สื่อด้านงานกรฟิก

Page 1

1

สื่อการสอนกราฟก — Presentation Transcript - Graphic คืออะไรกราฟก เปนสิ่งที่เกีย่ วของกับตัวเราอยางมากในปจจุบนั ไมวาจะเปนสัญลักษณ โลโก กระดาษ แผนพับ หรือโฆษณา กราฟกมีที่มาจากคําในภาษากรีก คือ Graphikos ที่แปลวา "การวาดเขียน และ เขียนภาพ" หรือคําวา "Graphein" ที่แปลวา "การเขียน" - นิยามของ กราฟก Graphics กราฟก เปนศิลปะอยางหนึ่ง ที่แสดงออกดวยความคิดอาน โดยใชเสน รูปภาพ ภาพเขียนไดอะแกรม และอื่นๆ การสื่อความหมายดวยการใชภาพวาด ภาพสเกต แผนภาพ ภาพถาย และอื่นๆ ที่ตองอาศัยศิลปะ และศาสตร เขามาชวย เพื่อใหผูดูเกิดความคิด และตีความหมายไดตรงตามที่ผู สรางสรรคตองการสื่อ เชน แผนภูมิ แผนภาพโฆษณา การตูน เปนตน โสตทัศนวตั ถุที่ผลิตขึ้นเพื่อแสดง สัญลักษณ หรือความหมายของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ทําใหคนไดมองเห็นความจริง หรือความคิดอันถูกตองชัดเจน จากวัสดุกราฟกนัน้ ๆ การพิมพ การแกะสลัก การถายภาพ และการจัดทําหนังสือ - คอมพิวเตอรกราฟก หมายถึง การสรางและการจัดการกับภาพกราฟกโดยใชคอมพิวเตอร ซึ่งการพัฒนา คอมพิวเตอรกราฟกเริ่มตนมาจากการเปน เทคนิคอยางหนึง่ ในการแสดงขอมูลตัวเลข จํานวนมาก ๆ ใหอยูใน รูปที่ชัดเจนกวาเดิมและทําความเขาใจไดงายกวาเดิม เชน ขอมูลอาจแสดงได ในรูปของ เสนกราฟ แผนภาพ แผนภูมิ แทนที่จะเปนตารางของตัวเลข จากนัน้ การใชภาพกราฟก แสดงผลแทนขอมูลหรือ ขาวสารที่ยุงยากก็มกี ารพัฒนามากขึ้นเรื่อย ๆ ปจจุบันมีการใชภาพกราฟก ในงานทุก ๆ ดาน ไมวา ดานธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม งานศิลปะ การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวิจัย การฝกอบรม และงาน ทางการแพทย จนเห็นไดชัดเจนวา คอมพิวเตอรกราฟก นัน้ เริ่มมีความ สําคัญ เนื่องจากเปนเครื่องมือที่ สามารถชวยงานในการออกแบบทางดานกราฟกใหเปนไปอยางรวดเร็ว สะดวก ไมตองอาศัยเครื่องมือ จํานวนมาก อีกทั้งผูออกแบบเองก็สามารถดูผลงานการออกแบบของ ตนเองไดทนั ที

http://www.slideshare.net/vorravan/ss-8459529


2

งานกราฟก งานกราฟก หมายถึง งานการวางแผนทางศิลปะและการทําหัวเรื่อง โดยรูขนาดและสัดสวนหลัก ในการออกแบบ รวมถึงการใชสีเปนองคประกอบเพื่อเนนและดึงดูดความสนใจใหมากขึน้ และเปนการชวย ใหไดรายละเอียดชัดเจนของวัสดุที่ใชประกอบการสอน และยังมีความหมายรวมไปถึงการผนึกภาพ ภาพถาย รูปถาย อีกดวย


