Buddha dhamma

Page 1

คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒

รวมรายชื่อธรรมบรรยายและธรรมนิพนธของ

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) รวบรวมและเรียบเรียงคูมือ โดย พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร)



คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒ รวมรายชื่อธรรมบรรยายและธรรมนิพนธของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ)

รวบรวมและเรียบเรียงคูมือ โดย พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) ผูชวยเจาอาวาสวัดญาณเวศกวัน


คูมือพระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒

© รวบรวมและเรียบเรียงคูมือ โดย พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) พิมพครั้งที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ๗๐๐ เลม - วัดญาณเวศกวัน จัดพิมพเปนที่ระลึกเพื่อแสดงมุทิตาจิต แดพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่ไดรับพระราชทานสถาปนา เลื่อนสมณศักดิ์เปนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ ๕๐๐ เลม - พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร และผูมีจิตศรัทธา ๒๐๐ เลม ๑๓,๕๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๒ - ๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ - พฤษภาคม ๒๕๖๐ พิมพครั้งที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๐ ๒,๐๐๐ เลม

พิมพเปนธรรมทาน โดยไมมีคาลิขสิทธิ์ ทานผูใดประสงคจัดพิมพ โปรดติดตอขอไฟลตนฉบับลาสุด และขออนุญาตที่ พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐ โทร ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๕๖, ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๖๕, ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๗๕ ตอ ๑๑๐ E-Mail : kunchitg@gmail.com พิมพที่: บริษัท พิมพสวย จํากัด ๕/๕ ถ.เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร: ๐๒๙๕๓๙๖๐๐ E-mail: info@pimsuay.com (อนุญาตใหทําสําเนาแจกเปนธรรมทานได)


คํานํา

(ในการพิมพครั้งที่ ๘) คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) ฉบับพิมพครั้งที่ ๘ นี้ไดเพิ่ม รายชื่อธรรมนิพนธ ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) จัดเรียงตาม ตัวอักษร ขอมูลธรรมนิพนธในรูปแบบไฟล PDF รวมทั้งหมดจํานวน ๓๙๓ เลม ไดนํา มาบรรจุไวใน Micro SD Card ของพระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒ รุนใหมนี้แลว เพื่อเปนขอมูลใหผูที่สนใจอยากอานธรรมนิพนธ และผูที่ตองการ ศึกษาคนควาไดทําสําเนาไปอานและศึกษาได ผูสนใจธรรมนิพนธสามารถเสียบสาย ขอมูลของตัวเครื่องเขาไปที่ PC เพื่อทําสําเนาขอมูล หรือถอด Micro SD Card ไปเสียบเขาเครื่องอานแลวตอเขา PC เพื่อทําสําเนาได ขออนุโมทนาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง ที่จัดพิมพหนังสือคูมือพระเครื่อง แจกเปนธรรมทาน คุณสิทธิขัย บุญมณีโชติ ที่ชวยตรวจเช็ครายชื่อหนังสือ และแกไขคําผิด รวมทั้งทุกๆ ทานที่ไดรวมกันจัดทําพระเครื่อง (พระในเครื่อง แสดงธรรม) เพื่อนําไปมอบใหแกพระภิกษุ สามเณร และผูสนใจ เปนการให ปญญาและสรางสัมมาทิฏฐิแกพหุชน ขอบุญกุศลที่ทุกๆ ทานไดรวมกันทํานี้ จงสัมฤทธิผลใหทุกๆ ทานเจริญดวยจตุรพิธพรชัย ประสบความสําเร็จในสิ่งที่ดี งามที่ปรารถนา มีความสุขความเจริญงอกงามในธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา เจริญในสัมมาปฏิบัติจนถึงฝงแหงพระนิพพาน เทอญ พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐


คํานํา

(ในการพิมพครั้งที่ ๕) คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) ฉบับพิมพครั้งที่ ๕ นี้ไดปรับปรุง ตนฉบับใหมเพื่อใหผูใชอานไดสบายตา และสามารถใชงานพระเครื่องไดดีดังนี้ ๑. จัดทําภาพประกอบการฟงเสียงอาน พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ใหม โดยใชไฟลภาพที่คุณสิริมนต ตั้งเสรีจิตสกุล และ คุณชาคริต ตั้งเสรีจิตสกุล ไดจัดทํา ขึ้นมา และนํามาถวายไวใหผานทางคุณฤทธิรงค ๒. เพิ่มสวนวิธีการใชงานพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) เพื่อเปน แนวทางการใชงานแกผูที่ไมเคยใชมากอน ขออนุโมทนา คุณสิริมนต ตั้งเสรีจิตสกุล และ คุณชาคริต ตั้งเสรีจิตสกุล ที่ไดชวยจัดทําภาพประกอบการฟงเสียงอานพุทธรรม ฉบับปรับขยาย คุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคุณพัชธร กิตินุกูลศิลป ที่จัดพิมพหนังสือคูมือพระเครื่องแจก เปนธรรมทาน รวมทั้งทุกๆ ทานที่ไดรวมกันจัดทําพระเครื่อง (พระในเครื่อง แสดงธรรม) เพื่อนําไปมอบใหแกพระภิกษุ สามเณร และผูสนใจ เปนการให ปญญาและสรางสัมมาทิฏฐิแกพหุชน ขอบุญกุศลที่ทุกๆ ทานไดรวมกันทํานี้ จงสัมฤทธิผลใหทุกๆ ทานเจริญดวยจตุรพิธพรชัย ประสบความสําเร็จในสิ่งที่ดีงาม ที่ปรารถนา มีความสุขความเจริญงอกงามในธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา เจริญในสัมมาปฏิบัติจนถึงฝงแหงพระนิพพาน เทอญ พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๙ มีนาคม ๒๕๖๐


คํานํา

(ในการพิมพครั้งที่ ๓) พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑ นี้จัดทําขึ้น เพื่อรวบรวมผลงานของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เผยแผเปน ธรรมทาน โดยขอมูลทั้งหมดไดบรรจุไวใน Micro SD Card ขนาด 16 GB ที่อยู ดานลางของเครื่อง ซึ่งผูสนใจสามารถถอด Micro SD Card ไปทําสําเนาแจกเปน ธรรมทานได ขอมูลประกอบดวย ๑. เสียงอานพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย (อานโดยพระกฤช นิมฺมโล) ๒. ธรรมบรรยายของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ซึ่งไดจัดทําเปนหมวดหมูเพื่อใหงายตอการฟงและการคนหา ๓. คูมือพระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑ ฉบับนี้ (เปนไฟล PDF) ขออนุโมทนาพระพงศธร เกตุญาโณ คุณสิทธิขัย บุญมณีโชติ และ คุณนิพัทธา พวงสุวรรณ ที่ชวยตรวจเช็คและแจงคําที่พิมพผิดตกหลนที่มีอยูใน การพิมพครั้งที่ ๒ ซึ่งไดทําการแกไขแลวในการพิมพครั้งที่ ๓ นี้ ขออนุโมทนาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคณะ โยมกรรมฐานใตโบสถ วัดญาณเวศกวัน และทุกๆ ทานที่ชวยเปนธุระในการติดตอ ประกอบเครื่อง ทําสําเนาหนวยความจํา ตลอดจนไดรวมกันดําเนินการจัดพิมพคูมือพระเครื่องฯ เพื่อแจกเปนธรรมทาน ธรรมทานบุญกิริยาของทุกๆ ทานอันเกิดจากการรวมกันจัดทําสื่อธรรม ในครั้งนี้ จงอํานวยผลใหทุกทานประสบทั้งอามิสไพบูลย และธรรมไพบูลย ลุถึงความสุขเกษมศานต ยืนนานสืบไป พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๙


คํานํา

(ในการพิมพครั้งที่ ๒) พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑ นี้จัดทําขึ้น เพื่อรวบรวมผลงานของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เผยแผเปน ธรรมทาน โดยขอมูลทั้งหมดไดบรรจุไวใน Micro SD Card ขนาด 16 GB ที่อยู ดานลางของเครื่อง ซึ่งผูสนใจสามารถถอด Micro SD Card ไปทําสําเนาแจกเปน ธรรมทานได ขอมูลประกอบดวยเสียงอานพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย (อานโดยพระ กฤช นิมฺมโล) ธรรมบรรยายของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ซึ่งไดจัดทําเปนหมวดหมูเพื่อใหงายตอการฟงและการคนหา และคูมือพระเครื่อง ฉบับนี้เปนไฟล PDF การพิมพครั้งที่ ๒ นี้ไดแกไขคําที่พิมพผิดและตกหลน ขยายขนาดตัว อักษร จัดวรรคตอนใหอานงาย และไดเพิ่มธรรมบรรยายที่เปนภาษาอังกฤษอีก ๕ เรื่องเขามาตามคําแนะนําของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ขออนุโมทนาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคณะ รวมทั้งโยมกรรมฐานใตโบสถ วัดญาณเวศกวัน ที่ชวยเปนธุระในการติดตอ ประกอบเครื่อง และทําสําเนา หนวยความจําใหแกผูสนใจเปนธรรมทาน คุณนิพัทธา พวงสุวรรณ ที่ชวยตรวจ เช็คและแจงคําที่พิมพผิดตกหลน คุณนิลุบล เล็กเจริญกุล และทุกๆ ทานที่ดําเนิน การจัดพิมพคูมือนี้เพื่อแจกเปนธรรมทาน ธรรมทานบุญกิริยาของทุกๆ ทานอันเกิดจากการรวมกันจัดทําสื่อธรรม ในครั้งนี้ จงอํานวยผลใหทุกทานประสบทั้งอามิสไพบูลย และธรรมไพบูลย ลุถึงความสุขเกษมศานต ยืนนานสืบไป พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙


คํานํา

(ในการพิมพครั้งที่ ๑) พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม)นี้เกิดขึ้นโดยปรารภคุณฤทธิรงค ภูพานทอง ที่ไดมาเรียนกรรมฐานใตโบสถทีวัดญาณเวศกวัน เมื่อประมาณสิบ กวาปที่แลว พรอมทั้งมีฉันทะวิริยะในการศึกษาหนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับปรุง และขยายความ ตอมาคุณฤทธิรงคไดมาปรึกษาอาตมาวา หนังสือพุทธธรรมนี้ เปนหนังสือที่ดีมากแตการที่คนทั่วไปจะอานจบนั้นทําไดยากเนื่องจากมีเนื้อหา และรายละเอียดมาก จึงอยากจัดทําหนังสือพุทธธรรมนี้ออกมาเปนเสียงอาน เพื่อใหคนทั่วไปสามารถศึกษาไดงาย และไดนิมนตใหอาตมาเปนที่ปรึกษา อาตมาจึ ง ให ทํ า หนั ง สื อ ขออนุ ญ าตพระเดชพระคุ ณ พระพรหมคุ ณ าภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) เพื่อจัดทําหนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ เปนเสียงอาน ตอมาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคณะไดนิมนตพระกฤช นิมฺมโล มาเป น ผู อ า นซึ่ ง ท า นได ตั้ ง ใจอ า นด ว ยความพิ ถี พิ ถั น เพื่ อ ให ถู กต อ งและน า ฟ ง ดวยความเลื่อมใสศรัทธาในพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เมื่อพระเดชพระคุณ ทานเจาคุณฯ ไดมีการปรับปรุงหนังสือพุทธธรรมปนฉบับปรับขยาย ทางคณะ ผู จั ด ทํ า จึ ง ได เ ปลี่ ย นมาใช พุ ท ธธรรมฉบั บ ใหม นี้ เ ป น ต น ฉบั บ ในการจั ด ทํ า เสียงอานแทน การจัดทําเสียงอานพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย นี้ใชเวลาถึง ๗ ป จึงแลวเสร็จสมบูรณ ในชวงแรกของการจัดทําทางคณะผูจัดทําไดจัดทําเฉพาะบท ที่อานเสร็จแลวเปนซีดีเพื่อเผยแผและไดนํามาถวายที่วัดญาณเวศกวันเปนระยะ ทุกชุด ตอมาคุณฤทธิรงคและคณะไดทําหนังสือขออนุญาตพระเดชพระคุณทาน เจาคุณฯ นําธรรมบรรยายที่ไดบรรยายไวไปเผยแผทางชองทางตางๆ เปนธรรม ทาน เมื่อไดจัดทําเสียงอานพุทธธรรมเสร็จบริบูรณแลวคณะผูจัดทําไดบันทึกไฟล เสียงอานพุทธธรรมทั้งหมดพรอมทั้งธรรมบรรยายบางสวนของพระเดชพระคุณ ทานเจาคุณฯ ไวใน Micro SD Card ขนาด ๘ GB จัดทําเปนชุดพรอมเครื่อง เลนขนาดเล็กที่มีลําโพงในตัวพกพาสะดวกและใชงานงายนํามาถวายใหอาตมา


ตอนตนเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ เพื่อนําไปถวายใหแกพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) และเพื่อใหเปนธรรมทานแกพระภิกษุและญาติโยม ผูสนใจ อาตมาเห็นวาเครื่องเลนนี้เปนประโยชนมากแตการฟงจะลําบากถาไมรู รายละเอียดของเนื้อหาที่มีอยูในเครื่อง ดังนั้นอาตมาจึงไดเรียบเรียงและจัดทํา ไฟลธรรมบรรยายตนฉบับขึ้นมาใหม โดยเพิ่มธรรมบรรยายของพระเดชพระคุณ ทานเจาคุณฯ เขามาและจัดเปนหมวดหมูเพื่อใหงายตอการฟง พรอมทั้งไดจัดทํา หนังสือคูมือสื่อเสียงธรรมขึ้นมา ในตอนแรกใชชื่อคูมือวา “คูมือสื่อเสียงธรรม” หลั ง จากได ม อบให พ ระภิ ก ษุ แ ละญาติ โ ยมเป น ธรรมทานไปแล ว ปรากฏว า มี ผู ส นใจอยากได แ ละอยากร ว มจั ด ทํ า สื่ อ เสี ย งธรรมนี้ เ พื่ อ นํ า ไปมอบให แ ก พระภิกษุทวี่ ดั ตางๆ และใหกบั ญาติพนี่ อ งทีอ่ ยูต า งจังหวัดจํานวนมาก อาตมาจึงได ปรั บ ปรุ ง คู มื อ สื่ อ เสี ย งธรรมนี้ ขึ้ น มาโดยได เ พิ่ ม รู ป ประกอบการฟ ง พุ ท ธธรรม ฉบั บ ปรั บ ขยายที่ คุ ณ ฤทธิ ร งค แ ละคณะได จั ด ทํ า ไว แ ละนํ า มามอบให เ ข า ไป ด ว ยเพื่ อ ให ส ะดวกต อ การศึ ก ษาโดยได ตั้ ง ชื่ อ เครื่ อ งเล น สื่ อ เสี ย งธรรมนี้ ว า “พระเครื่อง(แสดงธรรม)” วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๙ คุณฤทธิรงค ภูพานทอง พระกฤช นิมฺมโล และคณะไดขอโอกาสเดินทางมาพบพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เพื่อรายงาน โครงการเสี ย งอ า นพุ ท ธธรรมที่ ไ ด ทํ า เสร็ จ สมบู ร ณ แ ล ว และได นํ า เครื่ อ งเล น สื่อเสียงธรรมมาถวายพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ อาตมาจึงไดกราบเรียน ปรึกษาเพื่อขออนุญาตพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ ใชชื่อเครื่องเลนสื่อเสียง ธรรมนี้วา “พระเครื่อง(แสดงธรรม)” ซึ่งพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ ไดกรุณา แนะนําวาควรใชชื่อ “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม)” จะเหมาะกวาจึงได ตั้งชื่อเครื่องเลนสื่อเสียงธรรมนี้วา “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม)” และ ไดจัดทําคูมือฉบับปรับปรุงใหมขึ้นมาโดยใชชื่อวา “คูมือพระเครื่อง(พระในเครื่อง แสดงธรรม) พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย และธรรมบรรยาย ๑๙ ชุด” เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๙ และไดจัดทําสําเนาเพื่อมอบใหแกผูสนใจเปนธรรมทานพรอม เครื่องที่คุณฤทธิรงค และญาติโยมผูมีจิตศรัทธานํามาถวาย เนื่องจากมีธรรมบรรยายของพระเดชพระคุณฯ ที่ยังไมไดนํามาบรรจุใน


Micro SD Card ๘ GB เพราะหนวยความจําไมพอ ประกอบกับคณะโยม ที่ โ รงพยาบาลวิ ชั ย ยุ ท ธและญาติ โ ยมจํ า นวนมากมี ค วามประสงค จ ะจั ด ทํ า พระเครื่องเพื่อนําไปมอบใหกับญาติพี่นองและถวายพระภิกษุที่ตางจังหวัดดังนั้น ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ อาตมาจึงไดจัดทําตนฉบับ “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุนเฉพาะกาล” พรอมคูมือขึ้นมา โดยไดเพิ่มธรรมบรรยายของพระเดชพระคุณฯ เปนจํานวน ๔๕ ชุด และเสียงอาน หนังสืออื่นๆ เชน หนังสือพุทธประวัติ พุทธกิจ ๔๕ พรรษา ประวัติพุทธสาวกและ พุทธสาวิกา มงคลสูตร และเสียงสวดมนตเขาไปดวยเพื่อใหเปนประโยชน ตอผูฟงใหมากที่สุด โดยพระกฤช นิมฺมโล สวนธรรมประสานสุข, คุณสุทธิรักษ สุขธรรม บริษัท ธรรมสภา สถาบันบันลือธรรม จํากัด, คุณจิตสงบ ตระกูลโชคชัย และชมรมพุทธคุณ ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ไดอนุญาตใหนําเสียง ธรรมเหลานี้มาจัดทําเพื่อเผยแผเปนธรรมทานได อาตมาขออนุโมทนาทุกๆ ทานมา ณ ที่นี้ดวย โดยเฉพาะคุณฤทธิรงค และคณะที่ชวยเปนธุระในการติดตอ จัดหาเครื่อง และทําสําเนาหนวยความจําใหแกผูสนใจ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ นี้พระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ไดรับพระราชทานสถาปนาเลื่อนสมณศักดิ์เนื่องในวาระพระราช สมภพพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมพิ ลอดุลยเดช เปนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย ทานเจาคุณมงคลธีรคุณ (อินศร จินตฺ าปฺโญ) รองเจาอาวาสวัดญาณเวศกวัน พร อ มคณะสงฆ ไ ด ป รารภจะจั ด ทํ า พระเครื่ อ ง(พระในเครื่ อ งแสดงธรรม) Version ๑๖ GB จํานวน ๕๐๐ ชุดเพื่อนอมถวายพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เพื่อเปนการแสดงมุทิตาจิต ดังนั้นอาตมาจึงไดจัดหมวดหมูขอมูลและจัดทําคูมือ ชุดใหมโดยมีเฉพาะผลงานของพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เทานั้นขึ้นมาโดยใช ชื่อสื่อเสียงธรรมชุดนี้วา “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑” เพื่อนอมถวายเปนอาจาริยบูชาและแสดงมุทิตาจิตตอพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) และจะไดนําพระเครื่องที่ญาติโยมไดถวายมารวมนอม ถวายอีกจํานวน ๒๐๐ ชุด เพื่อใหพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ มอบใหแกผูสนใจ เปนธรรมทานตอไป


ในการจั ด ทํ า ไฟล แ ละคู มื อ พระเครื่ อ งนี้ ห ากมี ข อ ผิ ด พลาดประการใด อาตมาขอนอมรับขอผิดพลาดทั้งหมดนั้นแตเพียงผูเดียว หากทานใดพบขอผิดพลาด หรื อ มี ข อ เสนอแนะประการใดกรุ ณ าแจ ง ให อ าตมาทราบด ว ยเพื่ อ นํ า ไปแก ไ ข พัฒนาและปรับปรุงใหดียิ่งขึ้นไป คุณงามความดีและบุญกุศลทั้งหลายที่เกิดจากการทําสื่อธรรมใน ครั้งนี้ขอนอมถวายแดพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่เมตตาเปนพระอุปชฌาย สั่งสอน อบรม ใหความรูทางธรรมอันมีคายิ่ง และ ไดนิพนธหนังสือธรรมะที่เปนประโยชนอยางมากตอพระพุทธศาสนา ขออาราธนา คุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย อวยชั ย ให พ รแด พ ระเดชพระคุ ณ พระพรหมคุ ณ าภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ใหเจริญดวยจตุรพิธพรชัย มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ มีสุขภาพ รางกายแข็งแรง และอยูเปนหลักชัยในทางธรรมใหแกสาธุชนตลอดกาลนาน เทอญ พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙




“นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง บุญกุศลทั้งหลายที่เกิดจากการทําสื่อธรรมในครั้งนี้... ขอนอมถวายแดสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ที่เมตตาเปนพระอุปชฌาย สั่งสอน อบรม และใหความรูทางธรรม อันมีคายิ่ง ขอมอบใหแกโยมพออนุสวัสดิ์ โยมแมทรรศณีย สวัสดิ์เสวี ผูใหกําเนิด เลี้ยงดู ใหความรัก ใหการศึกษา และใหโอกาส ในการเขามาศึกษาธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา ขอมอบใหแกครูอาจารยทุกๆ ทานที่ไดประสิทธิ์ประสาท วิชาความรู และใหการศึกษาอบรม ขอมอบใหแกเพื่อนสหธรรมิก ญาติพี่นอง ผูมีพระคุณ อุบาสก อุบาสิกา และทุกๆ ทาน ที่เคยชวยเหลือเกื้อกูลกันมา ขอมอบใหแกเหลามนุษย เทวดา มาร พรหม ตลอดจน สรรพสัตวทั้งหลายที่อยูรวมกันในสังสารวัฏฏ ขอใหทุกๆ ทานจงเจริญดวยจตุรพิธพรชัย มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ มีสุขภาพรางกายแข็งแรง ปราศจากโรคภั ย และภยั น ตรายใดๆทั้ ง ปวงมาเบี ย ดเบี ย น เจริญงอกงามในธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา มีดวงตาเห็นธรรม พนจากทุกขทั้งปวง บรรลุถึงพระนิพพานในกาลอันควรดวยเทอญ...”



