรื อการรับรู ้ขอ้ มูล ข่าวสารในชีวิตประจํา วันด้วยสื! อต่าง ๆ เช่น หนังสื อพิมพ์ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็ นการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทั(งสิ( น นอกจากนี( ยงั ใช้เทคโนโลยีเครื! องมือ หรื อกลไกเพื!ออํานวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื! อง จ่ายเงินอัตโนมัติ (ATM : Automatic Teller/Technology Machine) การสแกนลายนิ(วมือการเข้าปฏิบตั ิงานในสํานักงาน การจ่ายค่า โดยสารรถไฟฟ้ าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็ นต้น


เหล่านี( เป็ นตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวัน ยิง! ไปกว่า นั(น ความเจริ ญก้าวหน้าของวิทยาการใหม่ ๆ ก่อให้เกิด เครื! องมือหรื อวิธีการใน การอํานวยความสะดวกในการใช้บริ การอย่างรวดเร็ ว เช่น การทําบัตรประจําตัว ประชาชน สามารถให้บริ การโดยเชื!อมต่อ ระบบออนไลน์ (online system) ซึ! ง เป็ นระบบสายตรงที!มีประโยชน์มาก และเป็ นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที!จาํ เป็ น กรณี ตวั อย่าง เช่น การรับบริ การรักษาพยาบาลตาม โรงพยาบาล ปั จจุบนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาบริ หารจัดการ โดยผูป้ ่ วย สามารถบอกชื!อนามสกุลที!ถกู ต้อง เจ้าหน้าที!กส็ ามารถเรี ยกเวชระเบียนออกมาได้ อย่างรวดเร็ ว เพราะโรงพยาบาลมีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เชื!อมโยงกันอย่าง ทัว! ถึง ทําให้เวชระเบียนที!อยูใ่ นรู ปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ถกู ส่ งจาก คอมพิวเตอร์ แม่ข่ายไปปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ ในห้องตรวจของแพทย์ได้ทนั ที เมื!อแพทย์ทาํ การตรวจวินิจฉัยโรค สามารถสั!งการรักษาหรื อสั!งยา จากห้องแพทย์ ไปสู่ แผนกเอ็กซเรย์ แผนกจ่ายยา ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพ


THE END


คณะผูจ้ ดั ทํา นายชัยรัตน์ นายธนา น.ส.พฤษพร น.ส.สุ ภาวดี

พิมพ์มี รหัส 524143002 เมฆนาคา รหัส 524143003 แยบภายคํา รหัส 524143019 จันทร์ แดง รหัส 524143003 ค.บ.4 คณิ ตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.