3

ประเภทของภาพกราฟกมีอะไรบาง การสรางภาพกราฟกดวยคอมพิวเตอร มีวิธีการสราง 2 แบบ คือ แบบบิตแมป(Bit Mapped) และแบบ เวกเตอร (Vector) หรือสโตรก(Stroked) แตละแบบวิธีการรสรางภาพดังตอไปนี้ 1. กราฟกแบบบิตแมปกราฟกแบบบิตแมปความหมายทีค่ อนขางจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเปน ชองๆ เหมือนตาราง แตละบิตก็คือสวนหนึ่งของขอมูลคอมพิวเตอร (ซึ่งก็คือสวิตซปดเปดใน หนวยความจํา "1" หมายถึงเปด และ "0" หมายถึงปด) และสวิตซปดเปดนี้กย็ ังหมายถึงสีดําและสีขาว อีกดวย ดังนั้น ถาเราเอาบิตที่แตกตางกันในแตละตารางมารวมกันเขา เราจะสามารถสรางภาพจากจุด ดําและขาวเหลานี้ได กราฟกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยูบางประการ ถาทําความ เขาใจสวนตางๆ เหลานี้ เราสามารถที่จะหลีกเลีย่ งหรือปองกันปญหาที่อาจเกิดขึน้ ได พิกเซล (Pixel) พิกเซล (เปนคําที่ใชแทนองคประกอบของภาพ) เปนองคประกอบพื้นฐานของ ภาพบิตแมป ซึ่งองคประกอบยอยๆ เหลานี้ถูกรวมกันเขาทําใหเกิดภาพ เราคงคุนเคยกับการที่ สวนประกอบยอยๆ มารวมกันเพื่อประกอบเปนรายการสิ่งของตางๆ เปนตนวา เอาแตละชิ้นของบล็อก กระจกมาประกอบกันเปนหนาตาง แตละเข็มของการเย็บปกถักรอยประกอบกันกลายเปนผลงาน ทางดานเย็บปกถักรอย1 ชิ้น หรือแตละจุดของโลหะเงินประกอบกันเปนรูปภาพ 1 รูป นั้นคือ องคประกอบอาจจะเปนแกวชิ้นใหญบนหนาตาง หรือจุดโลหะเงินเล็กๆ บนแผนฟลมก็ได โดยแตละ ชิ้นเปนองคประกอบที่แยกจากกัน เปรียบเทียบไดกับพิกเซลซึ่งถือเปนหนวยยอยที่เล็กที่สุดของรูปภาพ พิกเซลมีความสําคัญตอการสรางกราฟกของคอมพิวเตอรมาก เพราะทุกๆ สวนของกราฟก เชน จุด เสน แบบลายและสีของภาพ ลวนเริ่มจากพิกเซลทั้งสิ้น พิกเซลหนึ่งๆ อาจจะมีขนาดความเขมและสี แตกตางกันไดในโลกแหงดิจติ อลของรูปภาพคอมพิวเตอร พิกเซล ไดถูกใชสําหรับสิ่งตางๆ เปนตนวา จุดแตละจุดบนหนาจอคอมพิวเตอร จุดแสดงความละเอียดของเครื่องพิมพแบบเลเซอร หรืออุปกรณ แสดงผลประเภทกราฟกอื่นๆ ของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งบางครั้งอาจทําใหเราสับสนไดเพื่อใหเกิด ความชัดเจน ขอใหคําจํากัดความดังตอไปนี้ พิกเซล หมายถึง องคประกอบยอยในไฟลกราฟกแบบ บิตแมป วิดีโอพิกเซล หมายถึง องคประกอบยอยของภาพในหนาจอคอมพิวเตอร จุดหรือดอต หมายถึง ความละเอียดของภาพทีพ่ ิมพโดยเครื่องพิมพแบบเลเซอร