สารบัญหนังสือ คํานํา วิธีการใชงานพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) ๑. พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา ตอน ๑ : ชีวิต คืออะไร? ตอน ๒: ชีวิต เปนอยางไร? ตอน ๓: ชีวิต เปนไปอยางไร? ตอน ๔: ชีวิต ควรใหเปนอยางไร? ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา ตอน ๕: ชีวติ ควรเปนอยูอยางไร? ภาค ๓ อารยธรรมวิถี ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เปนอยางไร? ๒. รวมธรรมบรรยายสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ๑. พุทธประวัติ และประวัติศาสตร ๒. หลักธรรมและการปฏิบัติ ๓. ธรรมะในชีวิตประจําวัน ๔. ธรรมะกับการศึกษา ๕. ธรรมะกับความเชื่อของคนไทย ๖. ธรรมะกับวิชาการ ๗. ธรรมะกับการเมืองการปกครอง ๘. Dhamma in English ๓. แผนภูมิประกอบการฟงพุทธธรรมฉบับปรับขยาย ๔. รายชื่อธรรมนิพนธ ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ)

i

1 2 4 7 12 21 29 34 45 52 54 57 60 63 65 85



วิธีการใชงานพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) การเปดปดเครื่อง 1. เปดเครื่องโดยการเลื่อนปุม ON/OFF ที่อยูดานบนของตัวเครื่องไปที่ ON เครื่องจะเลนเรื่องที่เลนคางอยูในครั้งที่แลวตอจากเดิม 2. ปดเครื่องโดยการเลื่อนปุม ON/OFF ดานบนไปที่ OFF การปรับความดังของเสียง เลื่อนปุมปรับเสียง ที่อยูดานบนของตัวเครื่องไปทางซายและขวาเพื่อปรับ ความดังตามตองการ การหยุดเลนและเลนเรื่องที่กําลังฟงตอ 1. กดปุม เพื่อหยุดเลน 2. กดปุม อีกครั้งเพื่อเลนตอ การเลนเรื่องที่ตองการฟงในคูมือพระเครื่อง 1. เปดหนาสารบัญหนังสือคูมือพระเครื่องเพื่อเลือกหมวดหมูที่สนใจและเปดไป ที่หนาที่ตองการตามตัวเลขที่อยูดานหลังหมวดหมู 2. เลือกหัวขอที่ตองการและเลือกเรื่องที่ตองการฟงในหัวขอนั้น แลวกดแปน ตัวเลขที่เครื่องตามตัวเลขที่อยูขางหลังของเรื่องที่ตองการฟง 3. เครื่องจะเริ่มเลนเรื่องที่เลือก แตหากเครื่องไมเลนใหกดปุม เพื่อเลน การเลนเรื่องถัดไป และเรื่องกอนหนา 1. กดปุม เพื่อเลนเรื่องถัดไป 2. กดปุม เพื่อเลนเรื่องกอนหนา i


การเลนไปขางหนาอยางรวดเร็วและเลนยอนกลับอยางรวดเร็ว 1. กดปุม คางไวเพื่อเลนไปขางหนาอยางรวดเร็ว 2. กดปุม คางไวเพื่อเลนยอนกลับอยางรวดเร็ว การเลนซ้ําแบบตางๆ (มีเฉพาะในรุนเครื่องบาง) 1. กดปุม จนหนาจอขึ้นคําวา ONE เพื่อเลนเรื่องที่เลือกเรื่องเดียววนซ้ํา 2. กดปุม จนหนาจอขึ้นคําวา FoLd เพื่อเลนทุกเรื่องในหัวขอนั้นวนซ้ํา 3. กดปุม จนหนาจอขึ้นคําวา ALL เพื่อเลนทุกเรื่องในเครื่องวนซ้ํา การใสแหลงขอมูล (ปกติเครื่องจะใส Micro-SD ที่มีขอมูลมาใหเรียบรอยแลว) 1. ขอมูลไฟลเสียงและคูมือของพระเครื่องถูกบรรจุไวใน Micro-SD ซึ่งอยูที่ ชองดานลาง (บางรุนอยูที่ดานบน) ของตัวเครื่อง หากตองการนําขอมูลไปทํา สําเนาไวในเครื่องคอมพิวเตอร หรือสําเนาใหแกผูอื่น สามารถใชนิ้วกดลงใน ชองที่ใส Micro-SD แลวคอยๆ ปลอยเพื่อถอด Micro-SD ออกมาได 2. การใส Micro-SD กลับคืนตองใสใหถูกดานจึงจะสามารถกดลงจนสุดได ถาใสไมถูกดานจะกดลงไดไมสุด 3. USB Drive ที่มีขอมูลไฟลเสียง MP3 สามารถเสียบเขาชอง USB ที่ดานขาง เครื่องทางดานขวาไดเลย การเลือกแหลงขอมูลที่จะเลน 1. กดปุม MODE จนหนาจอดานบนสุดแถวเดียวกับรูปแบตเตอรี่สีแดงขึ้นคําวา TF สีแดง เพื่อเลนจาก Micro-SD 2. กดปุม MODE จนหนาจอดานบนสุดแถวเดียวกับรูปแบตเตอรี่สีแดงขึ้นคําวา USB สีแดง เพื่อเลนจาก USB Drive 3. กดปุม MODE จนหนาจอดานบนสุดแถวเดียวกับรูปแบตเตอรี่สีแดงขึ้นคําวา FM สีแดง เพื่อเลนวิทยุ FM (รายละเอียดการตั้งคลื่นวิทยุ FM กรุณาอาน จากในคูมือที่มาพรอมกับเครื่อง) ii


การเปดไฟ LED เพื่อใชเปนไฟฉาย (มีเฉพาะในรุนเครื่องบาง) กดปุม LED คางไว ไฟ LED ที่ดานขวามือของเครื่องจะสองสวางขึ้นมา การชารจไฟเขาเครื่อง 1. เสียบหัว Micro-USB (หัวเล็ก) ของสายสีขาวที่ใหมากับเครื่องเขาที่เตารับ Micro-USB (หัวเล็ก) ที่อยูขางเครื่องดานบนทางดานขวาของตัวเครื่อง 2. เสียบที่ชารจไฟเขาเตารับไฟฟา 3. เสียบหัว USB (หัวใหญ) ของสายสีขาวเขาที่เตารับ USB (หัวใหญ) ของที่ ชารจไฟเพื่อชารจไฟเขาเครื่อง (ปกติจะใชเวลาชารจไฟประมาณ 3 ชั่วโมง) 4. ถาเครื่องเริ่มเลนเสียงขาดๆ หายๆ หรือรูปแบตเตอรี่สีแดงบนหนาจอกระพริบ แสดงวาไฟในแบตเตอรี่ใกลหมด ใหรีบชารจไฟเขาเครื่อง 5. ในการใชงานครั้งแรก ควรชารจไฟเขาเครื่องอยางนอย 8 ชั่วโมงเพื่อกระตุน แบตเตอรี่ การเปลี่ยนแบตเตอรี่ เมื่อใชงานเครื่องไปประมาณ 2 ป หรือเครื่องเริ่มเก็บไฟไมอยูควรทําการเปลี่ยน แบตเตอรี่ภายในเครื่องใหมดังนี้ 1. ถอดฝาปดแบตเตอรี่ที่อยูดานหลังเครื่องออกโดยใชเล็บสอดเขาไปในชองโคง ครึ่งวงกลมแลวกดลงเพื่อถอดฝาปดออก 2. ถอดแบตเตอรี่ีเกาออกโดยดึงที่พลาสติกใสซึ่งติดอยูกับแบตเตอรี่ีทางดานขวา 3. ใสแบตเตอรี่ีใหมโดยใหขั้วไฟที่เปนแถบเล็กๆ ดานขาง 3 แถบของแบตเตอรี่ ตรงกับขั้วไฟในชองใสแบตเตอรี่ 4. ปดฝาปดแบตเตอรี่ีเขาที่เดิม หมายเหตุ : 1. แบตเตอรี่ีที่ใชเปนแบตเตอรี่ีรุน BL-5C สามารถหาซื้อไดที่รานขายโทรศัพทมือถือ 2. รายละเอียดอื่นๆ และรูปกรุณาดูในคูมือของเครื่องที่มาพรอมกับเครื่อง iii



๑. พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย

โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เสียงอานโดย พระกฤช นิมฺมโล สวนธรรมประสานสุข อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 1 2

ความนํา สิ่งที่ควรเขาใจกอน ความนํา ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา ตอน ๑ : ชีวิต คืออะไร? บทที่ ๑ ขันธ ๕ สภาวะของขันธ ๕ วิญญาณ เวทนา สังขาร สัญญา-สติ-ความจํา สัญญา-วิญญาณ-ปญญา ความสัมพันธระหวางขันธตางๆ ขันธ ๕ กับอุปาทานขันธ ๕ หรือชีวิต กับชีวิตซึ่งเปนปญหา คุณคาทางจริยธรรม บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: เรื่อง ขันธ ๕

1

3 5 6 7 8 9 10 11 12 13


บทที่ ๒ อายตนะ ๖ ตัวสภาวะ ประเภทของความรู ก. จําแนกโดยสภาวะ ข. จําแนกโดยทางรับรู ค. จําแนกโดยพัฒนาการทางปญญา ง. จําแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย ความถูกตองและผิดพลาดของความรู ก. สัจจะ ๒ ระดับ ข. วิปลาส หรือวิปลลาส ๓ พุทธพจนเกี่ยวกับอายตนะ คุณคาทางจริยธรรม บันทึกพิเศษทายบท

14 21 23 25 28 30 31 32 34 35

ตอน ๒: ชีวิต เปนอยางไร? บทที่ ๓ ไตรลักษณ ตัวกฎหรือตัวสภาวะ คําอธิบายไตรลักษณตามหลักวิชาในคัมภีร ๑. ความเขาใจเกี่ยวกับศัพทที่เกี่ยวของ ๑.๑. สังขารทั้งปวง กับ ธรรมทั้งปวง ๑.๒. สังขารในขันธ ๕ กับ สังขารในไตรลักษณ ๒. สิ่งที่ปดบังไตรลักษณ ๓. วิเคราะหความหมายของไตรลักษณ 2

36 38 39 40 42


๓.๑ อนิจจตาและอนิจจลักษณะ ๓.๒ ทุกขตาและทุกขลักษณะ ก. หมวดใหญของทุกข ข. ไตรลักษณมี ๓ ไมใชแคทุกข และทั้งสามเปนฐานของทุกขในอริยสัจ ค. ปญหาของมนุษย ที่มาในชื่อของทุกขมากมาย ๓.๓. อนัตตตา และอนัตตลักษณะ ก. ขอบเขตความหมาย ข. ความหมายพื้นฐาน ค. ความหมายที่ไมตองอธิบาย ง. ความหมายที่อธิบายทั่วไป ๔. อัตตา อนัตตตาและอัตตา–นิรัตตา อัตตา กับ มานะ คุณคาทางจริยธรรม ก. คุณคาที่ ๑ คุณคาดานการทําจิต หรือคุณคาเพื่อความหลุดพนเปนอิสระ ข. คุณคาที่ ๒ คุณคาดานการทํากิจ หรือคุณคาเพื่อความไมประมาท ค. ความสําคัญและความสัมพันธของคุณคาทางจริยธรรม ๒ ดาน ง. คุณคาเนื่องดวยความหลุดพน หรือคุณคาเพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณแหงความดีงาม จ. คุณคาทางจริยธรรมของไตรลักษณตามลําดับขอ ๑. อนิจจตา-วาตามสภาวะ อนิจจตา-ในดานชีวิตภายใน ๒. ทุกขตา ๓. อนัตตตา พุทธพจนเกี่ยวกับไตรลักษณ 3

43 44 45 47 50 52 53 54 55 61 63 64 65 66 69 74

75 76 77 81


ก. ความรูเทาทันสภาวะ อุปาทานปริตัสสนาสูตรที่ ๑ ข. คุณคาทางจริยธรรม อโยฆรชาดก ฐานสูตร โลกธรรมสูตร เรงทํากิจ และเตรียมการเพื่ออนาคต

82 83 84 85 86 87 88

ตอน ๓: ชีวิต เปนไปอยางไร? บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ตัวกฎหรือตัวสภาวะ ๑. ฐานะและความสําคัญ ๒. ตัวบทและแบบความสัมพันธในหลักปฏิจจสมุปบาท ๓. การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท ๔. ความหมายโดยสรุปเพื่อความเขาใจเบื้องตน ๕. คําอธิบายตามแบบ ก. หัวขอและโครงรูป ข. คําจํากัดความองคประกอบ หรือหัวขอตามลําดับ ค. ตัวอยางคําอธิบายแบบชวงกวางที่สุด ขอสังเกตและสิ่งที่ควรทําความเขาใจเปนพิเศษ ๑ ขอสังเกตและสิ่งที่ควรทําความเขาใจเปนพิเศษ ๒ ๖. ความหมายในชีวิตประจําวัน ความหมายเชิงอธิบาย 4

89 90 91 92 98 99 100 101 102 103 104


คําอธิบายแสดงความสัมพันธอยางงาย คําอธิบายแสดงความสัมพันธเชิงขยายความ ตัวอยางกรณีปลีกยอยในชีวิตประจําวัน ความหมายลึกลงไปขององคธรรมบางขอ - อาสวะ ๔ - ตัณหา ๓ - อุปาทาน ๔ ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะปจจยาการทางสังคม หมายเหตุ: การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ธรรมนิยาม ๑ และ ธรรมนิยาม ๓ ตถตา-ความเปนเชนนั้นเอง ขอควรรูควรสังเกต: คําศัพทธรรมชุด “ไตรลักษณ” ขอควรรูควรสังเกต: คําศัพทธรรมชุด “อิทัปปจจยตา” หลักความจริง และกฎธรรมชาติ ที่ครอบคลุม บันทึกที่ ๒: ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู บันทึกที่ ๓: เกิดและตายแบบปจจุบัน บันทึกที่ ๔: ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม บันทึกที่ ๕: ปญหาการแปลคําวา “นิโรธ” บันทึกที่ ๖: ความหมายยอขององคธรรม ในปฏิจจสมุปบาท บันทึกที่ ๗: ความหมายของภวตัณหา และวิภวตัณหา

5

105 106 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125


บทที่ ๕ กรรม ความนํา ความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม ก. กรรม ในฐานะกฎธรรมชาติอยางหนึ่ง ข. ความหมายของกรรม ค. ประเภทของกรรม เกณฑตัดสิน ความดี–ความชั่ว ก) ปญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว ข) ความหมายของกุศลและอกุศล ค) ขอควรทราบพิเศษบางอยางเกี่ยวกับกุศลและอกุศล ง) เกณฑวินิจฉัยกรรมดี – กรรมชั่ว สิ่งที่สังคมบัญญัติ เมื่อมองจากแงของกรรมนิยาม ๑) สิ่งที่สังคมบัญญัติ ไมเกี่ยวกับกุศลและอกุศลในกรรมนิยาม โดยตรง ๒) สิ่งที่สังคมบัญญัติ กระทบถึงกุศลและอกุศลในกรรมนิยามดวย ความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของคําวา “เจตนา” ขอสังเกตเรื่อง กรรมนิยาม และสมมตินิยาม จ) หลักคําสอนเพื่อเปนเกณฑวินิจฉัย การใหผลของกรรม ก) ผลกรรมในระดับตางๆ ข) องคประกอบที่สงเสริมและขัดขวางการใหผลของกรรม ค) ผลกรรมในชวงกวางไกล ง) ขอพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจนเรื่องตายแลวเกิดหรือไม จ) ขอสรุป: การพิสูจนและทาทีปฏิบัติตอเรื่องชาติหนา 6

126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143


ฉ) ผลกรรมตามนัยแหงจูฬกรรมวิภังคสูตร ขอควรศึกษายิ่งขึ้นไป เพื่อความเขาใจหลักกรรมใหชัดเจน ๑) สุขทุกข ใครทําให? ๒) เชื่ออยางไร ผิดหลักกรรม? ๓) กรรม ชําระลางไดอยางไร? ๔) แกกรรม ดวยปฏิกรรม ๕) กรรม ที่ทําใหสิ้นกรรม ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม? ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎมนุษย ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม? คุณคาทางจริยธรรม บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: กรรม ๑๒

144 145 146 147 148 149 152 153 156 158 159

ตอน ๔: ชีวิต ควรใหเปนอยางไร? บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน ความสุขที่ไมตองหา กระบวนธรรมดับทุกข หรือ ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ก. วงจรยาว ข. วงจรสั้น ภาวะแหงนิพพาน ภาวะของผูบรรลุนิพพาน ๑. ภาวิตกาย: มีกายที่ไดพัฒนาแลว 7

160 161 162 164 170 178


๒. ภาวิตศีล: มีศีลที่ไดพัฒนาแลว ๓. ภาวิตจิต: มีจิตที่ไดพัฒนาแลว ๔. ภาวิตปญญา: มีปญญาที่ไดพัฒนาแลว บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แหงนิพพานและผูบรรลุนิพพาน ๑. ประเภทและระดับของนิพพาน ประเภทของนิพพาน บันทึกที่ ๒: เรื่องความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และ สัมปรายิกะ ๑. สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๒. อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ นิพพานมีอยางเดียว แตแบงมองเปน ๒ ดาน อนุปาทิเสสนิพพาน ในภาษาสามัญหรือถอยคําที่ใชทั่วไป พุทธพจนที่ตรัสแสดงนิพพาน เพื่อความเขาใจรอบดานในเรื่องนิพพาน สรุปความหมายของนิพพาน ผลที่ปรากฏในชีวิตจริง ก) ลักษณะภายนอกและชีวิตหมู ข) ความมีใจอิสระและมีความสุข ค) ความเปนเจาแหงจิต เปนนายของความคิด ง) ความเปนกันเอง กับชีวิต ความตาย การพลัดพราก ผลที่ปรากฏในชีวิตจริง-ย้ําความอีก ๒ ขอ ขั้นตอนหรือระดับแหงการเขาถึงนิพพาน ๒. ประเภทและระดับของผูบรรลุนิพพาน แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรือ อริยบุคคล ๘ 8

182 185 189

192 194 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 214


บันทึกที่ ๔: เรื่อง สีลัพพตปรามาส ทักขิไณยบุคคลกับการละสังโยชน ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘ - จัดเปน ๔ คู แบบที่ ๒ ทักขิไณยบุคคล ๗ หรือ อริยบุคคล ๗ บันทึกที่ ๕: ความหมายของ ฌาน ทักขิไณย หรืออริยบุคคล ๗ สัมพันธกับอินทรียและวิโมกข เรื่องที่ควรกลาวแทรก เพื่อปองกันความสับสน ประเภทของพระอรหันต

215 216 217 218 219 220 221 222

บทที่ ๘ ขอควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเขาใจ ๑. สมถะ – วิปสสนา สมถะ วิปสสนา ๒. เจโตวิมุตติ – ปญญาวิมุตติ ความที่ตองการเนน ๒ ประการ วิมุตติตามความหมายอยางกวาง บันทึกที่ ๑ : ความเขาใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตา และนิพพาน นิโรธสมาบัติ ไมใชนิพพาน อกุปปาเจโตวิมุตติ เหตุปจจัยตางๆ ที่ทําใหเจโตวิมุตติเสื่อม วิมุตติ ๕

223 224 225 227 228 229 230 231 232 233

9


บทที่ ๙ หลักการสําคัญ ของการบรรลุนิพพาน ความเบื้องตน ก) หลักทั่วไป ในฌาน เจริญวิปสสนา หรือบรรลุมรรคผล ไดหรือไม เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใชทําวิปสสนาไมได วิธีปฏิบัติ ๔ อยางที่พระอานนทไดแสดงไว ๑. วิปสสนามีสมถะนําหนา ๒. สมถะมีวิปสสนานําหนา ๓. สมถะและวิปสสนาเขาคูกัน ๔. วิธีปฏิบัติเมื่อจิตเขวเพราะธรรมุธัจจ สมถยานิกและวิปสสนายานิก ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล พระอุภโตภาควิมุตและพระปญญาวิมุต ข) หลักสมถะที่เปนฐาน หลักสมถะที่เปนฐาน สํานวนที่ ๑ หลักสมถะที่เปนฐาน สํานวนที่ ๒ ความเขาใจสับสนคลาดเคลื่อน การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๑ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๒ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๓ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๔ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๕ พระอรหันตบรรลุมรรคผลกอนแลวจึงเจริญสมถะเพิ่มเติมจนได ฌานสมาบัติและอภิญญาไดหรือไม 10

234 235 236 237 238 239 240 241 242 243 244 245 246 247 248 249 250 251 252 253 254


ค) หลักวิปสสนาที่เปนมาตรฐาน สํานวนคําบรรยายสรุปการตรัสรูของพระพุทธเจา สํานวนสามัญ: พิจารณาขันธ ๕ สํานวนสามัญ: พิจารณาอายตนะ และธรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง สํานวนแบบสืบคน ตัวอยางธรรมที่พิจารณาไดทุกระดับ สํานวนแนววิปสสนา แสดงความแตกตางระหวางพระอริยบุคคล หลายระดับ ก. พระเสขะ กับ พระอรหันต ข. ผูปฏิบัติเพื่อโสดาปตติผล กับ พระโสดาบัน ค. พระโสดาบัน กับ พระอรหันต ง. พระอนาคามี กับ พระอรหันต จ. พระอรหันตปญญาวิมุต กับ พระอรหันตอุภโตภาควิมุต ฉ. พระพุทธเจา กับ พระปญญาวิมุต ง) หลักการปฏิบัติที่จัดเปนระบบ หลักการปฏิบัติตามนัยแหงคัมภีรวิสุทธิมัคค ระดับศีลและสมาธิ ระดับปญญา

255 256 258 259 260 261

262 263 264 265 266 267 268 269 270

บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน คุณคาและลักษณะพิเศษที่พึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน 271 ๑. จุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนสิ่งที่อาจบรรลุไดในชาตินี้ ๒. นิพพานเปนจุดหมายที่ทุกคนเขาถึงได ไมจํากัดชาติชั้น หญิงชาย 272 273 ๓. นิพพานอํานวยผล ที่ยิ่งกวาลําพังความสําเร็จทางจิตจะใหได 11


จุดที่มักเขวหรือเขาใจพลาด เกี่ยวกับนิพพาน ๑. ความยึดมั่น ในความไมยึดมั่น ๒. ลักษณะที่ชวนใหสับสน หรือหลงเขาใจผิด ๓. ความสุข กับความพรอมที่จะมีความสุข ปญหาสําคัญเกี่ยวกับนิพพาน ๑. นิพพาน กับอัตตา ๒. พระอรหันต สิ้นชีวิตแลวเปนอยางไร?