4

เอสเปกเรโซของภาพ (Image Aspect Ratio) แอสเปกเรโชของภาพ คือ อัตราสวนระหวางจํานวน พิกเซลทางแนวขวาง และจํานวนพิกเซลทางแนวดิ่งทีใ่ ชในการสรางภาพ หากจะยกตัวอยางเปรียบเทียบกับ กระดาษกราฟ จะเห็นไดวาภาพบิตแมปใดๆ ก็ตามจะมีจํานวนพิกเซลคงที่ในมิติแนวขวางและแนวดิ่ง ซึ่ง อัตราสวนมีไวอางถึงขนาดของภาพและมักจะเขียนในรูปของ 800 x 600 (ซึง่ หมายถึงรูปภาพที่มี 800 พิกเซล ในแนวขวาง และ 600 บรรทัดของพิกเซลในแนวดิ่ง) เราสามารถคํานวณหาจํานวนพิกเซลทั้งหมดใน รูปภาพไดโดยการคูณตัวเลขทั้งสองนี้เขาดวยกัน นัน่ คือรูปภาพที่มีแอสเปกเรโช 800 x 600 จะมีทั้งหมด 480,000 พิกเซล ซึ่งจํานวนดังกลาวไมไดหมายถึงขนาดของไฟลของภาพนั้นๆ รีโซลูชัน (Resolution) หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณแสดงกราฟกชนิดหนึ่งมีอยู คารีโซลูชันมัก ระบุเปนจํานวนพิกเซลในแนวนอนคือแนวแกน X และจํานวนพิกเซลในแนวตั้งคือแนวแกน Y ดังนั้นรีโซลู ชัน 720 x 348 จึงหมายความวา อุปกรณแสดงกราฟกชนิดนี้สามารถแสดงพิเซลในแนวนอนไดไม เกิน 720 พิกเซล และแสดงพิกเซลในแนวตั้งไดไมเกิน 348 พิกเซล ผูผลิตอุปกรณแสดงกราฟกบางรายจะ ระบุคารีโซลูชันเปนระดับสูง (High Resolution) ปานกลาง (Medium Resolution) และระดับต่ํา (Low Resolution) โดยพิจารณาจากจํานวนพิกเซลในแนวนอนเพียงอยางเดียว ซึ่งมีหลักวา ถาคานอยกวา 128 เปน ระดับต่ํา คาระหวาง 128 ถึง 512 เปนระดับกลาง คาสูงกวา 512 เปนระดับสูง สําหรับจอภาพขนาดปกติ ถามี คารีโซลูชันมากกวา 1500 ตาจะมองไมเห็นแตละพิกเซลคือจะมองเห็นเปนภาพที่มีความละเอียดคมชัดสูง มาก คอมพิวเตอรกราฟกที่ใชกับฟลมถายรูปในระดับมืออาชีพจะตองใชคารีโซลูชันสูงถึง 3000

2. กราฟกแบบเวกเตอรกราฟกแบบเวกเตอรตางจากบิตแมปตรงที่บติ แมปนั้นประกอบไปดวย จุด ตางๆ มากมาย แตกราฟกแบบเวกเตอรใชสมการทางคณิตศาสตรเปนตัวสรางภาพ เชน วงกลม หรือเสนตรง เปนตน ถึงแมวาอาจจะฟงดูซับซอนสักเล็กนอยแตภาพบางชนิดก็ถกู สรางไดงาย หลักทีจ่ ะนําไปสูกราฟก แบบเวกเตอรกค็ ือ การรวมเอาคําสั่งทางคอมพิวเตอรและสูตรทางคณิตศาสตรเพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต ซึ่งจะปลอยใหอุปกรณคอมพิวเตอรเชน จอภาพ หรือเครื่องพิมพเปนตัวกําหนดเองวาจะวางจุดจริงๆ ไวที่ ตําแหนงใดในการสรางภาพ คุณลักษณะเดนเหลานี้ทําใหกราฟกแบบเวกเตอรมีขอไดเปรียบ และขอเสีย เปรียบมากมายกับกราฟกแบบบิตแมป