274 275 276 277 280

ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา ตอน ๕: ชีวิต ควรเปนอยูอยางไร? บทที่ ๑๑ บทนํา ของมัชฌิมาปฏิปทา มัชฌิมาปฏิปทา ตอเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา มิจฉาปฏิปทา – สัมมาปฏิปทา อาหารของอวิชชา – อาหารของวิชชาและวิมุตติ ธรรมเปนอาหารอุดหนุนกัน พรหมจรรยที่สําเร็จผล ธรรมจริยา ๑๐ ประการ หรือ กุศลกรรมบถ ๑๐ ความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา มรรค ในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา มรรค ในฐานะขอปฏิบัติ หรือทางชีวิต ทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ มรรค ในฐานะหลักปฏิบัติที่เนื่องดวยสังคม มรรค ในฐานะทางใหถึงความสิ้นกรรม 12

286 288 291 292 293 294 295 296 297 298


มรรค ในฐานะอุปกรณสําหรับใช มิใชสําหรับยึดถือหรือแบกโกไว มรรค ในฐานะพรหมจรรย หรือพุทธจริยธรรม มรรค ในฐานะมรรคาสูจุดหมายขั้นตางๆ ของชีวิต มรรค ในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสําหรับสรางอารยชน อริยมรรค กับ ไตรสิกขา ชาวบาน ดําเนินมรรคาดวยการศึกษาบุญ กระบวนธรรมในตัวคน ของมรรค กับกระบวนการฝกคน ของสิกขา จุดเริ่ม พัฒนาเปนจุดสําเร็จ แหงความกาวหนาในมรรคา

299 300 302 305 306 308 309 312

บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑: ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแหงมัชฌิมาปฏิปทา ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒ บุพนิมิตที่ ๑: ปรโตโฆสะ – กัลยาณมิตร (วิธีการแหงศรัทธา) ความสําคัญของการมีกัลยาณมิตร คุณสมบัติของกัลยาณมิตร บันทึกที่ ๑: ความสําคัญของสังคหวัตถุ ๔ การทําหนาที่ของกัลยาณมิตร หลักศรัทธาโดยสรุป พุทธพจนแสดงหลักศรัทธา บันทึกที่ ๒: การแปลบาลีในกาลามสูตร พุทธพจนแสดงความสําคัญและความดีเดนของปญญา

313 314 315 317 322 326 328 329 330 338

13


บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ ความนํา ฐานะของความคิด ในระบบการดําเนินชีวิตที่ดี ฐานะของความคิด ในกระบวนการของการศึกษา หรือการพัฒนาปญญา ก) จุดเริ่มของการศึกษา และความไรการศึกษา ข) กระบวนการของการศึกษา ค) ความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับจุดเริ่มตนของการศึกษา ง) ความคิดที่ไมเปนการศึกษา และความคิดที่เปนการศึกษา บุพนิมิตที่ ๒: โยนิโสมนสิการ (วิธีการแหงปญญา) ความสําคัญของโยนิโสมนสิการ ความหมายของโยนิโสมนสิการ วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๑. วิธคี ิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย ๒. วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ ๓. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ วิสุทธิ ๗ พุทธพจน ๔. วิธีคิดแบบอริยสัจ/คิดแบบแกปญหา บันทึกที่ ๑: วิธีคิดแบบแกปญหา : วิธีคิดแบบอริยสัจ กับ วิธีคิดแบบวิทยาศาสตร ๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ ๖. วิธีคิดแบบรูทันคุณโทษและทางออก ๗. วิธีคิดแบบคุณคาแท-คุณคาเทียม ๘. วิธีคิดแบบเรากุศล 14

339 340 341 342 343 345 346 347 350 351 352 353 354 355 356 357 358 361 364 365


๙. วิธีคิดแบบอยูกับปจจุบัน ๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท ก. จําแนกโดยแงดานของความจริง ข. จําแนกโดยสวนประกอบ ค. จําแนกโดยลําดับขณะ ง. จําแนกโดยความสัมพันธแหงเหตุปจจัย จ. จําแนกโดยเงื่อนไข ฉ. จําแนกโดยทางเลือก หรือความเปนไปไดอยางอื่น ช. วิภัชชวาทในฐานะวิธีตอบปญหาอยางหนึ่ง ขอความในบาลีแหงตางๆ มาแสดงตัวอยางแหงวิภัชชวาท สมิทธิปริพาชก-บุคคลทํากรรมประกอบดวยเจตนา พระพุทธเจาตรัสจําแนกกามโภคี คือชาวบาน การจําแนกโดยวิภัชชวาทแบบนี้ ทําใหความคิด ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูอยูปา มี ๕ ประเภท สรุปความ เพื่อนําสูการปฏิบัติ เด็กเล็กคนหนึ่งของครอบครัวซึ่งมีฐานะดี โยนิโสมนสิการเปนตัวนํา ที่ทําใหการศึกษาเริ่มตน เตรียมเขาสูมัชฌิมาปฏิปทา พระรัตนตรัย บทที่ ๑๔ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปญญา บทนํา - ปญญา ๑. สัมมาทิฏฐิ ความสําคัญของสัมมาทิฏฐิ 15

370 372 373 374 375 376 377 378 379 380 381 382 383 384 385 386 387 388 389

390 391


คําจํากัดความของสัมมาทิฏฐิ ขอควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ ๑. โลกียสัมมาทิฏฐิ ๒. โลกุตรสัมมาทิฏฐิ สัมมาทิฏฐิ กับการศึกษา ๑) การฝกศีลที่อาศัยความเคยชินและศรัทธา ๒) การฝกศีลที่ใชโยนิโสมนสิการกํากับ สัมมาทิฏฐิกับการศึกษาในแงมุมตางๆ ๒. สัมมาสังกัปปะ ขอสังเกตเรื่องธรรมฝายกุศล และอกุศล สัมมาสังกัปปะ กับโยนิโสมนสิการ สัมมาสังกัปปะ กับมรรคหมวดศีล เมตตาในแงมุมตางๆ บทที่ ๑๕ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล ๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากัมมันตะ ๕. สัมมาอาชีวะ บทนํา-องคมรรค ๓ ขอในฝายศีล ศีล ในความหมายที่เปนหลักกลาง อันพึงถือเปนหลักความประพฤติ ลักษณะของศีล หรือหลักความประพฤติเบื้องตน แบบเทวนิยม กับแบบสภาวนิยม ลักษณะของศีลในพุทธธรรม ศีลแบบสภาวนิยมกับเทวนิยม ขอไดเปรียบของศีลแบบเทวโองการ ศีลสําหรับประชาชน 16

392 393 394 395 396 397 398 399 404 405 406 407 408

409 410

411 412 413


ความเขาใจพื้นฐาน ก. ศีลพื้นฐาน ข. ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ เศรษฐกิจจะดี ถามีศีล ก. การแสวงหา และการรักษาทรัพย ข. ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถควรมี ค. การใชจายทรัพย ง. เตรียมปญญาไว ถึงหาทรัพยได อิสรภาพตองไมเสีย จ. สังฆะ คือชุมชนของบุคคลที่เปนอิสระ ทั้งโดยชีวิตและดวยจิตปญญา คําแถมทาย ก. ในแงบุคคล ข. ในแงสังคม ค. ในแงรัฐ ง. ในแงระบบเศรษฐกิจการเมือง บทที่ ๑๖ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ ๖. สัมมาวายามะ ๗. สัมมาสติ คําจํากัดความ สติในฐานะอัปปมาทธรรม สติโดยคุณคาทางสังคม บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปญญา หรือการกําจัดอาสวกิเลส สติปฏฐานในฐานะสัมมาสติ 17

414 416 420 421 425 426 427 428 429 432 435 436 437 438

439 442 443 445 446 447


สาระสําคัญของสติปฏฐาน ก. กระบวนการปฏิบัติ ข. ผลของการปฏิบัติ เหตุใดสติที่ตามทันขณะปจจุบัน จึงเปนหลักสําคัญของวิปสสนา? สติปฏฐาน เปนอาหารของโพชฌงค ๘. สัมมาสมาธิ ความเขาใจเบื้องตน ก. ความหมายของสมาธิ ข. ระดับของสมาธิ ค. ศัตรูของสมาธิ ง. ลักษณะของจิตที่เปนสมาธิ จ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: มองอยางทั่วไป ฉ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: สรุปตามประเภทของสมาธิภาวนา ช. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: ในแงชวยปองกันความไขวเขว วิธีเจริญสมาธิ ๑) การเจริญสมาธิแบบธรรมดาพาไปเอง ๒) การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท ๓) การเจริญสมาธิอยางสามัญ หรือฝกสมาธิโดยใชสติเปนตัวนํา ๔) การเจริญสมาธิอยางเปนแบบแผน ขอ ๑. ปลิโพธ ๑๐ ขอ ๒. เขาหากัลยาณมิตร ขอ ๓. รับกรรมฐานที่เหมาะกับจริยา/จริต 18

448 450 451 452 453

455 456 457 458 459 460 461 462 463 464 467 468 469 470 471


ความหมายของจริยา การรับกรรมฐาน ขอ ๔. เขาประจําที่ ขอ ๕. เจริญสมาธิ: หลักทั่วไป ขอ ๖. เจริญสมาธิ: อานาปานสติภาวนา เปนตัวอยาง ก) ขอดีพิเศษของอานาปานสติ ข) พุทธพจนแสดงวิธีปฏิบัติ ค) วิธีปฏิบัติภาคสมถะ -กําหนดลมหายใจ -การติดตาม ผลสูงสุดของสมาธิ และสูความสมบูรณเหนือสมาธิ ก) ผลสําเร็จและขอบเขตความสําคัญของสมาธิ ข) องคประกอบตางๆ ที่ค้ําจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชนของสมาธิ (๑) ฐาน ปทัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ (๒) องคประกอบรวมของสมาธิ (๓) เครื่องวัดความพรอม (อินทรีย ๕) (๔) คณะทํางานของปญญา อาหารและอนาหารของนิวรณ (๕) องคมรรคสามัคคีพรอมไดที่ องคมรรคหลายอยางทําหนาที่ไดในขณะเดียวกันไดอยางไร ความสําเร็จของแตละบุคคลแตกตางกันเพราะเหตุใด พุทธพจนแสดงโพธิปกขิยธรรมและมรรค บันทึกที่ ๑: การเจริญสติปฏฐาน คือการอยูอยางไมมีความทุกขที่จะตองดับ

19

472 473 475 476 477 478 479 480 481 482 484 485 486 488 489 492 493 494 495 496


บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔ ฐานะและความสําคัญของอริยสัจ ความหมายของอริยสัจ อริยสัจ กับปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท กับอริยสัจ พิเศษ กิจในอริยสัจ ญาณ ๓ ขอควรทราบเพิ่มเติม แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป ก) ยกทุกขขึ้นพูดกอน เปนการสอนเริ่มจากปญหา เพื่อใชวิธีการแหงปญญา ข) คนเหตุปจจัยใหพบดวยปญญา ไมมัวหาที่ซัดทอด ค) ชีวิตที่เปนอยูดวยปญญา มีความสุขอยางอิสระ และทํากิจดวยกรุณา ง) ถาถึงพระรัตนตรัย ก็ไมรอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฤทธิ์ปาฏิหาริย เลิกฝากตัวกับโชคชะตา จ) ทางของอารยชนกวางและสวาง ทั้งพึ่งตนได และคนทั้งหลายก็ชวยหนุนกัน ฉ) เมื่อพระรัตนตรัย พาเขาและคืบไปในไตรสิกขา มรรคก็พัฒนาสูจุดหมาย วิธีแกปญหาแบบพุทธ คุณคาที่เดนของอริยสัจ ขอสังเกตบางประการ ในการศึกษาพุทธธรรม ก. ภาคมัชเฌนธรรมเทศนา หรือ ภาคกระบวนธรรม ข. ภาคมัชฌิมาปฏิปทา หรือ ภาคกระบวนวิธี สรุป “พุทธธรรม” ลงในอริยสัจ 20

497 498 499 500 501 502 503 504 505 506 507 508 509 510 511 513 514 515 516


ภาค ๓ อารยธรรมวิถี ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เปนอยางไร? บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน บทนํา และคุณสมบัติของบุคคลโสดาบัน ฝายมี และฝายหมด ละหรือมีก็เชนกัน สะพานสูนิพพาน บุคคลโสดาบันตามนัยพุทธพจน โสตาปตติยังคะ-ก.ลักษณะ-ข.คุณสมบัติทั่วไป โสตาปตติยังคะ-ก.ลักษณะ-ข.คุณสมบัติทั่วไป โสตาปตติยังคะ-ง.กอนเปนโสดาบัน คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน - ศรัทธา - ศีล - สุตะ - จาคะ - ปญญา สรุปคุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน คุณสมบัติเดน ๒ ขอของบุคคลโสดาบัน บันทึกพิเศษทายบท

21

517 519 520 521 522 523 524 525 526 527 528 529 530 531 532


บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณทางสังคม บทนํา และสามคําสําคัญในชุดของศีล: ศีล วินัย สิกขาบท ศีลระดับธรรมอยูที่ตัวคน ศีลระดับวินัยขยายผลเพื่อสังคม ตัวอยางหลักปฏิบัติที่มุงเพื่อเชิดชูธรรมความดีงามและประโยชนสุขของสังฆะ ก) การกราบไหวตามแกออนพรรษา ข) พุทธบัญญัติหามภิกษุอวดอุตริมนุสสธรรม ค) ทําไมจึงทรงยกยองสังฆทานวามีผลมากที่สุด หัวใจของวินัย: เคารพสงฆ ถือสงฆและกิจสงฆเปนใหญ มั่นในสามัคคี ชูธรรม ถือหลักการ มีประโยชนสุขของประชาชนเปนจุดหมาย วินัยในความหมายที่กวางใหญเลยจากศีล บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: แสดงธรรม บัญญัติวินัย บันทึกที่ ๒: ศีล วินัย ศีลธรรม บันทึกที่ ๓: ความหมายบางอยางของ “วินัย” บันทึกที่ ๔: การปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของพหูชน บันทึกที่ ๕: เคารพธรรม เคารพวินัย บันทึกที่ ๖: การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย – เทวดา บทนํา และมนุษยทั้งหลายลวนแตมัววุนวายกับปญหาวา มีหรือไมมี จะเชื่อหรือไมเชื่อ ก็ควรปฏิบัติตอสิ่งนั้นใหถูกตอง อิทธิปาฏิหาริย อิทธิปาฏิหาริย คืออะไร? และแคไหน? ปาฏิหาริย ไมใชแคฤทธิ์ แตมีถึง ๓ อยาง 22

533 535 538 539 541 542 544 546 547 548 549 550 551

552 554 555 556


อิทธิปาฏิหาริย ไมใชธรรมที่เปนแกนสาร อิทธิฤทธิ์ ชนิดอริยะ และชนิดอนารยะ โทษแกปุถุชน ในการเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์ แนวปฏิบัติที่ถูกตอง ในการเขาไปเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์ บันทึกที่ ๑: อิทธิปาฏิหาริยในคัมภีร การแสดงอิทธิปาฏิหาริยของพระสาวก เรื่องที่เลาในอรรถกถา มีมากมาย เรื่องฤทธิ์ของคนอื่นๆ มีมาในบาลีบางบางแหง เทวดา มนุษย กับ เทวดา เปรียบเทียบฐานะกัน ญาณทัสสนะของพระผูเหนือกวาเทพ มนุษยกับเทวดา ความสัมพันธใด ที่ลาสมัย ควรเลิกเสีย หวังพึ่งเทวดา ไดผลนิดหนอย แตเกิดโทษมากมาย สรางความสัมพันธที่ถูกตอง ระหวางมนุษยกับเทวดา ความสัมพันธแบบชาวพุทธ ระหวางมนุษยกับเทวดา บันทึกที่ ๒: การชวย และการแกลง ของพระอินทร บันทึกที่ ๓: สัจกิริยา ทางออกที่ดี สําหรับผูยังหวังอํานาจดลบันดาล บันทึกที่ ๔: พระพุทธ เปนมนุษย หรือเทวดา สรุปวิธีปฏิบัติตอเรื่องเหนือสามัญวิสัย พัฒนาการแหงความสัมพันธ ๓ ขั้น กาวสูขั้นมีชีวิตอิสระ เพื่อจะเปนชาวพุทธที่แท วิธีปฏิบัติที่ถูกตอง ตอสิ่งเหนือสามัญวิสัย ปฏิบัติถูกตอง คือเดินหนา เปนชาวพุทธ คือไมหยุดพัฒนา ภาคผนวก-สรุปหลักการสําคัญของพุทธศาสนา 23

557 558 559 560 561 562 563 564 565 566 567 568 569 570 571 572 573 574 575 576 577 578


เหตุใดพระพุทธเจาทรงรังเกียจอิทธิปาฏิหาริย วัตถุมงคล-พระก็ให-สรุปแลวคนไทยนับถือพุทธ หรือไสยศาสตร การนับถืออํานาจดลบันดาลภายนอก-ตางจากพุทธ

579 580 581

บทที่ ๒๑ บทความประกอบที่ ๔: ปญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ บทนํา และกลไกชีวิตในการกระทํา แงความหมายที่ชวยใหเขาใจตัณหา และฉันทะ ชัดยิ่งขึ้น ความเขาใจหลักธรรม ตามหลักฐานทางวิชาการ “ฉันทะ” อยางไหนเปนตนตอของทุกข อยางไหนคือที่ตั้งตนของกุศลธรรม “ฉันทะ” ถึงจุดลงตัวของความหมายที่ใชเปนมาตรฐาน การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ: ตัณหา กับฉันทะ อธิบายเชิงเปรียบเทียบ ปญหาจากระบบเงื่อนไขของตัณหา ผลดีจากระบบตรงไปตรงมาของฉันทะ สภาพการกิน ภายใตครอบงําของระบบเงื่อนไข การสืบพันธุ: ระบบธรรมชาติที่แทบเลือนหาย ภายใตอารยธรรมแหงกามคุณ กินดวยปญญา พาใหกินพอดี ขอพิจารณาเชิงซับซอน เมื่อไมมีอะไรลอตัณหา ก็พึ่งพาไดแตฉันทะ คนวนอยูที่อยากใหตัวไดสิ่งที่ปรารถนา รักษาความมั่นคงของอัตตาไว ฉันทะตอของ ขยายสูเมตตาตอคน แมวาฉันทะจะขยายไปถึงเมตตากรุณา ตัณหาก็ยังตามไปรังควาน ทวนความหมาย และกระบวนการเกิดของฉันทะ ฉันทะอยากชั่ว ตัณหาอยากดี มีหรือไม?

582 584 585 586 587 588 589 590 591 592 593 594 595 596 597 598 599 600 601

24


ระวังไว ฉันทะมา ตัณหาอาจจะสอด หรือแทรกสลับ อยากนิพพาน อยางไรเปนฉันทะ อยางไรเปนตัณหา ตัณหาใหละแน แตฉันทะก็ละอีกแบบหนึ่ง จะละตัณหา ก็ใชตัณหาได แตไมวายตองระวัง บทสรุป มนุษยเปนสัตววิเศษ ตองเพิ่มเดชดวยฉันทะ มิใชจะมัวเปนทาสของตัณหา ถึงจะพนตัณหา ไดฉันทะมา ก็ยังตองเดินหนาไปกับปญญา จนกวาจะพนปญหาแทจริง ปญญามาแทนที่ ตัณหาหมดหนาที่ มีฉันทะเต็มที่ ปญญาและกรุณา ตัวกํากับและขับเคลื่อนการทํางานของมหาบุรุษ สรุปขอควรกําหนดเกี่ยวกับตัณหาและฉันทะ พัฒนาคนได ดวยการพัฒนาความตองการของเขา บทที่ ๒๒ บทความประกอบที่ ๕: ความสุข ๑: ฉบับแบบแผน รูจักกามสุข และเสพบริโภคอยางมีปญญา ที่ทําใหเปนอิสระเสรี ความสุขมีหลากหลาย สูงขึ้นไปตามลําดับขั้น กามสุขของมนุษย ของสวรรค และความสุขที่ดีกวานั้น สวนเสีย หรือขอดอยของกามสุข พระพุทธเจายืนยันวา ทรงมีความสุขยิ่งกวาบุคคลที่โลกถือกันวามีความสุขที่สุด เทียบกามสุขต่ําไว เพื่อใหเรงพัฒนาความสุข จะไดมีสุขที่เลือกได และกาวขึ้นไปใหถึงสุขที่สูงสุด ถึงจะยังบริโภคกามสุข ก็ตองมีปญญารักษาอิสรภาพไว รูหนทางปลอดภัยจากกามทุกข

25

602 603 604 605 606 607 608 609 610 611

612 613 614 615 616 617 618


บริโภคกามสุขอยางอิสรชน รูจักจัดรูจักใชขยายประโยชนสุข ก็เปนผูประเสริฐ เปนอริยสาวก สุขใน สุขประณีต จนถึงสุขสูงสุด สุขเหนือเวทนา สุขไดไมตองพึ่งเวทนา คืออิสรภาพ และเปนสุขภาวะที่สมบูรณ ถึงนิพพาน สุขเต็มสุดแลว จะเลือกสุขอยางไหนก็ได ทําไมมองลงมาไมถึงกามสุข ทบทวนความสุขที่คนสามารถพัฒนาไปถึงได บทสรุป หลักการพื้นฐานแหงการตรัสรูของพระพุทธเจาวา ความสุขลุถึงไดดวยความสุข เรียนรูใหชัด วิธีปฏิบัติตอความสุข มองความสุขเชิงปฏิบัติ วัดจากการพัฒนาของชาวบานขึ้นไป ๑. กรณีที่เสวยกามสุข ๒. กรณีที่ไมเสวยกามสุข บันทึกพิเศษทายบท บทที่ ๒๓ บทความประกอบที่ ๖: ความสุข ๒ : ฉบับประมวลความ พุทธศาสนา คือ ระบบการพัฒนาความสุข พุทธศาสนาสอนวา สุขถึงไดดวยสุข ภาคหลักการ ความสุข คืออะไร ความตองการ คืออะไร และสําคัญอยางไร พอจะไดใจพองฟูขึ้นไป เปนปติ ไดสมใจสงบลงมา เปนความสุข สองทางสายใหญ ที่จะเลือกไปสูความสุข 26

619 622 623 624 625 626 627 628 629 630 631

632 633 634 635 636 637


ถาการศึกษาพัฒนาคนใหมีความสุขดวยฉันทะได จริยธรรมไมหนีไปไหน กฎมนุษยสรางระบบเงื่อนไข ถาใหระบบเงื่อนไขหนุนกฎธรรมชาติได ก็จะมีผลดีจริง รูทันวาอยูในระบบเงื่อนไข ก็ใชมันใหเต็มคุณคา ความสนุกในการเรียน กับความสุขในการศึกษา แคมีความสุขในการเรียน ยังไมพอ ตองขอใหเรียนแลว กลายเปนคนมีความสุข ความสุขมีมากมาย ธรรมชาติรอบกายก็รอจะใหความสุข จะพัฒนาความสุข ตองพัฒนาความตองการตอเพื่อนมนุษยดวย ความสุขเหนือกาล เมื่อเหนือการสนองความตองการ สุขเพราะไดเกาที่คัน กับสุขเพราะไมมีที่คันจะตองเกา การพัฒนาความสุข: วัดผลเชิงอุดมคติ ภาคปฏิบัติการ ทุกขมีทุกขมา อยาเสียทาเอาใจรับ จงเรียกปญญาใหมาจับเอาทุกขไปจัดการ ทั้งทุกขและสุข ปฏิบัติใหถูก มีแตสุข ทุกขไมมี ความสุขที่พึงเนน สําหรับคนทั่วไป เริ่มตั้งแตในบาน พัฒนากามสุขที่สุขแยงกัน ใหมีความสุขที่สุขดวยกัน ชีวิตจะวัฒนา ถาไดปราโมทยมาเปนพื้นใจ สังคมจะมีสันติสุขได คนตองรูจักความสุขจากการให ไมเฉพาะสังคม แมในสังฆะ พระก็ถือหลักแบงปนลาภ ใหความดีงามในจิตใจบุคคล ออกมาเปนปฏิบัติการเกื้อสังคม บุคคลเอื้ออารี สังคมสามัคคี ทุกคนได ทุกคนดี มีสุขดวยกันและทั่วกัน คนมีปญญา แมแตทุกข ก็เห็นคุณคา และใชประโยชนได ความสุขมีคุณมาก โทษก็หนัก ตองรูจักใช 27

638 639 640 641 642 643 644 645 646 647 648 649 650 651 652 653 654 655 656 657 658 659


ของเสพเต็มไปหมด สุขกลับลด ทุกขก็งาย จะสุขงาย ทุกขไดยาก หากฝกไว บทลงทาย ความสุขที่สมบูรณ ดูอยางไร เมื่อสุขของบุคคล คือสุขเพื่อมวลชนทั้งโลก บันทึก

28

660 661 662 663


๒. รวมธรรมบรรยาย ๔๓ ชุด

โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๑. พุทธประวัติ และประวัติศาสตร ๑.๑ จาริกบุญ จารึกธรรม ยอนทางเขาสูแดนพุทธภูมิ เฝาพระพุทธเจาถึงที่ประทับ ความยิ่งใหญที่ทําใหทั้งเจริญและเสื่อม หัวใจธรรม จากจุดศูนยกลาง โพธิพฤกษ - โพธิญาณ จุดเริ่มของแผนดินธรรม ถาสังเวชเปน ก็จะไดเห็นธรรมกาย ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ รักษาธรรม คือรักษาความเปนไท

664 665 666 667 668 669 670 671 672 673

๑.๒ จากอินเดีย สูเอเชีย มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๑ มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๒ มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๓ มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๔

674 675 676 677

29


ภัยแหงพระพุทธศาสนาในประเทศไทย มลายูสูแหลมทอง ศูนยพุทธโลก ที่เชื่อมสามัคคี และมีดีใหเขาโดยที่เราไมเสียตัว ตอนที่ ๑ ศูนยพุทธโลก ที่เชื่อมสามัคคี และมีดีใหเขาโดยที่เราไมเสียตัว ตอนที่ ๒ ศูนยพุทธโลก ที่เชื่อมสามัคคี และมีดีใหเขาโดยที่เราไมเสียตัว ตอนเสริมเบ็ดเตล็ด ๑.๓ เลาเรื่องใหโยมฟงชุดที่ ๑ เมื่อพระพุทธองค ทรงผจญคนโกรธ เพราะโกรธหาย จึงไดสุข พระเจาพิมพิสาร ราชวงศปตุฆาต วัดเวฬุวัน จากปจจุบันสูอดีต โยมเที่ยวอินเดีย พระเลาประวัติศาสตร เลาเรื่องเมืองพาราณสี ความหมายของ อัตตา กาลเวลา อานิสงสของศีล ทํากิจ ทําจิต พระ กับ ธรรมวินัย สิกขาบทนอกปาติโมกข แถมเรื่อง สีของจีวร สังขารในขันธ ๕ กับ สังขารในไตรลักษณ ศัพทหลากหลายในหนังสือ พุทธธรรม 30

678 679 680 681 682

683 684 685 686 687 688 689 690 691 692 693 694 695 696


ความหมายที่ถูกตองของ ทรมาน ความหมายที่ถูกตองของ ภาวนา ตัณหา มานะ ทิฏฐิ เสรีภาพ เสรีธรรม ความสงบ เครื่องมือวัดความเจริญของชาวพุทธ ขยายความเรื่อง ศรัทธา ขยายความเรื่อง ศีล ขยายความเรื่อง สุตะ ขยายความเรื่อง จาคะ ขยายความเรื่อง ปญญา สันโดษ ธุดงค มนุษยธรรม เทวธรรม อริยธรรม อุโบสถ คืออะไร ถืออยางไร ประโยชนที่พึงมุงหมายในชีวิต การอุปถัมภค้ําชูพระศาสนา สันติภาพเกิดขึ้นไดอยางไร ธรรมของสัตตบุรุษ สังฆทาน

697 698 699 700 701 702 703 704 705 706 707 708 709 710 711 712 713 714 715

๑.๔ เลาเรื่องใหโยมฟง ชุดที่ ๒ เมื่อชีวิตมีปญหา ตองใชปญญาแก ปญญาในชาดก เรื่องที่ ๑ ปญญาในชาดก เรื่องที่ ๒

716 717 718 31


ปญญาของพระกุณฑลเกสีเถรี ปญญาระดับสามัญ ทางเกิดของปญญา การบําเพ็ญปญญาบารมี วิธีเจริญปญญา เกร็ดความรูเรื่องบทสวดมนต พุทธคุณ ขอที่ ๑ สุคโต พุทธคุณ ขอที่ ๒ อรหัง พุทธคุณ ขอที่ ๓ สัมมา พุทธคุณ ขอที่ ๔ วิชชาจรณะสัมปนโน พุทธคุณ ขอที่ ๕ โลกวิทู พุทธคุณ ขอที่ ๖ อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ พุทธคุณ ขอที่ ๗ สัตถา เทวมนุสสานัง พุทธคุณ ขอที่ ๘ พุทโธ พุทธคุณ ขอที่ ๙ ภควา สมาธิ-อธิจิตตสิกขา-ขันติ ธรรมะกับการเลือกตั้ง ไตรลักษณ ในชีวิตประจําวัน ชวนฟงเรื่องพระเวสสันดร กอนประณามวาทานทิ้งลูกเมีย ลิงในนิทานชาดก สัพพาสวสังวรสูตร พระสูตรอันวาดวยการตัดอาสวะทั้งปวง พระพุทธบาท ริมฝงน้ํานัมมทา มหาสาโรปมสูตร พระสูตรอันวาดวยอุปมาแหงแกนไม

32

719 720 721 722 723 724 725 726 727 728 729 730 731 732 733 734 735 736 737 738 739 740 741


มนุษยธรรม เทวธรรม อริยธรรม (อุตตรานันทมารดา อุบาสิกายอดอุปฏฐาก) โพชฌงค องคธรรมเพื่อความรูแจง ๑.๕ ชาวพุทธนั้น ความรูฐานก็มั่น ความรูทันก็มี พระไตรปฎกบาลีนี้รักษากันมาอยางไร ใครๆ จึงพากันยอมรับเปนหลัก ภาษาบาลี รูจักกันแคไหน บวชภิกษุณี เมื่อรูเรื่องแจมแจงและมีใจดี ก็มาชวยกันดู บวชภิกษุณี มีขอควรรูประกอบไว ปญหาภิกษุณี คิดใหดีก็ไมยาก คนเชนไร จะรักษาธรรมไวไดในสังคม ตอนที่ ๑ คนเชนไร จะรักษาธรรมไวไดในสังคม ตอนที่ ๒ คนเชนไร จะรักษาธรรมไวไดในสังคม ตอนที่ ๓ พุทธแคไหนคือเถรวาท พุทธอยางไรเปนมหายาน ตอนที่ ๑ พุทธแคไหนคือเถรวาท พุทธอยางไรเปนมหายาน ตอนที่ ๒ ภัยแหงพระพุทธศาสนาในประเทศไทย เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๑ เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๒ เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๓ เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๔

33

742 743

744 745 746 747 748 749 750 751 752 753 754 755 756 757 758


๒. หลักธรรมและการปฏิบัติ ๒.๑ ตามพระใหมไปเรียนธรรม บวชอยางไร พอแมปูยาตายาย จะไดบุญมาก พอบวชพนอกพอแม ตองรูใหแน วาจะมีชีวิตเปนอยูอยางไร พอบวชเสร็จเปนพระใหม อะไรทําได ทําไมได ตองรูทันที พอเขาสูศาสนา ก็เห็นการบูชา จึงตองรูวาจะบูชาอยางไรดี ชีวิตพระใหม เริ่มตนอยางไร จึงจะพอใหชื่นใจวาเราไดบวชเรียน จะอยูวัดบานหรืออยูวัดปาก็นาศรัทธา ถามีธรรมใหแกประชาชน ตัวมีชื่อวาเปนพระ แตถาไมปฏิบัติใหถูก ก็แคคือกันกับหมอผี สวดมนตเปนเรื่องใหญ สวดกันทําไมตองรูใหชัด พุทธศาสนาเกิดขึ้นมา มิใชวาพิธีกรรมจะไรความหมาย ถาไมถือแบบงมงาย ก็อาจใชพิธีกรรมมาสื่อธรรมใหถึงคน วัตถุมงคลตองใชผูกใจประชาชนไวกับธรรม เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี ถารูภูมิหลังของอินเดียสักหนอย ก็จะคอยเห็นแกนของพระพุทธศาสนา มนุษยเปนสัตวประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไม แตประเสริฐไดดวยการฝก ธรรมะมีความหมายมากมาย แตรูไวแค ๔ ก็พอ ถาอยูแคความรูสึกก็เปนคนพาล ถาเอารูมาประสานได ก็อาจเปนบัณฑิต การศึกษาเริ่มที่ตาหู จะดูฟงไดแคตัณหา หรือไปถึงปญญา นี่คือตัวตัดสิน อารยธรรมมนุษยหนีวงจรเจริญแลวเสื่อมไมได เพราะวายวนอยูแคในกระแสตัณหา อะไรกันคนไทย ยังไมรูจักวาสันโดษอยางไหนดี อยางไหนไมดี 34

759 760 761 762 763 764 765 766 767 768 769 770 771 772 773 774 775 776 777 778


อยาเอาความอยากที่ชั่วรายมาปะปน ความอยากที่เปนกุศลนั้นเราตองมี คนดอยพัฒนา มัวรอเทวดาใหมาชวย อารยชนรูจักพึ่งตนและชวนคนใหรวมดวยชวยกัน อิทธิบาท ๔ อยาดีแตรูจักชื่อ ตองรูเขาใจ เอาไปใชใหไดดวย แคเมตตากรุณา คนไทยก็หลงปา ไปไมถึงมุทิตาอุเบกขาสักที ประเทศพุทธอยางไทย ทําไมไมเจริญอยางฝรั่ง บอกวาไทยนับถือพุทธเจริญไมมาก ขอถามหนอยวา คนไทยเอาพุทธมาปฏิบัติมากแคไหน ถาเขาถึงความจริงของธรรมชาติ แลวเอามาจัดการชีวิตและสังคมใหดีได ก็จบความหมายของพระพุทธศาสนา โยมขอศีล พระใหสิกขาบท ขอสมาธิ ใหกรรมฐาน ขอปญญา ใหคําสอนหรือขอพิจารณา แมจะมีเพียงวินัยโดยธรรมชาติอยางฝูงนกและกลีบดอกไม ก็ยังดีกวาคนไรปญญา ไมรูจักวินัย การพัฒนาชีวิต พัฒนาสังคม จะไมลมสลาย ถาวินัยยังอยูเปนฐาน ฝกคนครบ ๓ แดน คนก็จะพัฒนา ๔ ดาน ฝกคน ๓ แดน คนก็เดินไปในวิถชี ีวิตดีงามที่เรียกวามรรค มรรคมีองค ๘ ก็กระจายออกไปจากวิถีชีวิตดีงาม ๓ แดน นี่เอง อยากไดสมาธิกันนักหนา ถาไมเอาสติมานําหนา ทางสําเร็จก็ไมมี อยากเปนคนมีปญญาดี ถาสติไมมี ก็หมดทางเจริญปญญา ปญญาเปนแดนยิ่งใหญ ตองพัฒนากันไป จนกลายเปนโพธิญาณ ในยุคขาวสารตองมีปญญาแตกฉาน ทั้งภาครับและภาคแสดง นับถือพระพุทธศาสนาไมใชแคมีที่พึ่งพาไวยดึ เหนี่ยว หรือปลอบประโลมใจ 35

779 780 781 782 783 784 785 786 787 788 789 790 791 792 793 794 795 796


ถานับถือพระรัตนตรัย ไมตองมีใครมาเคี่ยวเข็ญ ก็สํานึกถึงความจําเปนที่จะตองฝกตนยิ่งขึ้นไป ญาติโยมก็รักษาอุโบสถ พระสงฆก็ลงอุโบสถ เปนมาเปนไปและแตกตางกันอยางไร ถาพึ่งพระรัตนตรัยถูกตอง ก็จะกาวตอขึ้นไปถึงธรรม จนจบที่เปนอิสระแท ไมตองพึ่งอะไรๆ แมจะพูดถึงอริยสัจ ๔ กันสักเทาไร ก็ไมมีทางเขาใจ ถาไมรูหลักหนาที่ตออริยสัจ กอนจะเขาเนื้อ มาดูหนังอริยสัจกันกอน ดูขันธ ๕ ใหเห็นการทํางานของชีวิต พอไดพื้นความเขาใจที่จะไปเรียนอริยสัจ ดูมรรคมีองค ๘ ใหเห็นวิถีชีวิตที่ดีงาม วาดําเนินไปอยางไร ทางชีวิตดีงามมีอยูก็ดีแลว แตคนที่ยังอยูนอกทางเลา ทําอยางไรจะใหเขาเขามาเดิน ถึงไมมีใครไปพามา ถาคนมีโยนิโสมนสิการ เขาก็มาเขาทางที่ถูกได ดวยตัวเขาเอง แสงอรุณยืนยันการขึ้นมาของดวงอาทิตย แลวอะไรเปนบุพนิมิตของการเขาสูวิถีชีวิตที่ดีงาม ตอนที่ ๑ แสงอรุณยืนยันการขึ้นมาของดวงอาทิตย แลวอะไรเปนบุพนิมิตของการเขาสูวิถีชีวิตที่ดีงาม ตอนที่ ๒ ทางชีวิตของอารยชน เริ่มตนดวยปจจัย ๒ มีหนวยหนุนประคองอีก ๕ รวมเปนแสงอรุณ ๗ รัศมี หลักปฏิบัติใหญคือ ไตรสิกขา แตทานใหชาวบานทําบุญดวย ทาน ศีล ภาวนา ชาวบานไมตองศึกษาหรืออยางไร

36

797 798 799 800 801 802 803 804 805 806 807 808 809


รักษาศีล ๘ อยาพูดแควาไดบุญ ตองรูวาศีล ๘ มาหนุนใหกาวไปสูการพัฒนาจิตใจและปญญาอยางไร ถารูคุณคาของศีล ๘ ถูกตองแลว จะรักษาอุโบสถแบบไหนๆ ก็เลือกไดอยางสมเปนพุทธชน จะไปนั่งสมาธิ หรือเขาวิปสสนา ก็มาทําความเขาใจใหมีพื้นกันไวกอน หนีทุกขอยากมีสุขกันนัก แตไมรูจักวาเจอมันเขาจะเอาอยางไร หาความสุขไมเปน จะเหมือนเชนสุนัขคาบเนื้อ จะเอาเงาในน้ํา สุขที่มีก็หมด สุขที่หมายก็ละลาย ชีวิตและสังคมทุกขระทมถึงขั้นวิกฤต ก็เพราะคนจมติดอยูแคความสุขที่พึ่งพาการเสพ เรามีความสุขไวในตัวเลยดีกวา อยาเปนอยางคนที่เขาขาดไรความสุข แลวจึงตองไปเที่ยววิ่งหา สุขแทมีทุกที่ทุกเวลา ไมตองหาไมตองสราง คนจะพัฒนาได ตองมีวินัยเปนฐาน วินัยพระยังเหลือ สังคมพุทธไทย เมื่อฐานหาย ตองรีบฟนวินัยใหทันกอนจะวอดวาย ๒.๒ คุยกับเณร พอใหเห็นธรรม พิธีบรรพชา ธรรมปฐมนิเทศ รูจักบทสวดมนต กอนเริ่มตนสาธยาย นับเลขอยางไร ใหเกิดสมาธิ พุทธคุณ ๓ สารัตถะของสมาธิ ธรรมปฏิสันถาร ฟงเรื่องอนันตริยกรรมผานตํานาน

810 811 812 813 814 815 816 817 818

819 820 821 822 823 824 825 826 37


ธรรมคุณ ๖ สังฆะ สังคมแหงการฝกฝนพัฒนา พระรัตนตรัยคืออะไร ที่พึ่งทางใจ กับ เครื่องฝกทางกาย สมมติสงฆ-อริยสงฆ กายสามัคคี จิตสามัคคี ภิกษุ - สมณะ - บรรพชิต อริยสัจ ๔ ตอนที่ ๑ อริยสัจ ๔ ตอนที่ ๒ สยามนิกายในลังกา มนุษย ประเสริฐไดดวยการฝก ดานใดของชีวิต ที่ตองคิดพัฒนา ตอนที่ ๑ ดานใดของชีวิต ที่ตองคิดพัฒนา ตอนที่ ๒ ประวัติพระเจาอโศก โอวาทวันลาสิกขา โอวาทวันเด็ก ๒๕๓๓ โอวาทวันเด็ก ๒๕๓๕ โอวาทวันเด็ก ๒๕๔๑ ยิ่งยากยิ่งไดมาก ปฏิสัมภิทามรรค ปญญาแตกฉาน พิธีบรรพชาสามเณร พรปใหม พ.ศ. ๒๕๕๘

38

827 828 829 830 831 832 833 834 835 836 837 838 839 840 841 842 843 844 845 846 847 848


๒.๓ ทุกวันสําคัญ ชวนกันเจริญธรรม วาเลนไทน สูความรักแทที่ยิ่งใหญ มาฆบูชาจะแซงวาเลนไทน เมื่อรักของนักให มาแทนรักของนักหาความสุข คนไทยตองเขมแข็งดวยปญญา จงลุกขึ้นมากาวหนาไป ความรุนแรงเกิดจากความออนแอ ความเปนกลางแท อยูที่ถือความถูกตอง ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลาย มีความสุข จะเปนพระตองมีวินัย จะเปนชาวพุทธได ก็ตองมีหลัก เมื่อเริ่มตนจริงจังตั้งหลักได ทางไปขางหนา ก็จะมองเห็น เลิกพูดเสียที เกิดมาใชกรรม ถวายเทียน ๙ วัด ไดบุญมากพอไหม เขาพรรษา ควรจะรูอะไร เขาพรรษา กับอุดมคติของพระพุทธศาสนา ปวารณาฝกวาจา พัฒนาคน ทําชุมชนใหสามัคคี เปดปากเปดใจ ใชวาจาแกกรรม ทําประโยชน ทอดกฐินไป ใหไดกฐินมา กฐิน ความสามัคคีของคนที่เจริญ ปใหม ตอนรับ หรือทาทาย พรปใหม ไมใชแคใหรวย

851 852 853 854 855 856 857 858 859 860 861 862 863 864 865

๒.๔ หลักพุทธศาสนา จากวันสําคัญ และประเพณี ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย โพธิพฤกษ-โพธิญาณ วิสาขบูชา เตือนชาวพุทธกาวใหถึงปญญา

866 867 868

39

849 850


ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ สวดมนตเปนเรื่องใหญ สวดกันทําไมตองรูใหชัด นับถือพุทธศาสนา อยาใหเพี้ยน นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากพุทธวิถี ตอนที่ ๑ นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากพุทธวิถี ตอนที่ ๒ หลักชาวพุทธ รูใหชัด จะไดเริ่มปฏิบัติกันเสียที ตอนที่ ๑ หลักชาวพุทธ รูใหชัด จะไดเริ่มปฏิบัติกันเสียที ตอนที่ ๒ ๒.๕ จากจิตวิทยา สูจิตภาวนา จากจิตวิทยา สูจิตภาวนา ตําแหนงของขอปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา ความสัมพันธระหวางจิตภาวนากับปญญาภาวนา บุพภาคของการเจริญภาวนา ตอนที่ ๑ ปลิโพธ เขาหากัลยาณมิตร เรียนกรรมฐานกับพระอาจารย เลือกหาที่สัปปายะ พิธีสมาทานกรรมฐาน บุพภาคของการเจริญภาวนา ตอนที่ ๒ พิธีสมาทานกรรมฐาน คุณพระรัตนตรัย สมาทานศีล อธิษฐาน แผเมตตา มรณสติ ระลึกถึงบุญ ขอหาม ความหมายของภาวนา กรรมฐาน อารมณ กรรมฐานที่ใชในการเจริญสมถภาวนา 40

869 870 871 872 873 874 875

876 877 878 879 880 881 882 883 884 885 886 887


กรรมฐาน ๔๐ เกณฑในการเลือกกรรมฐาน จริต ๖ และหลักการดูจริต การเลือกกรรมฐานโดยพิจารณาใหเหมาะกับจริต ขีดขั้นของความสําเร็จที่กรรมฐานจะใหได ผลสําเร็จของการเจริญจิตภาวนา การละนิวรณ สมาธิ ๓ อยาง สมาบัติ ๘, อภิญญา ๖ ความกาวหนาหรือขั้นตอนในการปฏิบัติ นิมิต ๓ ภาวนา ๓ ขั้น จิตภาวนาสูปญญาภาวนาดวยสติปฏฐาน ความหมายของวิปสสนา วิปสสนาภูมิ ๖ โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ วิสุทธิ ๗ วิปสสนาญาณ ๙ ญาณ ๑๖ ปริญญา ๓ อนุปสสนา ๓ ตัวอุปสรรคในกระบวนการปฏิบัติ (วิปลลาส ๔ วิปสสนูปกิเลส ๑๐) ความจริงที่ถูกเปดเผยโดยวิปสสนา หลักการทั่วไปของสติปฏฐาน ความหมายของสติปฏฐาน อารมณของสติปฏฐานโดยยอ กายานุปสสนาสติปฏฐาน เวทนา-จิตตา-ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน 41

888 889 890 891 892 893 894 895 896 897 898 899 900 901 902 903 904 905 906 907 908 909 910 911


ขอสังเกตและขอแตกตาง หลักการปฏิบัติ ความมุงหมาย และตัวทํางาน วิธีการกําหนดและวางใจ กระบวนวิธีปฏิบัติและเทคนิค โยงอานาปานสติสูสติปฏฐาน ลําดับการปฏิบัติในการเจริญอานาปานสติ ๑๖ ขั้น ขอควรทราบที่ ๑ (สิกฺขติ=ศึกษาวา ปชานาติ=รูชัดวา) ขอควรทราบที่ ๒ (สังขาร ๓) ขอควรทราบที่ ๓ (นิวรณ ๕ องคฌาน ๕ ธรรมสมาธิ ๕) ลําดับการปฏิบัติ หมวดที่ ๑ กายานุปสสนาสติปฏฐาน หมวดที่ ๒ เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน หมวดที่ ๓ จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน หมวดที่ ๔ ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน ความสําเร็จของการปฏิบัติ (โพชฌงค ๗)

912 913 914 915 916 917 918 919 920 921 922 923 924 925 926

๒.๖ ปฏิบัติธรรมถูกทาง สรางบุญก็ได ไปนิพพานก็ถึง ปฎิบัติธรรมใหถูกทาง ตอนที่ ๑ ปฎิบัติธรรมใหถูกทาง ตอนที่ ๒ มงคล วิถีการดําเนินชีวิตของชาวพุทธ พระธรรมปฎกชี้ทางหยุดฆาตัวตาย พินัยกรรมชีวิต ผลตอศาสนา การทําบุญ

927 928 929 930 931 932 933

42


เราจะนับถือพระพุทธศาสนากันอยางไร การดําเนินชีวิตของคฤหัสถ คุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกา ๕ อยาแคมารวมศูนย แตตองขึ้นใหสูง คนไทยไมใจแคบ แตระวังไว อยาใหปญญาแคบ คนไทยมีบุญ แตไมรูจักใชบุญ

934 935 936 937 938 939

๒.๗ ถารูขั้นนี้ได ก็เริ่มถึงเนื้อในของพระพุทธศาสนา สวดปาติโมกข ลดเอาแค ๑๕๐ ขอไดไหม พระไตรปฎกบาลีนี้ รักษากันมาอยางไร พระไตรปฎกมาแลว อรรถกถาอยูตรงไหน ตอนที่ ๑ พระไตรปฎกมาแลว อรรถกถาอยูตรงไหน ตอนที่ ๒ อภิธรรมๆ ไดยินพูดกันบอย ควรรูจักกันไวบาง ตอนที่ ๑ อภิธรรมๆ ไดยินพูดกันบอย ควรรูจักกันไวบาง ตอนที่ ๒ ภาษาบาลี รูจักกันแคไหน ความเปนมา และประโยชนของการสวดมนต สวดมนตกอนนอน ใชบทไหนดี สวดคาถาชินบัญชร แลวเปลี่ยนภพชาติไดจริงหรือ โพธิสัตว ควรปฏิบัติตอทานอยางไร จะเปนพระตองมีวินัย จะเปนชาวพุทธไดก็ตองมีหลัก ขอศีลกันอยูเรื่อย เมื่อไรจะปฏิบัติใหมีจริงๆ เลิกพูดเสียที เกิดมาใชกรรม เมื่อเริ่มตนจริงจังตั้งหลักได ทางไปขางหนาก็จะมองเห็น ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลาย มีความสุข

940 941 942 943 944 945 946 947 948 949 950 951 952 953 954 955

43


ปฏิกรรม ตอนที่ ๑ มัวรอกรรมอยูได ทําไมไมรีบแกกรรม ปฏิกรรม ตอนที่ ๒ คนที่แกกรรม จะงอกงามกาวหนา

956 957

๒.๘ หลักพุทธศาสนา ตองศึกษาใหชัด ความอยาก ๒ ประเภท ชวงที่ ๑ ความอยาก ๒ ประเภท ชวงที่ ๒ เขาพรรษากับอุดมคติของพระพุทธศาสนา จะศึกษาพระไตรปฏกกันอยางไร ชวงที่ ๑ จะศึกษาพระไตรปฏกกันอยางไร ชวงที่ ๒ ความเขาใจเรื่องขันธ ๕ ชวงที่ ๑ ความเขาใจเรื่องขันธ ๕ ชวงที่ ๒ ขอควรทราบเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ชวงที่ ๑ ขอควรทราบเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ชวงที่ ๒ ความหมายของสติ สมาธิและปญญา สติกับความไมประมาทและวาสนา โพธิปกขิยธรรม ชวงที่ ๑ โพธิปกขิยธรรม ชวงที่ ๒ สมาธิแบบพุทธ ชวงที่ ๑ สมาธิแบบพุทธ ชวงที่ ๒ สมถะ - วิปสสนา นิพพาน - อนัตตา

958 959 960 961 962 963 964 965 966 967 968 969 970 971 972 973 974

๒.๙ โอวาท ในพรรษา จิต-วัตถุ กับ นาม+รูป วิทยาศาสตร-พุทธศาสตร จะตีตกหรือจะเติมเต็ม

975

44


ชีวิตพระที่แทอุทิศใหแกโลก ดูทางดี ดูที่เหมาะ จะใหถึงนิพพาน พุทธาวาสที่ญาติโยมมาทําบุญฟงเทศน สังฆาวาสเปนเขตที่พระสงฆอยูวิเวก ยามบานเมืองดีเขาสรางวัดใหลูกทานเลน ยามบานเมืองเซเขาสราง RCA ไวใหลูกหลานเขามั่วสุม รูจักนิพพาน ที่ชาวบานอยากได รูจักนิพพาน ที่นักวิชาการพอเขาใจ วันลั่นกลองธรรมนําสังคมเขาสูทางสายกลาง วิสาขบูชาและพระไปปฏิบัติพุทธศาสนกิจในอังกฤษ หนังสือหลวงพอมากมาย จะเริ่มเลมไหนกอนดี เขาพรรษา ควรจะรูอะไร เจริญสติปฏฐาน ถึงกันกับโพชฌงคไหม ไมอยากลาสิกขา จะบอกอยางไรจึงจะไมฝนใจโยมบิดา