5

ออบเจ็กต (Object) ออบเจ็กตงายๆ (เชน วงกลม เสนตรง ทรงกลม ลูกบาศก และอื่นๆ เรียกวา รูปทรงพื้นฐาน) สามารถใชในการสรางออบเจ็กตที่ซับซอนขึ้น กราฟกแบบเวกเตอรสามารถสรางรูปภาพ โดยการรวมเอาออบเจ็กตหลายๆ ชนิดมาผสมกันเราสามารถผสมออบเจ็กตตางชนิดกัน (เชน วงกลมและ เสนตรง) เพื่อสรางภาพที่แตกตางกัน กราฟกแบบเวกเตอรใชคําสั่งงายๆ เพื่อสรางออบเจ็กตพื้นฐาน ถาเขียน เปนภาษาคําพูดแบบธรรมดา คําสั่งอาจจะอานไดวา "ลากเสนตรงจากจุด A ไปยังจุด B" หรือ "ลากวงกลม รัศมี R โดยมีจุดศูนยกลางอยูที่จดุ P"เปรียบเทียบคุณสมบัตขิ องกราฟกแบบบิตแมปและภาพแบบเวกเตอร ในดานความเร็วของการแสดงภาพทีจ่ อภาพและความสามารถในการเปลี่ยนขนาดภาพจะไดผลดังนี้ 1. กราฟกแบบบิตแมปสามารถแสดงใหเห็นที่จอภาพไดเร็วกวาภาพแบบเวกเตอร เชน การแสดง ภาพแบบบิตแมปขนาด 1000 ไบต จะทําโดยการใชคําสั่งยายขอมูลขนาด1000 ไบต จากหนวยความจําที่เก็บ ภาพไปยังหนวยความจําของจอภาพ (คือ Video Display Buffer) ภาพนั้นก็จะปรากฎบนจอภาพทันที การ แสดงภาพแบบเวกเตอรคอมพิวเตอรจะใชเวลามากกวา เนือ่ งจากคอมพิวเตอรตองทําตามคําสั่งที่มีจํานวน มากกวา 2. การเปลี่ยนแปลงขนาดภาพใหโตขึน้ หรือเล็กลงกวาภาพเดิม กรณีภาพแบบบิตแมปจะทําไดไมมาก นอกจากนั้นยังอาจจะทําใหลักษณะของภาพผิดเพี้ยนไปจากเดิมดวย เนือ่ งจากการเปลี่ยนแปลงขนาดภาพทํา โดยวิธีการเพิ่มหรือลดพิกเซลจากที่มีอยูเดิม ภาพที่ขยายโตขึ้นจะมองเห็นเปนตารางสี่เหลี่ยมเรียงตอกัน ทํา ใหขาดความสวยงาม แตภาพแบบเวกเตอรจะสามารถยอและขยายขนาดไดมากกวา โดยสัดสวนและ ลักษณะของภาพยังคลายเดิม ยิ่งกวานัน้ เราสามารถขยายเฉพาะความกวางหรือความสูง เพื่อใหมองเห็นเปน ภาพผอมหรืออวนกวาภาพเดิมไดดวย ประเภทของระบบกราฟกมีอะไรบาง คอมพิวเตอรในกลุม IBM PC XT AT หรือเครื่องที่ทํางานเหมือนกันจะแบงการแสดงผลที่จอภาพเปน 2 แบบ หรือ 2 โหมด (Mode) คือ เท็กซโหมด (Text Mode) และกราฟกโหมด (Graphic Mode) แตละโหมดมีรายละเอียดดังนี้

1. เท็กซโหมด (Text Mode) คอมพิวเตอรทุกเครื่องจะแสดงผลในโหมดนี้ได โดยการนําตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายตางๆ ที่มีอยู ในหนวยความจําของคอมพิวเตอรมาแสดงที่จอภาพตามคําสั่ง แตเนื่องจากตัวอักษร ตัวเลขและเครื่องหมาย ที่มีอยู ถูกกําหนดรูปรางไวแนนอนแลว และมีจํานวนจํากัด จึงไมสามารถนํามาประกอบกันใหเกิดเปนภาพ ตางๆ ที่ถูกตองสวยงามไดเทาที่ควร โดยผลลัพธที่แสดงออกมาทางจอภาพนั้น จะมีลกั ษณะเปนแถวของ ตัวอักษรจํานวน 25 แถว แตละแถวมีขอความไมเกิน 80 ตัวอักษร