976 977 978 979 980 981 982 983 984 985 986 987

๓. ธรรมะในชีวิตประจําวัน ๓.๑ ธรรมประจําวัย วันเกิด เกิดใหเปน มนุษยเปนสัตวประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไม แตประเสริฐไดดวยการฝก บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๑ บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๒ กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล ชีวิตตองมีจุดหมาย แตควรจะไปกันแคไหนดี พูดถึงจุดหมาย ก็เลยจะไปใหถึงปรมัตถ 45

988 989 990 991 992 993 994


ทํางานใหเปนไว ความสุขก็หลาย กําไรก็เยอะ จะอยูหรือจะไป ในเมื่ออาชีพไมเอื้อตอธรรม เจานายไมรูตัว จะชวยแกนิสัยอยางไรดี อยากเกง ดี มีสุข เลิศปญญา ก็รีบสรางปราโมทยขึ้นมา ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย แตงงานใหมีคุณคา อายุแท ยิ่งมากยิ่งดี กอนเกษียณก็สดใส เกษียณแลว ยิ่งผุดผองยองใย ไมมีโรคเปนยอดลาภ แตถาเปนโรค ตองทําโรคใหเปนลาภ เลิกพูดเสียที วาเกิดมาใชหนี้กรรม ความเปนมา และประโยชนของการสวดมนต สวดมนตกอนนอน ใชบทไหนดี ไมเชื่อวาตายแลวเกิด ก็ไดแคเชื่อวาไมเกิด ไมไดรูสักที ชวยคนจะตาย จนถึงวาระสุดทายจริงๆ ทําบุญใหคุณพอ ๓.๒ ธรรมะกับการศึกษา หลักสิกขา: ความจริงแหงธรรมชาติของมนุษยที่เปนสัตวฝกได ทางแยกแหงวิถีชีวิต ที่เริ่มจากอายตนะ (๑.สายความรูสึก ๒.สายความรู) สูชีวิตแหงการศึกษาและสรางสรรค บนฐานของอายตนะ ๖ โรงเรียนตองชวยสังคมไทย อนุรักษความเจริญทางจิตใจ และกาวไปในปญญา ฝกคนเริ่มตนที่ไหน ถาเชิดชูพระคุณแมขึ้นมาได การศึกษาไทยก็ยังไมสิ้นความหวัง 46

995 996 997 998 999 1000 1001 1002 1003 1004 1005 1006 1007 1008 1009

1010 1011 1012 1013 1014 1015


การศึกษาอยางพุทธตองถึงธรรมชาติ ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล เดินหนาไปเปนพุทธอยาหยุดแคเปนพรหม การศึกษากับเศรษฐกิจฝายไหนจะรับใชฝายไหน การศึกษาแนวพุทธ เด็กยุคนี้โชคดี แตจะจมอยูกับที่หรือกาวหนาไป ครูไทยยุคไอที

1016 1017 1018 1019 1020 1021 1022 1023

๓.๓ การศึกษา ตองนําพาสังคมไอที กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล ไฮเทค ไฮทุกข เด็กยุคนี้โชคดี แตจะจมอยูกับที่หรือกาวหนาไป ครูไทยยุคไอที จักรใด ขับดันยุคไอที ดนตรีสื่อธรรม ๑ คนดีพัฒนาดนตรี & ดนตรีดีพัฒนาคน ดนตรีสื่อธรรม ๒ ถางานวัดยังดี วัฒนธรรมก็ยังมี เพิ่มทวีศีลสมาธิปญญา บริหารคนตองใหไดทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก

1024 1025 1026 1027 1028 1029 1030 1031

๓.๔ งานก็ไดผล คนก็เปนสุข บริหารคน ตองใหไดทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก รักงาน คือรักแคไหน มีปญญา คือรูเทาใด ทํางานใหเปนไว ความสุขก็หลาย กําไรก็เยอะ งานก็ไดผล คนก็เปนสุข

1032 1033 1034 1035

47


ทํางานทําไม? เพื่อใคร? ไดอะไร? ตอนที่ ๑ ทํางานทําไม? เพื่อใคร? ไดอะไร? ตอนที่ ๒ จะเปนนักทํางานที่แทได ตองรูจักขยายโลกทัศน เคราะหรายเจอประเทศไหนกลายเปนโชค โชคดีเจอประเทศใดกลายเปนเคราะห ตอนที่ ๑ เคราะหรายเจอประเทศไหนกลายเปนโชค โชคดีเจอประเทศใดกลายเปนเคราะห ตอนที่ ๒ พูดกันนักวา ตนเปนที่พึ่งของตน แตที่แท ไมใชแคนั้นหรอก ตอนที่ ๑ พูดกันนักวา ตนเปนที่พึ่งของตน แตที่แท ไมใชแคนั้นหรอก ตอนที่ ๒ อิทธิบาท ๔ อยาดีแตรูจักชื่อ ตองรูเขาใจ เอาไปใชใหไดดวย ประเทศพุทธอยางไทย ทําไมไมเจริญอยางฝรั่ง บอกวาไทยนับถือพุทธเจริญไมมาก ขอถามหนอยวา คนไทยเอาพุทธมาปฏิบัติมากแคไหน กอนเกษียณก็สดใส เกษียณแลวยิ่งผุดผองยองใย ๓.๕ รักนั้นดีแน แตรักแทดีกวา รักนั้นดีแน แตรักแทดีกวา จากวาเลนไทน สูความเปนไทย วิวาหแทตองแผขยายความสุข จากวาเลนไทนสูวาเรนทธรรม แตงงานใหมีคุณคา สุขที่สมาน ประสานกับรักที่แท วาเลนไทน สูความรักแทที่ยิ่งใหญ เพศศึกษาพลาดแน ถามองแคเพศสัมพันธ 48

1036 1037 1038 1039 1040 1041 1042 1043 1044 1045 1046

1047 1048 1049 1050 1051 1052 1053 1054


๓.๖ ธรรมะทั่วไป ใชใหครบสี่เทา กาวหนาแน เปนไทยตองไมเปนหนี้ ตอนที่ ๑ เปนไทยตองไมเปนหนี้ ตอนที่ ๒ วัฒนธรรมกับคุณธรรม แปดนั้นรวมใหดี จะถึงจุดหมายเร็วไว ดี-ชั่ว แบบไหนมีจริง แบบไหนมีไมจริง ตอน บุคคล พรปใหมไมใชแคใหรวย สนทนาธรรมทั่วไป อายุแทยิ่งมากยิ่งดี กระแสใหม กระแสไท วิวาหแทตองแผขยายความสุข อยาลืมคูตางที่มาเติมใหเต็ม คนไทยชอบพูดกันวาปฏิบัติ ทําไมไมหัดพูดใหเต็มวา สิกขา ชอบอางกันนักวาอริยสัจ ๔ แตแคหนาที่ปริญญา ก็ยังไมรูจัก ถาจะใหชีวิตลงตัว ก็อยามัวตั้งรับ คนพัฒนาไปๆ เห็นอะไรๆ ก็นาทํา ความคิดสรางสรรคก็เกิดมี ชอบอางกันนักวาอริยสัจ ๔ แตแคหนาที่ปริญญา ก็ยังไมรูจัก(สวนถามตอบ) เมื่ออาชีพเปนปญหา ใชเสรีภาพที่มีธรรมมีปญญามาตัดสินใจ ปติวาแสนดี ก็สูสุขไมได แตถึงอุเบกขาเมื่อไร สุขกลายเปนรองทันที ยืนบนฐานของตัวใหมั่น แลวบุกบั่นกาวไปขางหนา วิกฤตเปนโอกาส วิกฤตเพื่อฉวยโอกาส หรือทําชีวิตใหเปนโอกาส ธรรมาลัยทานผูหญิงพูนศุข พนมยงค

49

1055 1056 1057 1058 1059 1060 1061 1062 1063 1064 1065 1066 1067 1068 1069 1070 1071 1072 1073 1074 1075 1076


๓.๗ พอรูทาง ก็สุขเเท กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล ฝกคน เริ่มตนที่ไหน สุขขางนอก สุขขางหนา แตสุขที่แท อยูขางใน จะวิ่งไลตามความสุข หรือจะกาวไปในความสุข อายุแท ยิ่งมากยิ่งดี บริหารคนตองใหไดทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก รักงานคือรักแคไหน มีปญญาคือรูเทาใด ไมลบหลู แตตองรู เขาใจ และทําใหถูก นับถือพุทธศาสนา อยาใหเพี้ยน เลิกพูดเสียที วาเกิดมาใชหนี้กรรม คนไทยมีบุญ แตไมรูจักใชบุญ คนไทยไมมีวินัย เพราะไมรูจักใชเสรีภาพ ความรุนแรงเกิดจากความออนแอ ความเปนกลางที่แทอยูที่ถือความถูกตอง ดี-ชั่ว แบบไหนมีจริง แบบไหนมีไมจริง ตอน สังคม ปรุงแตงดี ก็ดี มีปญญาถึง จึงไมปรุงแตงได มองอนาคตผานรากฐานความคิด และชีวิตทานพุทธทาส

1090 1091 1092

๓.๘ ฟงทีไรไดสุขทุกที รายการขอคิดดวยคน ขอใหชวยคนหาความสุข จะเปนใครก็มีความสุขได ขอเพียงให รูจักใชชีวิตใหเปน ทํางานใหเปนไว ความสุขก็หลาย กําไรก็เยอะ งานก็ไดผล คนก็เปนสุข

1093 1094 1095 1096

50

1077 1078 1079 1080 1081 1082 1083 1084 1085 1086 1087 1088 1089


ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ตอนที่ ๑ ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ตอนที่ ๒ สุขขางนอก สุขขางหนา แตสุขที่แท อยูขางใน ถาอยากมองใหเปนวิชาการ ก็มาพัฒนาความสุขกันใหเปนขั้นเปนตอน ๑ ถาอยากมองใหเปนวิชาการ ก็มาพัฒนาความสุขกันใหเปนขั้นเปนตอน ๒ เกิดมาเพื่อหาความสุขจริงหรือ หนีทุกขอยากมีความสุขกันนัก แตไมรูจักวาเจอมันเขา จะเอาอยางไร หาความสุขไมเปน จะเหมือนเชนสุนัขคาบเนื้อจะเอาเงาในน้ํา สุขที่มีก็หมด สุขที่หมายก็ละลาย ชีวิตและสังคมทุกขระทมถึงขั้นวิกฤต ก็เพราะคนจะจมติด อยูแคความสุขที่พึ่งพาการเสพ เรามีความสุขไวในตัวเลยดีกวา อยาเปนอยางคนที่เขาขาดไรความสุข แลวจึงตองไปเที่ยววิ่งหา สุขที่แทมีทุกที่ทุกเวลา ไมตองหาไมตองสราง ถึงจะมีความสุข แตจะใหเปนสุขแทไมมีทุกข พัฒนาชีวิตกันไปเถิด ความสุขจะเกิดมีแน ไมหนีไปไหน ๓.๙ ความสุข ทุกแงทุกมุม ความสุขทุกแงทุกมุม (ชวงที่๑ ) ความสุขทุกแงทุกมุม (ชวงที่๒ ) ความสุขทุกแงทุกมุม (ชวงที่๓ ) ความรู ตองมาเขาคูกับความรัก ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ชวงที่ ๑ 51

1097 1098 1099 1100 1101 1102 1103 1104 1105 1106 1107 1108 1109

1110 1111 1112 1113 1114


ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ชวงที่ ๒ ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ชวงที่ ๓

1115 1116

๔. ธรรมะกับการศึกษา ๔.๑ หลักการศึกษา มนุษยเปนสัตวประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไมแตประเสริฐไดดวยการฝก การศึกษาเริ่มที่ตาหูดูฟงติดอยูแคตัณหาหรือไปไดถึงปญญาคือตัวตัดสิน ฝกคน เริ่มตนที่ไหน ฝกคนครบ ๓ แดน คนก็จะพัฒนา ๔ ดาน ฝกคน ๓ แดน คนก็เดินไปในวิถีชีวิตดีงามที่เรียกวามรรค การศึกษาตองสรางปญญาแท ที่มานํากระแส แทนตัณหา การศึกษาอยางพุทธตองถึงธรรมชาติ ปรัชญาการศึกษาฉบับงาย ใชไดทั่วโลก ตอน ๑ ปรัชญาการศึกษาฉบับงาย ใชไดทั่วโลก ตอน ๒

1117 1118 1119 1120 1121 1122 1123 1124 1125

๔.๒ หลักชาวพุทธ จะเปนพระตองมีวินัย จะเปนชาวพุทธไดก็ตองมีหลัก ขอศีลกันอยูเรื่อย เมื่อไรจะปฏิบัติใหมีจริงๆ เลิกพูดเสียที เกิดมาใชกรรม เมื่อเริ่มตนจริงจังตั้งหลักได ทางไปขางหนาจึงจะมองเห็น เพลง หลักชาวพุทธ ความเปนมา และประโยชนของการสวดมนต สวดมนตกอนนอน ใชบทไหนดี

1126 1127 1128 1129 1130 1131 1132

52


พระโพธิสัตว จะปฏิบัติตอทานอยางไร ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลายมีความสุข ดนตรี หลักชาวพุทธ ๔.๓ องคหลักของการศึกษา แสงอรุณยืนยันวาสุริยันตจะขึ้นมา อะไรหนายืนยันวาชีวิตดีงามจะมี ตอนที่ ๑ แสงอรุณยืนยันวาสุริยันตจะขึ้นมา อะไรหนายืนยันวาชีวิตดีงามจะมี ตอนที่ ๒ ถึงไมมีใครไปพามา ถาคนมีโยนิโสมนสิการ ก็มาเขาทางที่ถูกไดดวยตัวเขาเอง ปญญาเรื่องใหญ รูจักไวพอเปนเคา ปญญาเปนแดนยิ่งใหญ ตองพัฒนากันไป จนกลายเปนโพธิญาณ เขาไมมีศรัทธา แลวเขามีปญญาหรือเปลา จะมีตนที่พึ่งได ตองมีธรรมและปญญาที่จะตัดสินใจ ๔.๔ การศึกษา มองหาบทบาทพอแม ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลาย มีความสุข ถาเชิดชูพระคุณแมขึ้นมาได การศึกษาไทยก็ไมสิ้นหวัง บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๑ บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๒ เลี้ยงลูกใหเกง ดี มีความสุข สุขขางนอก สุขขางหนา แตสุขที่แท อยูขางใน

53

1133 1134 1135

1136 1137 1138 1139 1140 1141 1142

1143 1144 1145 1146 1147 1148


๔.๕ การศึกษาเชิงปฏิบัติการ คนไทยตองเขมแข็งดวยปญญา จงลุกขึ้นมากาวหนาไป โรงเรียนตองชวยสังคมไทย อนุรักษความเจริญทางจิตใจ และกาวไปในปญญา โรงเรียนวิถีพุทธ ปฏิรูปการศึกษาอยางบูรณาการ ถาไปถึงปญญา ก็ไมมัวหลงหาจริยธรรมสากล คนไทยไมใจแคบ แตระวังไว อยาใหปญญาแคบ ปรุงแตงดี ก็ดี มีปญญาถึง จึงไมปรุงแตงได อยากเกง ดี มีสุข เลิศปญญา ก็รีบสรางปราโมทยขึ้นมา อยากเปนคนมีปญญาดี ถาสติไมมี ก็หมดทางเจริญปญญา

1151 1152 1153 1154 1155 1156

๔.๖ ถาไปถึงปญญา ก็ไมมัวหาจริยธรรมสากล ถาไปถึงปญญา ก็ไมมัวหลงหาจริยธรรมสากล อยามัวสับสน จริยธรรมสากล อยูที่เปนความจริง

1157 1158

1149 1150

๕. ธรรมะกับความเชื่อของคนไทย ๕.๑ พุทธศาสนากับความเชื่อในสังคมไทย อยามัวรอหรือขอโพธิสัตวทําให แตตองทําใหไดอยางพระโพธิสัตว พระอุปคุตอยูไหน ถึงเวลานิมนตมาไดแลว พระก็ปอแป คนก็รอแร จะแกวิกฤต ตองรูวาสังคมวิปริตแคไหน อยากแกกรรม จะทําอยางไร เดินหนาสูความเปนพุทธอยาหยุดแคเปนพรหม เรื่องตายแลวฟนไมเทาไร เรื่องใหญคือตายอยางไรจะแนใจวาดี 54

1159 1160 1161 1162 1163 1164


เรื่องฝนเรื่องตาย อะไรจริงอะไรดี มาคุยเรื่องจิตใจกันบางก็ดี เรื่องฝน เรื่องอธิษฐาน ดูจิตทํางาน เปนไปไดไหม พัฒนาคน ตองใหพนอธิษฐานดวยตัณหา ใหไดปญญาเหนือกวาลิงเฝาสวน ไปเกิดใหม อยากใหพบกัน จิตก็ตองไปกันได ๕.๒ มองสิบชั้น ดูสิบดาน จะเห็นภาพ หมา-นุษย สันดานกา เจตนาดี ที่รอดู ตักเตือน หรือซ้ําเติม มากกวาสะทอนภาพสังคม ยกเครื่องสังคมไทย ๕.๓ กระแสจตุคามฯ ไหลทวมมาแลวก็แหงไป แตสังคมอยูได ดวยกระแสธรรม จตุคามฯ นําลาภลอยมา แลวก็พาสังคมไทยเลื่อนลอยไป ตอนที่ ๑ จตุคามฯ นําลาภลอยมา แลวก็พาสังคมไทยเลื่อนลอยไป ตอนที่ ๒ คนไทยตองเขมแข็งดวยปญญา จงลุกขึ้นมากาวหนาไป วาสนาคนไทย ไดแคไสยศาสตร วัตถุมงคล ตองใชผูกใจประชาชนไวกับธรรม เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล ตอนที่ ๑ เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล ตอนที่ ๒ นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี ตอนที่ ๑ นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี ตอนที่ ๒ 55

1165 1166 1167 1168

1169 1170 1171 1172

1173 1174 1175 1176 1177 1178 1179 1180 1181


๕.๔ จะถือพุทธ และรักษาธรรมได เรื่องอยางนี้ตองเขาใจ อยาใหเพี้ยน จากเทพสูงสุด สูธรรมสูงสุด นับถือพุทธศาสนา อยาใหเพี้ยน เลิกพูดเสียที วาเกิดมาใชหนี้กรรม ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อ กรรมไมงอใคร ตอนที่ ๑ ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อ กรรมไมงอใคร ตอนที่ ๒ ไมลบหลู แตตองรู เขาใจ และทําใหถูก จิตวิญญาณแบบแมมด แบบฮิปป หรือแบบษีจะเอาแบบไหน คิดกันใหดี พุทธศาสนาเกิดขึ้นมา มิใชวาพิธีกรรมจะไรความหมาย ถาไมมัวถือแบบงมงาย ก็อาจใชพิธีกรรมมาสื่อคนใหถึงธรรม วัตถุมงคล ตองใชผูกใจประชาชนไวกับธรรม เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี อะไรกันคนไทย ยังไมรูจักวาสันโดษอยางไหนดี อยางไหนไมดี ฟงคําทํานาย ทําไมจึงมัวตื่นตูม แลวภูมิปญญาจะมีมาจากที่ไหน ปญหาภิกษุณี คิดใหดีก็ไมยาก เพศศึกษาพลาดแน ถามองแคเพศสัมพันธ คนไทยมีบุญ แตไมรูจักใชบุญ อายุแท ยิ่งมากยิ่งดี อยามัวตอมมัวดมอาจม จงรวมกันพาสังคมสูจุดหมาย ถวายเทียน ๙ วัด ไดบุญมากพอไหม สังคมไทย อยากาวหนาไปลงอบาย รูจักพระพรหมใหดีไว อยาทําไดแคขอทานอยางเดียว 56

1182 1183 1184 1185 1186 1187 1188 1189 1190 1191 1192 1193 1194 1195 1196 1197 1198 1199 1200 1201 1202 1203


๕.๕ บูชาพระพรหมจนองคพัง ก็ยังไมรูจักทาวมหาพรหม คุยกับเณร พอใหเห็นพระพรหม พรหมพราหมณ - พรหมพุทธ กอนมาถึงพระพรหม มองพระพรหม ใหถึงรากเหงาอารยธรรม เหนือเทพเหนือพรหม คือธรรมเปนใหญ วาสนาคนไทย ไดแคไสยศาสตร (ใหคติเรื่องจาตุคามรามเทพ)

1204 1205 1206 1207 1208 1209

๖. ธรรมะกับวิชาการ ๖.๑ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร เจตคติแบบวิทยาศาสตร-เจตคติแบบพุทธ ตอนที่ ๑ เจตคติแบบวิทยาศาสตร-เจตคติแบบพุทธ ตอนที่ ๒ วิทยาศาสตรกาวไดไกลแคไหน ใชศาสตรอยางไรจึงไดประโยชน ตอนที่ ๑ วิทยาศาสตรกาวไดไกลแคไหน ใชศาสตรอยางไรจึงไดประโยชน ตอนที่ ๒ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๑ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๒ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๓ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๔ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๕ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๑ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๒ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๓ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๔ 57

1210 1211 1212 1213 1214 1215 1216 1217 1218 1219 1220 1221 1222


การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๕ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๖ เมื่อ D.N.A เขามา จริยธรรมจะวาอยางไร ตอนที่ ๑ เมื่อ D.N.A เขามา จริยธรรมจะวาอยางไร ตอนที่ ๒ ๖.๒ ธรรมะกับวิชาชีพ พุทธธรรมกับการรักษาคนไข ทบทวนเศรษฐศาสตร ๑ - ทํางานเพราะโลภอยากได หรือเพราะถูกเงื่อนไขบังคับ ทบทวนเศรษฐศาสตร ๒ - พัฒนาเศรษฐกิจไป อยาลืมใชเศรษฐกิจพัฒนาคน ๖.๓ ขอคิดใหสังคม ฟนสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๑ ฟนสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๒ ฟนสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๓ จะอยูกันดีดวยหลักการ หรือตองคุมกันดวยอาญา จัดงานวิสาขบูชา อยาอยูแคหนาตา ตอบเรื่องสมานฉันท สังคมไทย ถึงเวลาตั้งตนใหมหรือยัง เดินหนาหาความจริง จับใหไดสิ่งจําเปน ระวัง ทางสายกลางกลายเปนทางไรจุดหมาย ไมยึดมั่นกลายเปนยึดเขาเต็มเปา ไมวากระแสโลก-กระแสไทย ตองหยุดไหลตามตัณหา จึงจะหายสับสน 58

1223 1224 1225 1226

1227 1228 1229

1230 1231 1232 1233 1234 1235 1236 1237 1238 1239


๖.๔ วิถีชีวิต วิถีสังคม และการพัฒนา การพัฒนาที่ยั่งยืน ประเทศพุทธอยางไทย ทําไมไมเจริญอยางฝรั่ง เพราะเครียดใชไหม ฝรั่งจึงไดเจริญอยางนี้ ปวารณาฝกวาจา พัฒนาคน ทําชุมชนใหสามัคคี พัฒนาชีวิตกันไปเถิด ความสุขจะเกิดมีแน ไมหนีไปไหน ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย ประชาธิปไตยจะดีได ตองไมทิ้งงานพัฒนาคน สังคมตองหลากหลาย ใหเขากับระดับการพัฒนาของคน มนุษยจะพัฒนาไปถึงอารยธรรมที่แทไดจริงหรือ พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก ประชาธิปไตยตองพัฒนาคน ใหมีตนที่พึ่งได ๖.๕ ชวยกันนําพาประเทศไทย ใหกาวไปอยางสงางาม ในทามกลางประชาคมโลก ชวยกันนําพาประเทศไทย ใหกาวไปอยางสงางาม ในทามกลางประชาคมโลก อยาแคมารวมศูนย แตตองขึ้นใหสูง ถาเข็นครกขึ้นเขายังสู ก็พอจะฟนฟูพุทธศาสนาเมืองไทยได วิถีสูสันติภาพ เริ่มวิวัฒนที่กลางวิกฤติ (ตอนที่ ๑) เริ่มวิวัฒนที่กลางวิกฤติ (ตอนที่ ๒) สนทนาธรรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โลกถึงกันกวางไกล แตใจคนกลับแคบลง 59

1240 1241 1242 1243 1244 1245 1246 1247 1248 1249 1250

1251 1252 1253 1254 1255 1256 1257 1258


เคราะหรายเจอประเทศไหนกลายเปนโชค โชคดีเจอประเทศใดกลายเปนเคราะห สูยุคใหมของสังคมไทย ทําอยางไรสังคมไทยจะตั้งอยูในสมดุล ตั้งศูนยใหดุลไว อยาใหเลยเถิดเตลิดไป การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ดีหนีไมพนธรรม รักธรรมก็เจริญ ชังธรรมก็เสื่อม ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย

1259 1260 1261 1262 1263 1264 1265 1266

๗. ธรรมะกับการเมืองการปกครอง ๗.๑ ธรรมะสูการเมือง การสรางสรรคประชาธิปไตย โลกเดี๋ยวนี้ขัดแยงกันมากมาย จะแกไหวหรือ จริยธรรมของนักการเมือง จริยธรรม-ภาวะผูนํา ชวงที่ ๑ จริยธรรม-ภาวะผูนํา ชวงที่ ๒ จริยธรรม-ภาวะผูนํา ชวงที่ ๓ นิติศาสตรแนวพุทธ ชวงที่ ๑ นิติศาสตรแนวพุทธ ชวงที่ ๒ นิติศาสตรแนวพุทธ ชวงที่ ๓ พุทธรัฐศาสตร ชวงที่ ๑ พุทธรัฐศาสตร ชวงที่ ๒ 60

1267 1268 1269 1270 1271 1272 1273 1274 1275 1276 1277


สิทธิมนุษยชน พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก สมมติสื่อนําสังคมเขาสูธรรม วิถีสูสันติภาพ เมืองไทยกับหุนใหญ-ลิเวอรพูล รัฐศาสตรเพื่อชาติ VS รัฐศาสตรเพื่อโลก จะสมานฉันท ตองสมานปญญา ธรรมาธิปไตยไมมา จึงหาประชาธิปไตยไมเจอ ความรุนแรงเกิดจากความออนแอ ความเปนกลางแทอยูที่ถือความถูกตอง ตอบคําถามเรื่อง การสมานฉันท

1278 1279 1280 1281 1282 1283 1284 1285 1286 1287

๗.๒ เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา มาเจอปญหาศาสนาประจําชาติ เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา มองไกล ใจกวาง เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา ดูเขา เขาใจตัว เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา รูจักตัว เห็นทั่วโลก โลกเดี๋ยวนี้ขัดแยงกันมากมาย จะแกไหวหรือ วาสนาคนไทย ไดแคไสยศาสตร

1288 1289 1290 1291 1292

๗.๓ วิกฤตบานเมืองวันนี้ โอกาสที่มีควรเปนของใคร ขึ้นยืนบนภู ดูเขาสูกัน พัฒนาแตทรัพยากรคน ลืมพัฒนาประชาชนที่ครองเมือง วิกฤตมา ประชาชนตองวางตนเปนหลัก ประชาธิปไตยตองพัฒนาคน ใหมีตนที่พึ่งได

1293 1294 1295 1296

61


จะมีตนที่พึ่งได ตองมีธรรมและปญญาที่จะตัดสินใจ นิติธรรมค้ําจุนรัฐไว แตแกปญหาไมถึงใจ และไมพัฒนาคน สังคมตองหลากหลาย ใหเขากับระดับการพัฒนาของคน ประชาธิปไตยยังเควงควางรอนไถล ไดแครับใชทิฐิดิ่งโดง

1297 1298 1299 1300

๗.๔ จะทําอยางไรกับวิกฤตการเมืองวันนี้ จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๑) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๒) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๓) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๔) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๕) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๖) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๗) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๘) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๑) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๒) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๓) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๔) บวชเรียนหายไป เมืองไทยไดวัดหลวงตา บทเรียนมีใหดู แตคนไทยไมไดลืมตา อยากเกง ดี มีสุข เลิศปญญา ก็รีบสรางปราโมทยขึ้นมา

1301 1302 1303 1304 1305 1306 1307 1308 1309 1310 1311 1312 1313 1314 1315

62


ŕš˜. Dhamma in English By Ven. P. A. Payutto Developing Happiness (1) Developing Happiness (2) Developing Happiness (3) - Q&A Appamada Heedfulness (1) Appamada Heedfulness (2) Iddhipada Path to Success (1) Iddhipada Path to Success (2) Monks and Laypeople (1) Monks and Laypeople (2) Food For All And By All Buddhist Economics in the Globalized World (DVD) Buddhism and Peace (1) Buddhism and Peace (2) Aging and Dying Nibbana and Kamma (1) Nibbana and Kamma (2)

63

1316 1317 1318 1319 1320 1321 1322 1323 1324 1325 1326 1327 1328 1329 1330 1331


บันทึก

64


แผนภูมิประกอบการฟง พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย

โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เสียงอานโดย พระกฤช นิมฺมโล Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø × µ£x¼ Øß UŴ :*29 :+ ĥ :*29 D !: :* /:+ :* ++) Ů2(:&#+@ E ĉ :+ +8 ; : :*

VŴ / =29 :+ Ů2(:&#+@ E ĉ :+ +8 ; : /: :

ĥ /:) G ŮE2 55 ů : :* : :*

:+ +8 ; : :*ů

ĥ / =29 D !: / = /:+ / = ++) ĥ /:) G ŮE2 55 ů : /: : : /: : :+ +8 ; : /: :ů

WŴ )F!29 :+ ĥ )F!29 D !: )F! /:+ )F! ++) Ů2(:&#+@ E ĉ :+ +8 ; : G

ĥ /:) G ŮE2 ů : G

: G

:+ +8 ; : G ů

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø Ø µ£x¼ ÙØ 5:* !8 ű 5:+) č ű /< : ĥ $9228

D/ !:

: +9"+AĊ 2<L =L A +AĊ /:)+AĊ :++9"+AĊ /:)+AĊ2> ĉ55:+) č

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø Ù µ£x¼ ÙÛ +8"/! :++9"+AĊ"+<2@ <P +8"/! ++)E""D2&D2/*F- Ů +8E2# < :) ++) : <ů ŮD < )=$AĊD2/* Ú 2<L A D2/* $AĊ < Ú 2<L A < ů 5:* !8 ű 5:+) č ű /< : ű $9228 D/ !: 29 : /< 9 8 ##ď 8 ##ď 29 :E ĉ ĉ: J

} 29 :+

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø Ú µ£x¼ ÙÜ +8"/! ++)E""29 2:+/9 č 5:* !8 ű 5:+) č ű /< : ĥ $9228 D/ !: +8"/! ++)E""/</ 9 č

65


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú × µ£x¼ ×ÝÖ 5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 9 3: U V W X Y Z [ \ 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 ĥ ¡Â ´«Â¡»¬ ] UT UU UV

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ø

µ£x¼ ×ÝÖ

5/< : U

--- 5#@ :* !29

--8 + +:) V U

@ č -- F )

- - F2 8 :2 -

+D< / -- # 8 --

V

2 9

:+

24: * Y

:! 5#@ : ]

!:)+#A X

(& UT

: < UU

: / < W

!8

$29 28 Z

D/ !: [ 66

9 3 : \


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ù

µ£x¼ ×ÝÝ

!

9 3: ű 5#@ : ű : : 5/ <

"< :

++

)

/

(

) (& ++)

/ < :

5

++)

/ < :

2 9 :+

2 D< -

D3 @

: < /<":

: 3

: 5/ <

5 = !:

-

+

´£¢ Ø ¾ D/ !: $29 28 !8 9 :* :)+ 8

(&

++

D3 @

$

5#@ : :!

( &

D< -2

)

$-

5#@ :!

´£ Ù ¢ ¾

!:) D/ !: 28 $29 /"< :

+

£¢ ¾ ´ × !:)+#A < : / 24

µ£x¼ ×Ýß 8 5 / < + ) : : + 2 9 <

: !8 9 3: 24:* : +#A

#ď @"9!

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Û

2 9 :+ ű

D/ !: 7-7

D< -2

67


68

#ď @"9!

$-

5!:

D3 @

(& 5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 9 3: 5@#: :! : < +:)+ 8 ű F2 8 7-7

$-

D3 @

µ£x¼ ×Ýß

5 =

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ú

ĥ

<D-2 ++) /<":

/9 8

<D-2 ++) /<":

/9 8

9 3: 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 5/< : 29 :+ /< : 7-7 D/ !:

ĥ


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ü

µ£x¼ ØÖß

5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 5@#: :! (& : < +:)+ 8 F2 8 #+<D /8 7-7 ĥ ¡Â { · ¿±¾

» µ¼ #+<D*2!: -:(8 /<!< 9* 9! +: 8 59 F 2:! #+<

38 )9 +<*8 5:+9 8 :+ 8D-:8 E ĉ E*ĉ /</: 2ĉ5D2=* )@2:/: 7-7 ĥ ¡Â { · ´» «

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ý

µ£x¼ ØÖß

¢¼ £¼£» { Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ : @ 3+?5 : @ ĉ: !< ů ¦»´´£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ $9228ů Ʊ¡£¼£¼£» { Ů /:)D#đ! ĉ: JE3ĉ D/ !:ů ´» ¼£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ 29 :ů ´» »¥¥£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ 29 9##Ĉ ?5 /:) ;+< +< +> ů »£¡£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ 9! 8ů ¥­¾¶¼µ£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ /:)+@!D+Ċ:ů ¥­¾Æ¬´£¼£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ :+E2/ 3:ů ¯¼ª£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ :+H Ċ$-ů

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Þ

µ£x¼ ØÖß

¢¼ £¼£» { Ů : @ ĉ: !< ů ´» ¼£¼£» { Ů29 : ĉ: !< ů ´» »¥¥£¼£» { Ů29 9##Ĉ ĉ: !< ů ¦»´´£¼£» č Ů$9228 ĉ: !< ů Ʊ¡£¼£¼£» { ŮD/ !: ĉ: !< ů »£¡£¼£» { Ů 9! 8 ĉ: !< ů ¥­¾¶¼µ£¼£» { Ů /:)D+Ċ:+@! ĉ: !< ů ¥­¾Æ¬´£¼£¼£» { Ů :+E2/ 3: ĉ: !< ů ¯¼ª£¼£» { Ů :+H Ċ$- ĉ: !< ů

69


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü × µ£x¼ ÙØÞ 5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 9 3: 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 ĥ ¡Â ´«Â¡»¬

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü Ø µ£x¼ ÙØÞ 5/< : 9" 29 :+ 9" /< : 9" !:)+A# 9" 24:* !8 9" $9228 9" D/ !: 9" 9 3: 9" 5@#: :! 9" (& 9" : < 9" +:)+ 8 ű F2 8 7-7 5@#:*:2 99" ĥ ¡Â £¾È­¢

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü Ù µ£x¼ ÙÙÖ E""E+ Ģ Ů24:* !8 $9228 ů D/ !: !9! < 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 ĥ ¡Â ´«Â¡»¬ E"" =L25 Ģ Ů24:* !8 ů $9228 D/ !: 9 3: ĥ ¡Â ´«Â¡»¬

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü Ú µ£x¼ ÙÙ× E""E+ Ģ Ů24:* !8 $9228 ů D/ !: !9! < 9" 5@#: :! 9" (& 9" : < 9" +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 9" ĥ ¡Â £¾È­¢ E"" =L25 Ģ Ů24:* !8 ů $9228 D/ !: 9 3:ģ ŮE ĉů 9 3: 9" 5@#: :! 9" (& 9" : < 9" +:)+ 8 ű F2 8 7-7 5@#:*:2 9" ĥ ¡Â £¾È­¢

70


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý × µ£x¼ Ú×× ­º »¤¡¿Î ¡» ¾Ê ¬¤Â ¯ ´¾ ¼¡¿Î¤½Æ¨Í ´» Ȭ £{¡¿Î¯ºÊ x UŴ 29 :* < < 0=-"+<"A+ č VŴ /< < < : UŴ &+8F2 :"9! Ů2): <E-8#ď : WŴ 2=-9&& #+:):2 &5#+8): ů +: 8 F 28 F)38D3-?5D":": VŴ &+82 : :)= ųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųų ű XŴ :)+: 8 WŴ &+85!: :)= 0=-E-82): <"+<"A+ č Ů#ď :&5#+8): ů YŴ # < 8 ZŴ +A#+: 8 [Ŵ 5+A#+: 8 XŴ &+85+39! č 0=- 2): < \Ŵ ):!8 #ď :"+<"A+ č ]Ŵ 5@ 9 8 UTŴ 5/< :

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ø µ£x¼ Ú×Ø /<F) č =L U /<F) č =L V Ů+A#ů :! X /<F) č =L W /<F) č =L X /<F) č =L Y 5+A# :! X /<F) č =L Z /<F) č =L [ /<F) č =L \ ĥ !<F+ 2):"9 <

2):"9 < \ 5!@#@&&/<3:+ Ů2):"9 <ů ]

71


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ù µ£x¼ Ú×Ú ¡» ¾Ê ¬¤Â ¯ Ý ·¾£¡­¿¬{¡¿ÎÇ­ ¯x¼ ±¾È« { Ú Þ ¡» ¾Ê ¬¤Â ¯ Þ UŴ 29 :!@2:+= 29 : UŴ $AĊ# <"9 <D&?L5F2 :#ď <$VŴ 9)):!@2:+= #ď : VŴ &+8F2 :"9! WŴ $AĊ# <"9 <D&?L52 : :)=$WŴ 29 :/<)@ 29 : XŴ &+82 : :)= XŴ < <##ď 8 #ď : YŴ $AĊ# <"9 <D&?L55!: :)<$YŴ :*29 = 2): < H Ċ ZŴ &+85!: :)= [Ŵ $AĊ# <"9 <D&?L55+39 $ZŴ #ď :/<)@ #ď : [Ŵ 5@(F (: /<)@ 2): < H Ċ \Ŵ &+85+39! č

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ú µ£x¼ Ú×Û

UŴ 29 :!@2:+= VŴ 9)):!@2:+= ű /<F) č

WŴ 29 :/<)@ XŴ < <##ď 8 YŴ :*29 =

ZŴ #ď :/<)@ [Ŵ 5@(F (: /<)@

UŴ 29 :!@2:+= VŴ 9)):!@2:+=

ű 2): <H)ĉD <! :! L = X ű 2): <H)ĉD <! :! L = X ű /<F) č Ů 9M!5+A# :!ů

72

WŴ 29 :/<)@ XŴ < <##ď 8 YŴ :*29 =

\Ŵ &+85+39! č Ů-829 F* !č UTů

[Ŵ $AĊ# <"9 <D&?L55+39 $-

ZŴ &+85!: :)= Ů-829 F* !č5= Vů

YŴ $AĊ# <"9 <D&?L55!: :)<$-

XŴ &+82 : :)= Ů+: 8 F 28 F)38 D":": ů

WŴ $AĊ# <"9 <D&?L52 : :)<$-

VŴ &+8F2 :"9! Ů-829 F* !č Wů

UŴ $AĊ# <"9 <D&?L5F2 :#ď <$-

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Û µ£x¼ Ú×Û

ZŴ #ď :/<)@ [Ŵ 5@(F (: /<)@


$AĊ# <"9 < ű

$AĊ# <"9 < ű

5+A# :! U 5+A# :! V 5+A# :! W 5+A# :! X

/<#ď22!:2): < :! =L U :! =L V :! =L W :! =L X

2) 8

ű #ď : !;

ű 0+9 : !;

/<#ď22!:

VŴ 9)):!@2:+=

UŴ 29 :!@2:+=

UŴ $AĊ# <"9 <D&?L5F2 :#ď <$-

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ü µ£x¼ Ú×Ü

VŴ &+8F2 :"9! -829 F* !č W

YŴ $AĊ# <"9 <D&?L55!: :)<$-

WŴ $AĊ# <"9 <D&?L52 : :)<$-

YŴ :*29 = ű/<F) č L = \

XŴ < <##ď 8

WŴ 29 :/<)@

XŴ &+82 : :)= +: 8 F 28 F)38 D":":

ZŴ &+85!: :)= -829 F* !č5= V

5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L U 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L V 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L W 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L X 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ!<F+ 2):"9 <

#ď :/<)@ 2@ /<#ď22 #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L U #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L V #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L W #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L X

\Ŵ &+85+39! č Ů#ď :/<)@ Y 5@(F (: /<)@ Yů

-829 F* !č5= Y Ů3) 9M UTů

73

[Ŵ $AĊ# <"9 <D&?L55+39 $-


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ß × µ£x¼ ÚÞÜ :):/ + /!8 ŮF- @ +ů 59##!: /!8 Ů29 :+@7 (/9 č ů )F! 7 "+< ++) 5@# :+ 5!@F-) F +(A )9

< $- < (/9 č U V W X Y Zų[ 3+?5

5@# :+ 5!@F-) F +(A )9

< $- < U V W X YųZų[

Ů29 :+@7ĥ29 :+@D" : : >L D#đ!/<#ď22!: : Ċ5 L = \ģ )F! 7ĥ )F! /:+:/9 !8 ģ 5!>L # <2QŴ5ŴWV E-82 B = 5Ŵ WY] H ĊE2 D&<L) : !=M5= E""3!>L F *)=5!@F-) V 8 E-8)=$- < 8D =*/ E ĉ)= ; 9 Ċ:!G! /<2@ <Ŵ WŵWVXů

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ß Ø µ£x¼ ÚÞÜ

(/9 č :!/< = (/9 č /<#ď22!:/< = (/9 č )9

/< = (/9 č

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× × µ£x¼ Û×Ù Ģ ǰǰÿöčìĆ÷ = ðäĉÝÝÿöčðïćìǰǰÿöčìĆ÷üćøǰ ǰĂüĉßßćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰǰ= đÖĉéìčÖ׍ ģ ǰǰîĉēøí = ðäĉÝÝÿöčðïćìǰǰîĉēøíüćøǰ ǰĂüĉßßćéĆĆïǰ ǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰĄúĄǰ ǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ø µ£x¼ Û×Û îĉēøí ǰǰĂüĉßßćéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰîćöøĎðéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰÿāć÷êîąéĆïǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąéĆïǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍ öøøÙ ǰǰÿĆööćìĉäåĉǰ ǰÿĆööćÿĆÜÖĆððąǰ ǰÿĆööćüćÝćǰ ǰÿĆööćÖĆööĆîêąǰ ǰÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰÿĆööćüć÷ćöą ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰÿĆööćÿêĉǰ ǰÿĆööćÿöćíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰéĆïìčÖ׍

74


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ù µ£x¼ Û×Ý öĉÝÞćðäĉðìć ǰǰĂüĉßßćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰîćöøĎðǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèą ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰǰ= đÖĉéìčÖ׍ ÿĆööćðäĉðìć ǰǰĂüĉßßćéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąéĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ú µ£x¼ Û×Ý öĉÝÞćðäĉðìć ǰǰöĉÝÞćìĉäåĉǰ ǰöĉÝÞćÿĆÜÖĆððąǰ ǰöĉÝÞćüćÝćǰ ǰöĉÝÞćÖĆööĆîêąǰ ǰöĉÝÞćĂćßĊüąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰöĉÝÞćüć÷ćöąǰ ǰöĉÝÞćÿêĉǰ ǰöĉÝÞćÿöćíĉ ÿĆööćðäĉðìć ǰǰÿĆööćìĉäåĉǰ ǰÿĆööćÿĆÜÖĆððąǰ ǰÿĆööćüćÝćǰ ǰÿĆööćÖĆööĆîêąǰ ǰÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆööćüć÷ćöąǰ ǰÿĆööćÿêĉǰ ǰÿĆööćÿöćíĉǰ

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Û µ£x¼ Û×Þ ǰ ǰĂüĉßßćǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèǰǰǰǰǰǰîćöøĎðǰǰǰǰǰǰÿāć÷êîąǰǰǰǰǰǰǰñĆÿÿąǰǰǰǰǰǰǰđüìîćǰǰǰǰǰǰǰêĆèĀćǰ ĂčðćìćîǰǰǰǰǰǰǰǰõóǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉǰǰǰǰǰǰǰǰìčÖ׍ǰǰǰǰǰǰýøĆìíć ðøćēöì÷ŤǰǰǰǰǰðŘêĉǰǰǰǰǰðŦÿÿĆìíĉǰǰǰǰǰÿč× ÿöćíĉ ÷ëćõĎêâćèìĆÿÿîą îĉóóĉìć üĉøćÙą üĉöčêêĉǰǰǰǰǰ×÷âćè

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ü µ£x¼ Û×ß ǰ ǰÖčýúýĊú Ăüĉððäĉÿćøǰǰǰ ÷ëćõĎêâćèìĆÿÿîą îĉóóĉìć

ðøćēöì÷ŤǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŘêĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦÿÿĆìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿč× üĉøćÙą üĉöčêêĉâćèìĆÿÿîą

ÿöćíĉ

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ý µ£x¼ Û×ß ǰ

ǰē÷îĉēÿöîÿĉÖćøǰǰ ðøćēöì÷ŤǰǰǰǰǰǰǰǰðŘêĉǰǰǰǰǰǰǰǰðŦÿÿĆìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰÿč×ǰǰ îĉóóĉìć üĉøćÙą üĉöčêêĉ

75

ÿöćíĉ

÷ëćõĎêâćèìĆÿÿîą


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Þ µ£x¼ ÛØ× ðäĉÝÝÿöčðïćìǰîĉēøíüćø ǰǰĂüĉßßćéĆïǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąéĆïǰ ēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍ öĆßáĉöćðäĉðìć öøøÙ ǰǰǰǰǰÿĆööćìĉäåĉǰ ǰÿĆööćÿĆÜÖĆððąǰ ǰÿĆööćüćÝćǰ ǰÿĆööćÖĆööĆîêąǰ ǰÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰ ÿĆööćüć÷ćöąǰ ǰÿĆööćÿêĉǰ ǰÿĆööćÿöćíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰéĆïìčÖ׍

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ß µ£x¼ ÛØ×

ē÷îēĉÿöîÿÖĉćø ðêŘĉ Ăüßĉßć ĄúĄ ìÖč׍ ýøìĆíć ðøćēöì÷Ť ÖčýúýĊú ǰǰǰǰĂüĉððäĉÿćø

ðìŦÿìĆíĉ ÿ×č

ÿöćíĉ

îóĉóìĉć üøĉćÙą

÷ëćõêĎâćèìÿĆÿîą

üöĉêčêĉ

×÷âćè

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ö µ£x¼ ÛØØ

íøøöđðŨîĂćĀćøĂčéĀîčîÖĆî ǰ đÿüîćÿĆêïčøčþǰ ǰ ÿéĆïÿĆìíøøöǰ ǰ ýøĆìíćǰǰ ē÷îĉēÿöîÿĉÖćøǰǰ ÿêĉÿĆöðßĆââą ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ĂĉîìøĊ÷ÿĆÜüøǰ ǰ ÿčÝøĉêǰ ǰ ÿêĉðŦäåćîǰǰ ēóßáÜÙŤǰ ǰ üĉßßćüĉöčêêĉ

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×× µ£x¼ ÛØØ

óøĀöÝøø÷ŤìĊęÿĈđøĘÝñú: ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

óïóøąóčìíđÝšćǰ ǰ

ÿéĆïíøøöǰ ǰ

ýĊú ýøĆìíćǰ ǰ

ĂĂÖïüß ǰ ǰ

đÿüîćÿĆêïčøčþ ǰ ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

Ăøĉ÷ýĊú

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ĂîüĆßßÿč×

ÿöćíĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰĂĉîìøĊ÷ÿĆÜüøǰǰǰ ǰǰǰÿêĉÿĆöðßĆââąǰǰǰ ǰǰǰÿĆîēéþǰǰǰǰǰǰǰǰ ÿĎŠìĊęÿÜĆéìĈÿöćíĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßĈøąîĉüøèŤǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰáćîǰ ǰ ǰ ĂĆó÷ćđÿÖÿč× ǰǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ðŦââć üĉßßćǰĤǰ ĀøČĂǰĂõĉââćǰħǰĀøČĂǰüĉßßćǰĩ ǰǰ