6

2. กราฟกโหมด (Graphic Mode) เพื่อใหคอมพิวเตอรสามารถแสดงผลเปนพิกเซลไดจํานวนมาก จึงไดมีการสรางวงจรอิเล็กทรอนิกส เพื่อใช สําหรับควบคุมการแสดงผลที่จอภาพ ซึ่งนิยมเรียกกันวา ระบบกราฟก ระบบกราฟกมีหลายชนิด เชน ซีจี เอ (CGA) อีจีเอ (EGA) วีจีเอ (VGA) เฮอรคิวลีส (Hercules) ซึ่งแตละชนิดจะมีคุณสมบัตใิ นการแสดงพิกเซล ไดแตกตางกันคือตั้งแตขนาด 320 x 200 พิกเซล ถึง 1024 x 786 พิกเซล ระบบกราฟกสามารถแสดงสีได ตั้งแต 2 สีจนถึง 256 สี สําหรับจอภาพที่แสดงได 2 สี จะประกอบดวยสีพื้นซึ่งเปนสีมืดและสีสวาง ซึ่งเปนสี เขียว สีขาว หรือสีเหลืองอําพัน ดังนั้นสีที่เรามองเห็นจากจอภาพชนิดนีจ้ ึงมีเพียงสีเดียวเทานั้น จึงนิยม เรียกชื่อจอภาพและระบบกราฟกชนิดนี้วา จอภาพโมโนโครม (Monochrome) สวนจอภาพที่สามารถแสดง ไดหลายสี เราเรียกวา จอภาพสี (Color) ไมวาคอมพิวเตอรจะมีระบบกราฟกเปนชนิดใดก็ตาม ถาเปดเครื่อง ดวย DOS คอมพิวเตอรจะเริ่มแสดงผลดวยเท็กซโหมดเสมอ การเปลี่ยนโหมดใหเปนกราฟกจะทําไดก็โดย การใชคําสั่งเฉพาะสําหรับระบบกราฟกชนิดนั้น

ขอบขายของงานกราฟก งานกราฟกเปนงานทีด่ ูเผิน ๆ นานะเกี่ยวกับงานพิมพเทานั้นแตจริง ๆ แลวงานกราฟก ยังเปน งานที่มีความเกี่ยวพันกับงานอื่น ๆ อีก ไดแก - การประชาสัมพันธ ถือไดวางานกราฟกนี้เปนงานทีค่ วบคูไปกับงานบริหาร เพราะเนื้อหาของ การ ประชาสัมพันธที่ออกไปนั้น หากไมดึงดูดความสนใจทีด่ ีแลวยอมไมสามารถที่จะสื่อความหมายกัน ระหวาผูชมกับฝายองคกรได

- งานโทรทัศน กราฟกจะเกี่ยวของในสวนที่เปนหัวเรื่อง(title)สไลด ฯลฯ งานจัดฉากละคร เชนการ จัดฉากในรูปแบบตาง ๆ การออกแบบตัวหนังสือ - งานหนังสือพิมพ วารสารนิยมใชสัญลักษณทางการฟกกันมากเพราะสัญลักษณเหลานี้ทําให ผูอาน เขาใจงาย - งานออกแบบ หรือแบบราง เชนออกแบบบาน เขียนภาพเหมือน งานพิมพหรือทําสําเนา ทําซิลค สกรีน - การออกแบบหนังสือ เครื่องหมาย สัญลักษณตาง ๆ


7

กราฟกกับสังคมปจจุบัน ในปจจุบันโลกไดววิ ัฒนาการไปอยางรวดเร็ว มีการใชระบบการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น มีการกระจายขอมูลไปอยางรวดเร็ว โดยอาจจะเปนการกระจายขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เขาใจ ความหมาย เปนเรื่องที่ไมงายนัก เนื่องมาจากความแตกตางกันทั้งทางดาน สังคมวัฒนธรรม ความเชื่อของแต ละทองถิ่นดังนั้นการใชงานกราฟกที่ดีสามารถสือ่ ความหมายไดชัดเจนถูกตอง จะชวยใหมนุษยสามารถ สื่อสารกันได เขาใจกันได เกิดจินตนาการรวมกัน ในการนําสื่อกราฟกมาใชงานนัน้ ไมวาจะเปนการสื่อสารทางใด ผูที่นําเอาสื่อกราฟกมาใชตองคํานึงถึง เงื่อนไขและปญหาเหลานี้ดวย คือ เพื่อนํามาใชในการขบคิด เพื่อแกปญหา จัดระบบขอมูล และการนําเอา ศิลปะมาใชใหเกิดประโยชนในการสื่อสารมากที่สุด http://pioneer.chula.ac.th/~schutcha/graphic/Gtext02.htm

คุณสมบัติของงานกราฟก สังคมมนุษยในปจจุบันมีความเจริญมากขึ้นเรื่อย ๆ มีภาษาพูดและภาษาเขียนเกิดขึ้น เพื่อใชสื่อ ความหมายตอกัน ใชถายทอดความรู ความคิด และสรางสมความรูใหม ๆ ที่เกิดขึน้ ภาษาพูดและภาษ เขียนมีมากมายและกลายเปนสัญลักษณขนั้ สูง มีความสลับซับซอนของสัญลักษณทางภาษาทั้งดานการพูด และเขียนมากขึ้น การอธิบายดวยคําพูด ขอเขียน จึงไมเพียงพอและไมรวดเร็วทันตอการถายทอดสิ่งใหม ๆ ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วได จึงมีความจําเปนที่จะตองใชงานกราฟกเขาชวย เพราะงานกราฟกมีคณ ุ สมบัติ ที่ดีหลายประการ ดังนี้

1) งานกราฟกเขาใจไดงาย มีงานจํานวนมากที่แสดงดวยภาพจะทําใหเขาใจถึงเรื่องที่ตองการสื่อ ความหมายไดงายกวาการอธิบายดวยภาษาพูดและภาษาเขียน เพราะภาพกราฟกมีความชัดเจนเรียบงาย และ สามารถเนนจุดที่ตองการได เชน การใชภาพ แผนที่บอกสถานที่ การออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แผนภูมิตาง ๆ


8

แผนที่แสดงดวยภาพกราฟก

2) งานกราฟกดึงดูดความสนใจ งานกราฟกมีความสะดุดตา นาเชื่อถือ สามารถใชสรางความสําคัญ และ ทําใหตระหนักถึงสิ่งที่ควรเอาใจใส จึงใชดึงดูดความสนใจไดดกี วาการบอกเลา เชน ในการโฆษณาสินคา จะใชงานกราฟกที่มีสีสันสะดุดตาและการจัดวางที่เหมาะสมเพื่อจูงใจใหลูกคาเกิดความสนใจสินคานั้น ๆ การนําเสนอผลงานหรือขอมูลตาง ๆ ถาใชภาพกราฟกประกอบการชวยใหผูฟงไมเบื่อ เกิดความเขาใจ และ สนใจติดตามตลอดการนําเสนอ

ภาพโฆษณา สินคา


9

3) งานกราฟกชวยใหจดจําไดมากและเร็วกวา เนื่องจากมนุษยจะจําขอมูลในลักษณะที่เปนภาพไดดีกวา ตัวเลขหรือขอความ การประยุกตใชงานกราฟกในการเรียนรูหรือ การศึกษาจะชวยใหผูเรียนสรุปความรูได เปนอยางดี ผูเรียนจึงสามารถจดจําสิ่งตาง ๆ ไดมากและเร็วกวา เชน การใชภาพอธิบายการเกิด สุริยุปราคา การใชภาพสัตวสอนใหเด็กรูจกั ชื่อสัตวชนิดตาง ๆ การใชภาพกราฟกอธิบายการสงสินคาออก ที่ทํารายไดเขาประเทศ

ภาพอธิบายการเกิดสุริยุปราคา

บทบาทและความสําคัญของงานกราฟก งานกราฟกตาง ๆ ถูกสรางขึ้นเพื่อเปนสัญลักษณแทนแกนสารของประสบการณสําหรับ มนุษย เพื่อใหมนุษยใชเปนสื่อในการคิดและสื่อสารความหมายถึงกัน ดวยคุณสมบัติทดี่ ีของงานกราฟกทํา ใหงานกราฟกมีบทบาทสําคัญในการลดขอจํากัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเงื่อนเวลา ประสิทธิภาพของการ คิด การบันทึกและการจํา ทําใหการสื่อความหมายตอกันของมนุษยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล และดวยความเจริญกาวหนาทางวิชาการ ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี จํานวน ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นและความเปนโลกไรพรมแดน ความแตกตางระหวางบุคคล เปนเหตุผลสําคัญที่ทํา ใหมนุษยจําเปนตองใหความสําคัญกับงานกราฟกมากขึน้