76

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰ

ǰǰǰǰ ðøćēöì÷Ť ǰ ǰ

ǰǰǰǰǰ áćîÿč×

ǰ

ǰǰǰǰ×÷âćè

ǰüĉöčêêĉǰ ǰ


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ø µ£x¼ ÛØØ

üÿĉìčíǰĉĨ:

ýĊúǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿöćíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦââć ÿĊúüÿĉìčíĉ Ýêĉêüÿĉìčíĉ ìäĉåüĉÿĉìčíĉ ÖÜĆ×ćüêĉøèüÿĉìčíĉ ýĊúïøĉÿčìíĉĝêćöõĎöĉßĆĚî×ĂÜêî ǰǰǰǰǰ ĂčðÝćøÿöćíĉ×ċĚîĕð ǰǰǰǰǰǰǰ øĎšÝĆÖÿõćüąîćöøĎð ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ đךćĔÝðäĉÝÝÿöčðïćì

öĆÙÙćöĆÙÙâćèìĆÿÿîüĉÿčìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðäĉðìćâćèìĆÿÿîüĉÿčìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰâćèìĆÿÿîüĉÿčìíĉ ǰ óïĒúąñŠćîüĉðŦÿÿîĎðÖĉđúÿĕðĕéš ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ üĉðŦÿÿîćâćè ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ öøøÙâćè

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ù µ£x¼ ÛØÙ

ÝøèąǰĢĦǰ ǰüĉßßćǰĤ ǰǰǰǰ đú×ðäĉðìć ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÝøèąǰĢĦǰ ǰ ýĊúǰ ǰÿöćíĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦââć ÿĊúÿĆöðìćǰ ǰĂĉîìøĊ÷ÿĆÜüøǰ ǰēõßđîöĆêêĆâťčêćǰ ǰßćÙøĉ÷ćîčē÷Ùǰ ǰÿĆìíøøöǰĨǰ ǰáćîǰĥǰǰǰǰǰǰüĉßßćǰĤ Āöć÷đĀêč ǰÿĆìíøøöǰĨǰÙČĂǰýøĆìíćǰĀĉøĉǰēĂðêĆððąǰóćĀčÿĆÝÝąǰüĉøĉ÷ąǰÿêĉǰðŦââć

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ú µ£x¼ ÛØÙ

ĂîčïčóóÿĉÖ×ćǰĀøČĂǰĂîčïčóóðäĉðìć: ýøĆìíćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĕðĀćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĀöĆęîđךćĔÖúšǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÙĂ÷êĆĚÜĔÝøĆïôŦÜǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿéĆïíøøöǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰìøÜíøøöĕüšǰ ǰ ĕêøŠêøĂÜÙüćöǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰđךćĔÝóĂđĀĘîêćöǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰđÖĉéÙüćöóĂĔÝǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰöĊĂčêÿćĀąǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĂïÿüîÝîÝĆïĀúĆÖĕéšßĆé úÜöČĂðäĉïĆêĉđóĊ÷øÝøĉÜÝĆÜǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĀ÷ĆęÜøĎšÿĆÝíøøö

77


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Û µ£x¼ ÛØÙ

íøøöÝøĉ÷ć: ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ýĊúǰǰ ǰ ǰ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰ ǰ ǰ ÿöćíĉǰ ǰǰ ǰǰ ǰǰ ǰ ðŦââć

ÿčÙêĉ

üĉöčêêĉ

ÿĆööćÖĆööĆîêąǰǰ ǰ ǰǰǰÿĆööćüćÝćǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćÿöćíĉǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćìĉäåĉ đüšîðćèćêĉïćêǰ ǰ đüšîĂìĉîîćìćîǰ ǰ đüšîÖćđöÿčöĉÝÞćÝćøǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ

ǰ ǰ ǰ ǰ

đüšîöčÿćüćìǰ ǰ ǰ Ăîõĉßáćǰ ǰ ǰ ǰ ǰ öĊÿĆööćìĉäåĉ đüšîðŗÿčèćüćÝćǰǰ ǰ Ăó÷ćïćì đüšîñøčÿüćÝć đüšîÿĆöñĆððúćðą

Āöć÷đĀêč ǰíøøöÝøĉ÷ćǰàċęÜöĆÖđøĊ÷ÖüŠćǰÖčýúÖøøöïëǰĢġǰîĊĚǰĒìïìčÖךĂĒ÷ÖÙüćöđðŨîǰģǰêĂîǰÙČĂǰđüšîĂąĕøǰÖĆïìĈĂ÷ŠćÜĕøǰ ìŠĂîúï ÖĆïìŠĂîïüÖ ǰÝċÜÙüøđ×Ċ÷îéĆÜîĊĚ ǰĢ ǰđüšîðćèćêĉïćêǰðøćøëîćéĊêŠĂìčÖÙîǰģ ǰđüšîĂìĉîîćìćîǰđÙćøóÖøøöÿĉìíŤĉǰĤ ǰđüšîÖćđöÿčöĉÝÞćÝćøǰ ĕöŠúąđöĉéÝćøĊêǰĥ ǰđüšîöčÿćüćìǰóĎéÙĈÿĆê÷ŤǰĦ ǰđüšîðŗÿčèćüćÝćǰóĎéÿöćîÿćöĆÙÙĊǰħ ǰđüšîñøčÿüćÝćǰóĎéÙĈĕóđøćąǰĨ ǰđüšîÿĆöñĆððúćðǰóĎé ÙĈöĊđĀêčñúđðŨîðøąē÷ßîŤǰĩ ǰĂîõĉßáćǰĕöŠēúõÝšĂÜÝąđĂć×ĂÜĔÙøǰĪ ǰĕöŠó÷ćïćìǰÙĉéđöêêćǰĢġ ǰöĊÿĆööćìĉäåĉǰđĀĘîßĂïêćöÙúĂÜíøøö

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ü µ£x¼ ÛÚÛ

Ģ ǰ ÿĆööćìĉäåĉ ģ ǰ ÿĆööćÿĆÜÖĆððą Ĥ ǰ ÿĆööćüćÝć ĥ ǰ ÿĆööćÖĆööĆîêą Ħ ǰ ÿĆööćĂćßĊüą ħ ǰ ÿĆööćüć÷ćöą Ĩ ǰ ÿĆööćÿêĉ ĩ ǰ ÿĆööćÿöćíĉ

ðŦââćǰ ×ĆîíŤ ǰǰǰǰ ýĊúǰ ×ĆîíŤ ǰǰǰǰ

ÿöćíĉǰ ×ĆîíŤ ǰǰǰǰ

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ý µ£x¼ ÛÚÛ

Ģ ǰ ĂíĉýĊúÿĉÖ×ćǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰģ ǰĂíĉÝĉêêÿĉÖ×ćǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ Ĥ ǰĂíĉðŦââćÿĉÖ×ć ǰ ÿĆööćüćÝćǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰÿĆööćüć÷ćöąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰÿĆööćìĉäåĉ ǰ ÿĆööćÖĆööĆîêąǰǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰÿĆööćÿêĉǰ ǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰÿĆööćÿĆÜÖĆððą ǰ ÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆööćÿöćíĉ

78


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Þ µ£x¼ ÛÚß

ǰ ǰ ýĊúǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰǰÿöćíĉǰǰ ǰ ǰ ǰ ðŦââćǰǰ ǰ ǰ üĉöčêêĉ

ìćîǰ ǰ ǰ ýĊúǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ õćüîć Ýĉêêõćüîćǰǰ ǰ ðŦââćõćüîć đöêêćõćüîć

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×ß µ£x¼ ÛÛÞ

ýøĆìíćǰǰ ǰ ǰ ÿĆööćìĉäåĉǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćâćèąǰ ǰ ǰ ÿĆööćüĉöčêêĉ

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ØÖ µ£x¼ ÛÛß

ǰ ýøĆìíć ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćìĉäåĉǰ ǰ ǰ ÿĆööćâćèǰǰ ǰ ÿĆööćüĉöčêêĉ ē÷îĉēÿöîÿĉÖćø

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ø × µ£x¼ ÛÞÚ D2/!:29 "@+@1 Ů)= 9-*: )< +ů 2 9" ++) ²­»¡¢¼

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ø Ø µ£x¼ ÛÞÛ D2/!:29 "@+@1 Ů)= 9-*: )< +ů 2 9" ++) 0+9 : Ȭ£¾È´«£´¾ ¼­

79


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ø Ù µ£x¼ ÛÞÜ D2/!:29 "@+@1 Ů)= 9-*: )< +ů 2 9" ++) Ů0+9 :ů F*!<F2)!2< :+ ¥ ¾¤» ¾¢­­« à µ¯»

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù × µ£x¼ Ü×Ù

 ƭ¾Î« x£ µ­Á·Çµ¯w ¡¿Î«¼ · ¼­²À ³¼ × ¥­È È ´º¡¿Î ¿ ŮD2=* : $AĊ5?L! 5< <&- : (:*!5 ů

Ø È¬£¾È´«£´¾ ¼­ Ů+AĊ 9 < < A /< = #ď 9*(:*G!ů

­º¤±£ ¼­ · ¼­²À ³¼ UŴ 5 <2=-2< : Ů /:)#+8&, < /<!9* 2@ +< :*/: : E-85: =&ů

VŴ 5 < < 2< : Ů @ ++) @ (:& 2@ (:& E-82)++ (:& 5 < ů

WŴ 5 <#ď :2< : Ů /:)D ?L5 ĉ:!<*) /:)+AĊ /:) < A Ċ5 = :) + :) +< ů

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Ø µ£x¼ Ü×Û ¼ ű ­Ã¥ ű Ƶͣ ĥ :++9"+AĊ ­Ãx´À ´Â ¡Â { ½Ê xµ«¼¬­Ãx ¾ Ů5:* !8ů Ů5:+) čů Ů 9 @/< : ů Ů$9228ů ŮD/ !:ů Ů29 :ů Ů/< 9 8ů

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Ù µ£x¼ Ü×Ü :++9"+AĊ ±¼«­Ãx´À ´Â ¡Â { ±¼«·¬¼ ų LD= #đ!# < <+<*:"/ ų-" ¥} µ¼ Ů$9228ů ŮD/ !:ů Ů 9 3:ů Ů @ čů

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Ú µ£x¼ Ü×Ý :++9"+AĊ ±¼«­Ãx´À ´Â ¡Â { » µ¼ 7-7 Æ ¾ ¥} µ¼ Ů$9228ů ŮD/ !:ů ŮD < @ čů

Ȭ£¾È´«£´¾ ¼­ ¥} ¼ Ç x¥} µ¼ Ů 9" @ čů

80


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Û µ£x¼ ÜØÚ

±» º «¿·È¬£¾È´«£´¾ ¼­Æ¥ £«Ã¯ Ů/9 /!E3ĉ @ č 3+?5/ +#ď 3: D < : 5F*!<F2)!2< :+ů

5/< :

29 :+ 7-7 +: )+ 8 F2 8 #+<D /8 7-7 ĥ ¡Â {Æ ¾

9 3:

5@#: :! 7-7 +: )+ 8 F2 8 #+<D /8 7-7 ĥ ¡Â {Æ ¾

·È¬£¾È´«£´¾ ¼­

±¾±» º «¿È¬£¾È´«£´¾ ¼­Æ¥ £«Ã¯ Ů(:/8#-5 @ č 3+?5E Ċ#ď 3:H Ċ D < : F*!<F2)!2< :+ů

Ȭ£¾È´«£´¾ ¼­

)++ (:/!:Ģ 29)): < < ĥ /< : 5/< : 9" 29 :+ 9" 7-7 ĥ ¡Â { »¤

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ú × µ£x¼ ÝÖÜ D! 9))29 9##Ĉ

F*!<F2)!2< :+ :)2(:/8

29)): < <

ŮH+Ċ :) Ú &*:": Ú /<3< 2:ů

´»««¼´» »¥¥º

5&*:": 29 9##Ĉ 5/<3< 2:29 9##Ĉ

29)):/: : F*!<F2)!2< :+D+Ċ: @0-

29)): 9))9! 8

ŮD2=*2-8 Ú D) : Ú +@ :ů

29)):5: =/8

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ú Ø µ£x¼ ÝÖÜ

´»««¼´» »¥¥º

D! 9))8

D) :

:!

5&*:":

+@ :

#Ā*/: :

29)):/: :

5/<3< 2:

)@ < :

59 +<*:

29)): 9))9! 8

5@D" :

2):!9 :

81


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü × µ£x¼ ÝßÛ

#+:F) *č #ā < #ď229 < 2@ 2): <

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü Ø µ£x¼ ÞÖß

­­« ¼£

¿ »Ï£ ±¼«´½Æ­Í

+: +< F 2 +< F)3 +< 29 : +< &@ < +< /< +< # <(: !<)< 5@# :+2): < # ) :! @ <* :! <* :! @ :! 5+A# :! X

­¾¬¼¡¿ÎƵ«¼º

´¾ ×Ö ų /++ 2< X ų 2< 5?L!J ·´Âªº ×Ö ·£Â´ ¾ ×Ö ų &@ :Ų ++):Ų 29 :Ų 2=-:Ų : :Ų D / :ų ų 5@#2):!@2 <Ų )+ 2 < ų :* :2 < ų 5:!:#:!2 < ·»¥¥«» ¼ Ú ų D) :Ų +@ :Ų )@ < : ų 5@D" : ·¼µ¼Æ­¥ ¾ ï´» ¼ ¢¼ ±±» ¼£ ·­Ã¥ Ú ų 5: :2:!9 :* !8 ų /< : 9 :* !8 ų 5: < 9 :* !8 ų D!/29 :!:29 :* !8

U V W X

82


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü Ù µ£x¼ Þ×Þ × × Ø Ø Ù Ù Ú Ú Û Û UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ \Ų\ UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ \Ų\ ]Ų] UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ \Ų\ ]Ų] UTŲUT Ù Ù Ú Ú Û Û × × Ø Ø UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ 7-7

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü Ú µ£x¼ Þ×ß Ù Ú Û × Ø U V W X Y Z U V W X Y Z [ U V W X Y Z [ \ U V W X Y Z [ \ ] U V W X Y Z [ \ ] UT Ø Ù Ú Û × U V W X Y Z 7-7

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ý × µ£x¼ ÞÛ×

UŴ ´«Â¡¬±¼­ " 5/< :D < 29 :+D < 7-7 : <D < +:)+ 8 F2 8 7-7 5@#:*:2 D < VŴ £¾È­¢±¼­ " 5/< : 9" 29 :+ 9" 7-7 : < 9" +:)+ 8 F2 8 7-7 5@#:*:2 9"

83


Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ý Ø µ£x¼ ÞÛÝ

: W

29 8 X

@ č

2)@ 9*

!<F+

)++

29 :

< :

:

­Ãx±w¼¡Â { Á· » £¿Ï

­Ãx±w¼¡Â {£¿Ï ±­ ½µ£ ­Ãx

­Ãx±w¼¡Â {£¿Ï ½µ£ ­Ãxǯx±

ĥ +AĊ/ĉ:#ď 3: ?558H+ 9/#ď 3:5*Aĉ LH= 3!

ĥ +AĊ/ĉ:#ď 3:!=M Ċ5 D Ċ:G 2(:&E-8 5"D D#đ! Ċ! 5 )9!

ĥ +AĊ/ĉ:H ĊD Ċ:G 2(:&E-8

5"D 5 #ď 3:E-Ċ/

­Ãx±w¼´«Â¡»¬ Á· » £¿Ï Ů+AĊ/ĉ: 9 3:D#đ!D3 @E3ĉ @ čů

­Ãx±w¼´«Â¡»¬£¿Ï ±­¯ºÆ´¿¬ Ů+AĊ/ĉ: 9 3: Ċ5 -8D2=*ů

­Ãx±w¼´«Â¡»¬£¿Ï Ê x¯ºÇ¯x± Ů+AĊ/ĉ: 9 3:H Ċ-8E-Ċ/ů

ĥ +AĊ/ĉ:2:D3 @ 5 #ď 3: ?558H+

ĥ +AĊ/ĉ: 8 Ċ5 E ĊH =L2:D3 @!9M!

ĥ +AĊ/ĉ:2:D3 @!9M!H ĊE ĊH ; 9 E-Ċ/

­Ãx±w¼£¾È­¢ Á· » £¿Ï Ů+AĊ/ĉ:!<&&:!D#đ!(:/8 9" @ čů ĥ +AĊ/ĉ: (:/83) #ď 3: =L Ċ5 :+ ?558H+ ! Ċ5 :+ 3+?5 /+ Ċ5 :+58H+

­Ãx±w¼£¾È­¢ ±­¡½ÉµxÇ x Ů+AĊ/ĉ:!<&&:! /+"++-@ů

­Ãx±w¼£¾È­¢£¿Ï Ê x¥­º » ³{Ç x ǯx± Ů+AĊ/ĉ:H Ċ"++-@!<&&:!E-Ċ/ů

ĥ +AĊ/ĉ:(:/8!9M! D#đ! @ 3):* L = Ċ5 H#G3Ċ >

ĥ +AĊ/ĉ:H Ċ"++-@ @ 3):*!9M!E-Ċ/

­Ãx±w¼«­­ Á· » £¿Ï Ů+AĊ/ĉ:)++ )=5 č \ D#đ! : 9" @ čů

­Ãx±w¼«­­ ±­Æ ­¾ Ů+AĊ/ĉ:)++ )=5 č \ /+# <"9 <ů

­Ãx±w¼«­­ £¿Ï Ê xÆ ­¾ ǯx± Ů+AĊ/ĉ:H Ċ# <"9 < :))++ E-Ċ/ů

ĥ +AĊ/ĉ:/< = :+E Ċ#ď 3:D#đ!5*ĉ: H+

ĥ +AĊ/ĉ:/< = :+!9M! 8 Ċ5 - )?5# <"9 < 3+?5 9 ;D!<! :+

ĥ +AĊ/ĉ:H Ċ# <"9 < :)/< = :+!9M! D2+K 2<M!D+=*"+Ċ5*E-Ċ/

Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ý Ù µ£x¼ ÞÝÞ

 ƭ¾Î« Æ ­Áη Æ´­¾« Ů#ď 9* 5 29)): < <ů

UŴ #+F F 28 L = = 29)): < <

VŴ F*!<F2)!2< :+

­º¤±£ ¼­ · ¼­²À ³¼ ŮH +2< :ů 29 ) < #ď : × ·¢¾²¿¯

UŴ 5 <0=-

UŴ 5 <0=-

ĥ 2+Ċ:

VŴ 5 < <

Ø ·¢¾ ¾

UŴ 5 < <

ĥ 2+Ċ:

WŴ 5 <#ď : WŴ 5 <#ď : Ù ·¢¾¥} ¼ ĥ 2+Ċ:

84

¿±¾ ¥­ºÆ´­¾

 µ«¼¬ · ¿±¾

Ů)++ ů

Ů59 8ů

29)):/: : 29)): 9))9! 8 29)):5: =/8 29)):/:*:)8 29)):2 < 29)):2): < 29)): < < 29)):29 9##8

UŴ < 9))< 9 8 VŴ 29)#+:*< 9 8 WŴ #+)9 8

Ů29)): : ų 29)):/<)@ <ů


รายชื่อธรรมนิพนธ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ที่บรรจุอยูใน SD Card ของพระเครื่องแสดงธรรม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

A Brief Introduction to the Buddha-Dhamma A CONSTITUTION FOR LIVING Buddhist principles for a fruitful and harmonious life Beyond Tolerance and Pleasure Buddhism - A Layman's Guide of Life Buddhism & The Business World: The Buddhist Way to deal with business Buddhism and Education Buddhist Economics Buddhist Solutions for the twenty- first century Dependent Origination Ethics, Wealth and Salvation - A Study in Buddhist Social Ethics F R E E D O M Individual and Social Good, Evil and Beyond … Kamma in the Buddha's Teaching Helping Yourself To Help Others JATAKA TALES BOOK I (M.S. 2) JATAKA TALES BOOK II (M.S. 3) Looking to America to Solve Thailand's Problems SAMADHI IN BUDDHISM SAMMASATI An Exposition of Right Mindfulness THAI BUDDHISM in the Buddhist World 85


20 The Buddhist Discipline in Relation to Bhikkhunis Questions and Answers Phra Payutto and Dr. Martin Seeger 21 The Pali Canon What a Buddhist Must Know 22 THE THREE SIGNS: ANICCA, DUKKHA & ANATTA IN THE BUDDHA’S TEACHINGS 23 TOWARD SUSTAINABLE SCIENCE A Buddhist look at trends in scientific development 24 VISAKHA PUJA B.E.2540 (1997) 25 Vision of the Dhamma A Collection of Buddhist Writings in English 26 กฐินแรกที่สายใจธรรม 27 กฐินสองที่สายใจธรรม 28 กฐินสูธรรม 29 กรณีเงื่อนงําพระพุทธเจาปรินิพพานดวยโรคอะไร? 30 กรณีเงื่อนงําพระพุทธเจาปรินิพพานดวยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น) 31 กรณีธรรมกาย (ฉบับคัดตัวอยาง) 32 กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรค สังคมไทย ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม 33 กรณีสันติอโศก 34 กรรม กับโรคพันธุกรรมในทัศนะพระพุทธศาสนา 35 กรรม ตามนัยแหงพุทธธรรม 36 กรรมของคนไทย ทํากันไวเอง (ถึงเวลา มาแกกรรมกันเสียที) 37 กรรม-นรกสวรรค สําหรับคนรุนใหม 38 กระบวนการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย 39 กระแสธรรม กระแสไท 86


40 กระแสธรรม เพื่อชีวิตและสังคม 41 กวาจะพบหลวงลุงฉาย แลวพากันไปวัดญาณเวศก (ลี้มหาจุฬาฯ ลาวัดพระพิเรนทร เรนวัดญาณเวศกวัน) 42 กายหายไข ใจหายทุกข 43 การเกิดเปนทุกข เกิดดีเปนสุข 44 การพัฒนาจริยธรรม 45 การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) 46 การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทํางาน 47 การแพทยแนวพุทธ 48 การแพทยยุคใหม ในพุทธทัศน 49 การศึกษา เครื่องมือพัฒนาที่ยังตองพัฒนา 50 การศึกษา ทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย 51 การศึกษา เพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน 52 การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย 53 การศึกษากับการวิจัย เพื่ออนาคตของประเทศไทย 54 การศึกษากับเศรษฐกิจ ฝายไหนจะรับใชฝายไหน 55 การศึกษาของคณะสงฆ : ปญหาที่รอทางออก 56 การศึกษาฉบับงาย Educaion Made Easy 57 การศึกษาทั่วไปเพื่อสรางบัณฑิต 58 การศึกษาทางเลือก : สูวิวัฒนหรือวิบัติ ในยุคโลกไรพรมแดน 59 การศึกษาพัฒนาการ หรือบูรณาการ 60 การศึกษาเพื่อสรางบัณฑิต หรือ การศึกษาเพื่อเพิ่มผลผลิต 61 การศึกษาเพื่อสันติภาพ 62 การศึกษาเริ่มตน เมื่อคนกินอยูเปน 87


63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85

การสรางสรรคประชาธิปไตย การสรางสรรคปญญา เพื่ออนาคตของมนุษยชาติ การสื่อภาษา เพื่อเขาถึงสัจธรรม การเสริมสรางคุณลักษณะเด็กไทย กาลเวลา กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก [InsertTimelineVers6] กาวไปในบุญ กาวไปในบุญ [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] กาวใหมของโรงเรียนนายรอยตํารวจ กับการศึกษาเพื่อสันติสุขของโลก เกณฑวินิจฉัย ความหมายและคุณคาของพุทธธรรม [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] แกนแทของพระพุทธศาสนา (ทุกขสําหรับเห็น - สุขสําหรับเปน) แกปญหาขางหนา เสียแตวันนี้ ขวางกอนอิฐมา พัฒนาเปนแกวมณี ขอคําตอบจาก ผบ ทหารสูงสุด ขอคิดชีวิตทวนกระแส ขอคิดเพื่อการศึกษา ของขวัญของชีวิต คติจตุคามรามเทพ คติธรรมคําคม คติธรรมแหงชีวิต คนไทย กับ เทคโนโลยี คนไทย ใชกบเฒา? เถราวาท VS. ลัทธิอาจารย 88