10

การใชงานกราฟกบนเครือขายคอมพิวเตอร

1) ความเจริญกาวหนาทางวิชาการ มนุษยประสบความสําเร็จในการคนพบความจริง และ กระบวนการทางธรรมชาติมากมาย ความรูที่คน พบใหมนี้ ตองการวิธกี ารและกระบวนการในการเก็บ บันทึก การจํา และเผยแพร การใชงานกราฟกชวยจะทําใหไดขอมูลที่สามารถสื่อสารความหมายใหเขาใจ ไดงายและรวดเร็ว สื่อความคิดถึงกันและกันไดชดั เจนถูกตอง เพิ่มประสิทธิภาพใหกับการใชภาษาพูดและ ภาษาเขียน 2) ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีเจริญกาวหนาเปนอยางมากในปจจุบนั ทําใหเกิด เครื่องมือสําหรับสรางงานกราฟกที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถผลิตงานได รวดเร็ว มีปริมาณมาก งาย ตอการใชงาน ราคาถูกลง และเผยแพรไดสะดวกกวางไกล โดยเฉพาะการใชคอมพิวเตอรในงาน กราฟก และระบบเครือขายคอมพิวเตอร ความนิยมใชงานกราฟกชวยในการสื่อความหมายจึงเกิดขึ้น แพรหลายในสื่อเกือบทุกประเภท 3) จํานวนประชากรโลกทีเ่ พิ่มขึน้ และความเปนโลกไรพรมแดน ประชากรโลกที่เพิ่มขึน้ อยาง รวดเร็ว การคมนาคมที่สามารถเดินทางไปทั่วทุกมุมโลกดวยเวลาไมมากนัก และ การสื่อสารที่มีเครือขาย ครอบคลุมทั่วโลก ทําใหเกิดความจําเปนตอการสื่อความหมายทางไกลระหวางบุคคล และการสื่อ ความหมายกับประชากรกลุมใหญในมุมตาง ๆ ของโลก เพื่อดําเนินการถายทอดความรู แลกเปลี่ยน


11

วัฒนธรรม ความรวมมือทางวิชาการ ธุรกิจ และอื่น ๆ ทุกสิ่งทุกอยางตองดําเนินการดวยขอจํากัดของเงื่อน เวลาและประสิทธิภาพของการสื่อความหมาย งานกราฟกจึงเปนเครื่องผอนแรงใหการสื่อ ความหมาย สามารถสื่อสารไดเขาใจงายและถูกตองในเวลาสั้น 4) ความแตกตางระวางบุคคล บุคคลแตละคนมีความแตกตางกันในดานตาง ๆ เชน ความคิด ความ เขาใจ ความสามารถ อัตราการเรียนรู วิธีการเรียนรู และอื่น ๆ ความแตกตางเหลานี้ทําใหการสื่อ ความหมายดวยภาษาพูดและภาษาเขียนในบางครั้งไมสามารถสรางความเขาใจไดงายนัก การใชงานกราฟก เขาชวยจะทําใหงายตอการสื่อความหมาย เพิ่มประสิทธิภาพของการคิดในบุคคลที่มีความแตกตางไดเปน อยางดี http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/page/unit1-2.html

การออกแบบกราฟก ความหมายของการออกแบบกราฟก เปนลักษณะของการออกแบบพื้นผิว 2 มิติ เพื่อเปนสื่อกลางสําหรับการถายทอดขอความ ความรูสึกนึกคิด แลอารมณ จากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งเพื่อใหเขาใจและรูเรื่องโดยใชประสาทตาใน การรับรูเปนสวนใหญ

ความสําคัญของการออกแบบงานกราฟก 1. การออกแบบที่ดีตองทําใหขอมูลที่กระจัดกระจายมีระเบียบมากขึน้ 2. ชวยใหระบบการถายทอดขอมูลเปนไปอยางรวดเร็วและชัดเจน 3. ชวยสรางสรรคงานสัญลักษณทางสังคม เพื่อการสื่อความหมายรวมกัน 4. ชวยพัฒนาระบบการสื่อสารใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5. ชวยใหเกิดจินตภาพ เกิดมีแนวคิดสิ่งใหมอยูเสมอ 6. สงเสริมใหเกิดคานิยมทางความงาม

คุณคาของงานกราฟก งานกราฟกที่ดจี ําทําใหเห็นถึงความคิดในการออกแบบเปนเลิศ จะมีอิทธิพลโดนตรงที่จะโนมนาวผูรับขอมูล ใหเกิดความสนใจ การยอมรับ ในขณะเดียวกันยังแสดงถึง