86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107

คนไทย สูยุคไอที คนไทย หลงทางหรือไร คนไทยกับ สัตวปา คนไทยกับปา คนไทยใจไมแคบ แตระวังไว: อยาใหปญญาแคบ ตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนา เหตุผลที่แทอยูที่ไหน คนรักษปา ปารักษคน ครองเรือน-ครองรัก จักเลิศแท ดวยครองธรรม ความคิด แหลงสําคัญของการศึกษา ความจริงแหงชีวิต ความจริงแหงชีวิต และ ชวยใหตายเร็ว หรือชวยใหตายดี ความตายคือคติธรรมแหงชีวิต และการบําเพ็ญกุศลเพื่อรําลึกถึงผูลวงลับไปแลว ความเปนกัลยาณมิตร ของหลวงปูชา ความเปนอนิจจังของสังขาร กับอิสรภาพของสังคม ความมั่นคงทางจิตใจ (Spiritual Security) ความมุงหมายของวิชาพื้นฐานทั่วไป ความรัก จากวาเลนไทน สูความเปนไทย ความรักในทางพุทธศาสนา, รักแทรักเทียมดูอยางไร, คูครองที่ดี ความรุนแรง เกิดจากความออนแอ & เมื่อวินัยไมมี เสรีภาพก็หายไป ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะศาสนาประจําชาติ ความสุข ๕ ชั้น ความสุข ที่สมบูรณ ความสุข ทุกแงทุกมุม 89


108 ความสุขของครอบครัว คือ สันติสุขของสังคม 109 ความสุขที่แทจริง รางกายเปลี่ยนแปลงไป จิตใจเจริญไปสูหนทางแหง ความดีงาม 110 ความสุขอยูที่นี่ มัวไปหากันที่ไหน 111 คานิยมแบบพุทธ 112 คําถามสําหรับชาวพุทธ (สํารวจตัวกอนปฏิบัติธรรม) 113 คําปราศรัยของพระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ในพิธีรับถวาย รางวัล การศึกษาเพื่อสันติภาพ ของ ยูเนสโก ป ๒๕๓๗ UNESCO Prize for Peace Education 1994 114 คุณบิดามารดา สุดพรรณนามหาศาล 115 คูมือชีวิต 116 คูสรางคูสม ชีวิตคูในอุดมคติ 117 งานก็ไดผล คนก็เปนสุข 118 จริยธรรมสําหรับคนรุนใหม 119 จะพัฒนาคนกันไดอยางไร? 120 จะสุขแท ตองเปนไท ตองสุขเองได จึงจะชวยโลกใหเปนสุข 121 จะอยูอยางเปนเหยื่อ หรือ ขึ้นเหนือไปนําเขา 122 จักรใด ขับดันยุคไอที 123 จัดงานวิสาขบูชา อยาอยูแคหนาตา ตองไปใหถึงเนื้อตัว 124 จัดระเบียบสังคม ตามคตินิยมแหงสังฆะ 125 จากจิตวิทยา สูจิตภาวนา 126 จากพระ (ธรรมบรรยาย ๕ เรื่อง) 127 จากสุขในบาน สูความเกษมศานตทั่วสังคม 128 จาริกบุญ จารึกธรรม 90


129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151

จาริกบุญ จารึกธรรม [16 PAGE COLOR] จารึกอโศก จารึกอโศก (ธรรมจักรบนเศียรสี่สิงห) รัฐศาสตรแหงธรรมาธิปไตย จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาคน ตามแนวธรรมชาติ เจอวิกฤต จะเลือกวิวัฒน หรือจะเอาวิบัติ เจอวิกฤต จิตไมวิบัติ เจาะหาความจริง เรื่อง ศาสนาประจําชาติ ชวนคิด - พินิจธรรม ชวยกันนําพาประเทศไทย ใหกาวไปอยางสงางาม ในทามกลางประชาคมโลก ชวยใหตายเร็ว หรือชวยใหตายดี ชีวิต งาน และสังคมที่สมบูรณ ชีวิตก็สุขสันต สังคมก็เกษมศานต ชีวิตกับการทํางาน ชีวิตควรใหเปนอยางไร? ความสุข ชีวิตคูที่มีคุณคา ชีวิตที่ดีงาม หลักการทั่วไปของการปฏิบัติธรรม ชีวิตที่เปนอยูดี ดวยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทําใหพัฒนาครบ ๔ ชีวิตที่สมบูรณ ชีวิตที่สรางสรรค สดใส และสุขสันต ชีวิตนี้เพื่องาน งานนี้เพื่อธรรม ชีวิตหนึ่งเทานี้ สรางความดีไดอนันต เชื่อกรรม-รูกรรม-แกกรรม ดําเนินชีวิตดวยความไมประมาท 91


152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163

164 165 166 167 168 169 170 171

ดุลยภาพ: สาระแหงสุขภาพและความสมบูรณ ดูหนังสือของพระมโน สะทอนภาพโซของการศึกษาไทย ตองฟนฟูวัดใหชนบท พัฒนา สังคมไทยจึงจะกาวหนาได มั่นคง ตอบ ดร.มารติน: ดลถิ่นอริยชน สตรีหลุดพน ขึ้นเหนือมหาพรหม ตอบ ดร.มารติน: พุทธวินัย ถึง ภิกษุณี ตอบเรื่อง สีลัพพตปรามาส วินัย ดูใจ ตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนา เหตุผลที่แทอยูที่ไหน คนไทยไมใจแคบ แตระวังไว: อยาใหปญญาแคบ ตามทางพุทธกิจ ตามทางพุทธกิจ [16 PAGE COLOR] ตามพระใหมไปเรียนธรรม (ธรรมบรรยาย แกพระนวกะ รุนพรรษา ๒๕๓๙) ๖๐ ตอน: ตอน ๑-๔ บวชแลว จะเริ่มเรียน ตามพระใหมไปเรียนธรรม (ธรรมบรรยาย แกพระนวกะ รุนพรรษา ๒๕๓๙) ภาค ๑ วางฐานชีวิตแหงการศึกษา (ตอน ๑-๖ ใน ๖๐ ตอน) ตามพระใหมไปเรียนธรรม (ธรรมบรรยาย แกพระนวกะ รุนพรรษา ๒๕๓๙) ภาค ๒ แคดูเปลือก ถามองเปน ก็เห็นพระพุทธศาสนา (ตอน ๗-๑๔ ใน ๖๐ ตอน) ตื่น-กันเสียที จาก ความเท็จ ของหนังสือ “เหตุเกิด พ.ศ. ๑” ตื่นเถิดชาวไทย เตรียมตัวรับพร ไตรภูมิพระรวงอิทธิพลตอสังคมไทย ไตรลักษณ ไตรลักษณ (จบโลก ถึงธรรม ดวยรูสามอยางนี้) ถาเชิดชูพระคุณแมขึ้นมาได สังคมไทยไมสิ้นความหวัง ถารูจักพระพุทธศาสนา ความสุขตองมาทันที 92


172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188

189 190 191

ถาอยากพันวิกฤต ตองเลิกติดไสยศาสตร ถึงเวลา มาพัฒนาเยาวชนกันใหม ถึงเวลา มารื้อปรับระบบพัฒนาคนกันใหม ทรัพย-อํานาจ ทวนกระแส? ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฎก หมวดพุทธศาสตร ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฎก หมวดสังคมศาสตร ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฏก หมวดวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฏก หมวดศึกษาศาสตร ทัศนะของพระพุทธศาสนา ตอ สตรีและการบวชเปนภิกษุณี ทางสายอิสรภาพ ของการศึกษาไทย ทางออกระบบเศรษฐกิจ ที่ครอบงําสังคมไทย ทําแทง และ สารพันปญหา ชีวิต กับการตัดสินใจทางการแพทย ทําแทง: ตัดสินอยางไร ชีวิตเริ่มตนเมื่อไร การทําแทงในทัศนะของพุทธ ศาสนา ทําไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนาฯ ขอพิจารณาเกี่ยวกับ วิชา พระพุทธศาสนาและจริยศึกษา ในหลักสูตรการศึกษาของชาติ ทําอยางไร จะใหงานประสานกับความสุข ทําอยางไรจะหายโกรธ ทําอยางไรจะหายโกรธ / TEN WAYS TO KEEP ANGER AT BAY: Buddhist's Quick Tips to Quell Malcontent [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] ทําอยางไรจะใหเชื่อเรื่อง กรรม ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ ทุกขสําหรับเห็น แตสุขสําหรับเปน 93


192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212

เทศนงานสมเด็จยา และคําปราศรัยเรื่องสันติภาพ ธรรม กับ การศึกษาของไทย ธรรม กับ การศึกษา-พัฒนาชีวิต ธรรมกถา สําหรับ ญาติของผูปวย ธรรมกับไทย ในสถานการณปจจุบัน ธรรมนูญชีวิต A Constitution for Living [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม ธรรมเพื่อชีวิต และการพัฒนาวัฒนธรรม ธรรมะ ฉบับเรียนลัด ธรรมะกับการทํางาน ธรรมะชนะเอดส ธรรมาธิปไตยไมมา จึงหาประชาธิปไตยไมเจอ (จุดบรรจบ: รัฐศาสตร กับ นิติศาสตร) ธรรมาลัย ทานผูหญิงพูนศุข พนมยงค ธุดงค ทําอะไร ที่ไหน เพื่ออะไร? ธุรกิจ-ฝาวิกฤต ตอบปญหา-สนทนาธรรม กับ คุณอานันท ปนยารชุน และคณะ นรก-สวรรค ในพระไตรปฎก นักวิชาการ เทศ-ไทย หาความรูใหแน ใชแคคิดเอา นิติศาสตรแนวพุทธ นิพพาน อนัตตา ในความทรงจํา ที่งดงามสดใส (วัดวชิรธรรมปทีป ในฉากชีวิตของพระรูปหนึ่ง) บทนําสู พุทธธรรม ชีวิตงาม สังคมดี ธรรมชาติเปนรมณีย 94


213 บทบาทนักศึกษาในการศึกษา พุทธศาสนา [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 214 บารมี ยิ่งยวด หรือ ยิ่งใหญ 215 บุญ กรรม นรก-สวรรค เลือกไดทุกคน 216 ปฏิจจสมุปบาท (กรรมเกิด กรรมอาศัย กรรมเปนไป ที่นี่) 217 ปฏิบัติธรรม ใหถูกทาง 218 ปฏิรูปการศึกษา พระพุทธศาสนาจะไปอยูไหน? 219 ประชาธิปไตย ไมยาก ถาอยากได 220 ประชาธิปไตยจริงแท...คือแคไหน 221 ประทีปสองสยาม 222 ประโยชนสูงสุดของชีวิตนี้ (ปญญา วิสุทธิ กรุณา มาบรรจบ ที่นี่) 223 ปรัชญาการศึกษาของไทย ภาคพุทธธรรรม: แกนนําการศึกษา 224 ปญหาขัดแยงในโลก แกไดดวยกฐิน 225 ปใหม ตอนรับ หรือทาทาย 226 ปุจฉา-วิสัชนา เทคโนโลยีการแพทยกับจริยธรรมพุทธ 227 เปนสุขทุกเวลา 228 ผูพิพากษา ตั้งตุลาใหสังคมสมในดุล 229 ฝรั่งเจริญเพราะดิ้นรนใหพนจาก การบีบคั้นของศาสนาคริสต 230 ฝงลูกนิมิต-ผูกสีมา ปุจจา - วิสัชนา 231 พ.ร.บ. คณะสงฆ เรื่องเกา ที่เถียงกันใหม ขอคิดเกาๆ 232 พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม Dictionary of Buddhism 233 พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท 234 พฒนาคุณภาพชีวิต ดวยจิตวิทยาแบบยั่งยืน 235 พรตลอดป ชีวิตดีตลอดไป 95


236 237 238 239 240 241 242 243 244 245 246 247 248 249 250 251 252 253 254 255 256 257

พรที่สัมฤทธิ์ แกผูดําเนินชีวิตที่ดี พระกับปา มีปญหาอะไร? พระไตรปฎก สิ่งที่ชาวพุทธตองรู พระไตรปฎก สิ่งที่ชาวพุทธตองรู The Pali Canon What a Buddhist Must Know [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] พระไตรปฎกอยูนี่: อยูที่ชวนกันไมประมาทในการศึกษา พระไทย ใชเขาใชเรา? นิพพาน – อนัตตา: ฉบับเพียงเพื่อไมประมาท พระธรรมทูตไทย เบิกทางสูอารยธรรมใหม พระพุทธศาสนา กับ การบริจาคอวัยวะ พระพุทธศาสนา พัฒนาคนและสังคม พระพุทธศาสนาในโลกธุรกิจ : การใชพุทธธรรมในการทําธุรกิจ พระพุทธศาสนาในอาเซีย พัฒนาการแบบองครวม ของเด็กไทยฯ พัฒนาคุณภาพชีวิต ดวยจิตวิทยาแบบยั่งยืน พัฒนาตน พัฒนาปญญา เลาเรื่องใหโยมฟง ชุดที่ ๒ พัฒนาวัฒนธรรม ในตัวคนไทย พัฒนาสังคมไทย ดวย ความรูเขาใจไตรภูมิ Developing Thai Society with a Thorough Knowledge [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] พัฒนาสังคมไทย ดวย ความรูเขาใจไตรภูมิฯ พิธีกรรม ใครวาไมสําคัญ พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พุทธธรรม กับ การพัฒนาชีวิต [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย 96


258 พุทธธรรมกับการฝกหัดครู 259 พุทธวิธีแกปญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ 260 พุทธวิธีแกปญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century) [ฉบับ ๒ พากย] 261 พุทธวิธีในการสอน 262 พุทธศาสนกับการแนะแนว 263 พุทธศาสนา กับ ชีวิตและสังคม [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 264 พุทธศาสนา ในฐานะเปนรากฐานของ วิทยาศาสตร 265 พุทธศาสนากับสังคมไทย 266 เพิ่มพลังแหงชีวิต 267 เพื่อชุมชนแหงการศึกษา และบรรยากาศแหงวิชาการ 268 โพชฌงค พุทธวิธีเสริมสุขภาพ 269 โพชฌงค พุทธวิธีเสริมสุขภาพ - Bojjhanga The Buddhist Way of Enhancing Health [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 270 ฟนสุขภาวะ ยามสังคมวิกฤต 271 ภัยแหงพระพุทธศาสนา - ความรูเพื่อ พัฒนาการนับถือศาสนาของคน 272 ภัยแหงพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย 273 ภาวะผูนํา 274 ภาวะผูนํา & จริยธรรมนักการเมือง 275 ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมไทย ทามกลางความเปลี่ยนแปลงของ โลก 276 ภูมิธรรมชาวพุทธ (หมวดธรรมเลือกสรรจาก พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) 277 มรณกถา พระธรรมเทศนาเกี่ยวกับความตาย 97


278 279 280 281 282 283 284 285 286 287 288 289 290 291 292 293 294 295 296 297 298 299 300

มหาจุฬาฯ งามสงาสดชื่น กลางทะเลแหงคลื่นลม มหาจุฬาฯ งามสงาสดชื่น กลางทะเลแหงคลื่นลม [ปกภาพสี] มองธรรมถูกทาง มีสุขทุกที่ มองวิสาขบูชา หยั่งถึงอารยธรรมโลก มองสันติภาพโลก ผานภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน มองหนังสือ พุทธธรรม ถามหาอนาคต มองใหลึก นึกใหไกล ขอคิดจากเหตุการณเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๕ มองอเมริกา มาแกปญหาไทย มาตรฐานชีวิตของชาวพุทธ เมืองไทยจะวิกฤต ถาคนไทยมีศรัทธาวิปริต เมื่อธรรมดามาถึง รูใหทัน และทําใหถูก ยามเจ็บไข รักษาใจได ยามถึงคราวของธรรมดา มีปญญารูเทาทัน ยิ่งกาวถึงสุข ยิ่งใกลถึงธรรม โยนิโสมนสิการ วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม ระลึกถึงความตาย และวิธีปฏิบัติใหถูกตองตอความตาย รักษาใจ ผูปวยและผูพยาบาล รักษาใจยามปวยไข ธรรมกถาสําหรับผูปวย ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย รักษาใจยามรักษาคนไข รัฐกับพระพุทธศาสนา ถึงเวลาชําระลางหรือยัง? รัฐศาสตรแนวพุทธ ตอน จริยธรรมนักการเมือง รัฐศาสตรเพื่อชาติ VS รัฐศาสตรเพื่อโลก ราเริงสดใส สูความเกษมศานต ร่ํารวย ยิ่งใหญ เลื่อนลอย หรือเพื่ออะไร และ ชีวิตที่สมบูรณื์ 98


301 302 303 304 305 306 307 308 309 310 311 312 313 314 315 316 317 318 319 320 321 322 323

ร่ํารวย ยิ่งใหญ เลื่อนลอย หรือเพื่ออะไร? รุงอรุณของการศึกษา รุงอรุณของการศึกษา เบิกฟาแหง การพัฒนาที่ยั่งยืน รูจักพระไตรปฎก ใหชัด ใหตรง (กรณีพระคึกฤกธิ์) รูจักอเมริกา หันมาดูศักยภาพของไทย รูไวเสริมปญญา และพัฒนาคน รูหลักกอน แลวศึกษาและ สอนใหไดผล รูใหถึง ทําใหถูก เราจะกูแผนดินกันอยางไร? เรื่องที่คนไทยควรเขาใจใหถูก เรื่องนารูเกี่ยวกับพิธีศพ และพุทธภาษิตชีวิตกับความตาย เรื่องเหนือสามัญวิสัย อิทธิปาฏิหาริย เทวดา โรงเรียนตองชวยสังคมไทย อนุรักษความเจริญทางจิตใจ และกาวไปในปญญา ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา เลาเรียน-ทํางานกันไป ชีวิตไดอะไร โลกขึ้นสหัสวรรษใหม คนตองเปลี่ยนแนวความคิดใหม โลกมีปญหา พุทธศาสนามีคําตอบ วัฒนธรรม กับ การพัฒนา วันสําคัญของชาวพุทธไทย วาสนาสรางเองได วิถีสูสันติภาพ วิถีแหงปราชญ ฉบับสมบูรณ วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม 99


324 วินัย: เรื่องใหญกวาที่คิด 325 วินัยชาวพุทธ THE BUDDHIST'S DISCIPLINE 326 วินยั ชาวพุทธ THE BUDDHIST'S DISCIPLINE [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 327 วิสัยธรรม เพื่อเบิกนําวิสัยทัศน 328 เวลาแตละวัน อยาใหผานไปเปลา 329 ศาสนาและเยาวชน 330 ศิลปศาสตร เพื่อการศึกษาที่ยั่งยื่น 331 ศิลปศาสตรแนวพุทธ 332 เศรษฐศาสตรแนวพุทธ (Buddhist Economics) 333 เศรษฐศาสตรแนวพุทธ (Buddhist Economics) [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 334 สถานการณพระพุทธศาสนา ทวนกระแสไสยศาสตร 335 สถานการณพระพุทธศาสนา พลิกหายนะ เปนพัฒนา 336 สถาบันสงฆ กับ สังคมปจจุบัน วิเคราะหปญหาสําหรับและแนะแนว ทางการศึกษาและวิธีแกไข "ปญหาลาหลังในวงการคณะสงฆ" 337 สถาบันสงฆในสังคมไทย 338 สถาปนาธรรม ใหเกิดมีและยืนยงในสังคม [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 339 สนทนาธรรม "คติ-จตุคามรามเทพ" 340 สมาธิ : ฐานสูสุขภาพจิตและปญญาหยั่งรู 341 สมาธิแบบพุทธ 342 สยามสามไตร 343 สรางวาสนา-เพิ่มคาใหอายุ 100


344 345 346 347 348 349 350 351 352 353 354 355 356 357 358 359 360 361 362 363 364 365 366

สลายความขัดแยง เข็มแข็งดวยปญญา สลายความขัดแยง นิติศาสตร-รัฐศาสตร-เศรษฐศาสตร แนวพุทธ สลายความขัดแยง สังคมศาสตรที่หยั่งถึงธรรมชาติ สอนนาค-สอนฑิต ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ สังคมจะเฟองฟู ตองเชิดชูบัณฑิต สัจจธรรมกับจริยธรรม สันติภาพ เกิดจากอิสรภาพและความสุข PEACE THROUGH FREEDOM AND HAPPINESS สัมมาทิฏฐิ สัมมาสติ ในพุทธธรรม สัมมาสมาธิ สมาธิแบบพุทธ สัมมาอาชีวะ สามไตร สารัตถธรรม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทวฤทธิ์ปาฏิหาริย สิทธิมนุษยชน สรางสันติสุขหรือสลายสังคม สี่หนาที่ของสตรีไทย สืบสานวัฒนธรรมไทย บนฐานแหงการศึกษาที่แท สุขนี้มิไกล ใครมีปญญาไวหาไดทุกสถาน สุขภาวะองครวมแนวพุทธ สุขสดใส ใหมทุกเวลา สูการศึกษาแนวพุทธ สูอนาคตที่สดใส ดวยการศึกษาไทยวิถีพุทธ แสงเงินแสงทอง ของชีวิตที่ดีงาม 101


367 368 369 370 371 372 373 374

375 376 377 378 379 380 381 382 383

หนังสือสวดมนต (ฉบับงานมงคล) หนังสือสวดมนต วัดญาณเวศกวัน สถานพํานักสงฆสายใจธรรม หนาที่ กับ ธรรม สู หนาที่เพื่อธรรม หยาดเพชร หยาดธรรม ภูมิปญญาเพื่อการศึกษาไทย หลักกรรมสําหรับคนสมัยใหม หลักชาวพุทธ (แผนพับ) หลักชาวพุทธ (สามไตร ณ ฐานของปฏิบัติการ) จุดเริ่มจุดรวม ที่มารวม กันรุงโรจน หลักชาวพุทธ จุดเริ่มจุดรวม ที่มารวมกันรุงโรจน (สามไตร ณ ฐานของปฏิบัติการ) The Buddhist's Tenets A Starting Point and a Unifying Point - A Convergence for Success and Prosperity) [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] หลักทั่วไป ของ พุทธศาสตร [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] หลักแมบท ของ การพัฒนาตน หลักสูตรอารยชน หลักสูตรอารยชน A Curriculum for Civilized People [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] เหตุปจจัย ในปฏิจจสมุปบาท และกรรม เหตุและผล ของ การอวดอุตริมนุษยธรรม (ทําไมพระพุทธเจา จึงหามอวดอุตริมนุษยธรรม?) องคพระรัฐสีมาคุณากรปยชาติ อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต [ฉบับ ๒ พากย บาลี-ไทย] อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต The Nectar of Truth A Selection of Buddhist Aphorisms [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 102


384 อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต The Nectar of Truth A Selection of Buddhist Aphorisms [ฉบับ ๓ พากย บาลี-ไทย-อังกฤษ] 385 อยูก็สบาย ตายก็เปนสุข 386 อายุยืนอยางมีคุณคา 387 อายุรแพทยกับปญหาจริยธรรม 388 อารยธรรมไทย ทางเลือกออกจากยุคพัฒนา 389 อิทธิปาฏิหารยเทวดา ทัศนะของพระพุทธศาสนา ตอเรื่องเหนือสามัญวิสัย 390 อุดมคติ ของ คนหนุมสาว [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 391 อุดมธรรม นําจิตสํานึกของสังคมไทย 392 ไอซีที [ICT] กาวหนา คนตองพัฒนาปญญาและวินัย 393 ไอที ภายใตวัฒนธรรมแหงปญญา (ศาสนากับยุคโลกาภิวัตน)

103


บันทึก


บันทึก



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.