12

1. เปนสื่อกลางในการสื่อความหมายใหเกิดการเขาใจตรงกัน 2. สามารถทําหนาที่เปนสื่อ เพื่อใหเกิดการเรียนรู เกิดการศึกษากับกลุมเปาหมายได 3. ชวยใหงานเกิดความนาสนใจ ประทับใจ แกผูพบเห็น 4. ชวยใหเกิดการกระตุนทางความคิด และการตัดสินใจไดอยางรวดเร็ว 5. กอใหเกิดความคิกสรางสรรค 6. ทําใหพบเห็นเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทั้งทางดานการกระทําและความคิด

อิทธิพลของศิลปะในการออกแบบกราฟก เพื่อตองการใหงานกราฟกมีคุณคาและแสดงความหมายไดอยางเต็มที่ องค ประกอบสําคัญที่จะชวยใหงานกราฟกมีความโดเดนนาสนใจ นักออกแบบจึงใชหลักและวิธีการ ทางศิลปะเปนแนวทางการออกแบบโดยพิจารณาดังนี้ - รูปแบบตัวอักษรและขนาด - การกําหนดระยะหางและพื้นที่วาง - การกําหนดสี - การจัดวางตําแหนง

1.รูปแบบตัวอักษรและขนาด การสรางรูปแบบตัวอักษรใหมีรูปแบบที่แปลกตา สวยงามจะชวยเรงเราความรูสึกการ ตอบสนองไดเปนอยางดี โดยเนนความชัดเจนสวยงามสอดคลองกับจุดประสงค และขนาดตัว อักษรตองมีความพอดี อานงาย


13

2.การกําหนดระยะหางและพื้นที่วาง การจัดพื้นที่วางในการออกแบบงานกราฟก มีวตั ถุประสงคเพื่อการจัดระเบียบของขอ มูลชวยเนนความชัดเจน และความเปนระเบียบ ระยะหางหรือพื้นที่วางชวยพักสายตาในการอาน ทํา ใหดูสบายตา

3.การกําหนดสี สีมีบทบาทอยางมากที่จะชวยเนนความชัดเจน ทําใหสะดุดตา สรางสรรคความสวย งาม การกําหนดสีใด ๆ ขึ้นอยูก ับประเภทของงานนั้น ๆ


14

4.การจัดวางตําแหนง เปนการจัดวางโครงรางทั้งหมดกอนที่จะกําหนดตําแหนงขนาดของภาพประกอบ ตําแหนงของขอความทั้งหมด และสวนประกอบอื่น ๆ ที่ปรากฏ ซึ่งตองคํานึงถึงจุดเดนที่ควรเนน ความสมดุลตาง ๆ ความสบายตาของการมอง

การวางแผนการผลิตและขั้นตอนในการออกแบบ ในการออกแบบงานกราฟกควรมี่การวางแผนและกําหนดขัน้ ตอนในการทํางาน เพื่อ จะทําใหงานที่ผลิตขึ้นมีคุณภาพดี ขัน้ ตอนในการผลิตและออกแบบมีดังนี้ 1. ขั้นการคิด ตองคํานึงวาจะทําอะไร ออกแบบอยางไร เพือ่ ใคร ทําอยางไร 2. ขั้นรวบรวมขอมูล เปนการพยายามเสาะหาขอมูลที่เกี่ยวของกันใหมากที่สุดรวมถึงวัสดุอุปกรณ ตาง ๆ ดวย 3. ขั้นรางหรือสรางหุนจําลอง โดยการเขียนภาพคราว ๆ ดูหลายภาพแลวเลือกภาพที่ดีที่สุดมาเปน แบบจําลอง 4. ขั้นลงมือการสรางงานสําเร็จรูป เปนการขยายผลงานสําเร็จรูปดวยวัสดุ และวิธีการที่เตรียมไว หลังจากนั้นตรวจดูความเรียบรอย


15

สวนประกอบของการออกแบบ องคประกอบของการออกแบบหรือสวนประกอบในการสรางภาพ (Element of Design) จะประกอบไปดวย 1. จุด (Point .Dot) เปนสวนประกอบที่เล็กที่สุดเปนพื้นฐานเบื้องตนของสวนประกอบตาง ๆ โดยอาจจะ เรียงเปนเสน หรือภาพ 2. เสน (Line) เปนสวนประกอบของจุดหลาย ๆ จุดตอนเนือ่ งกันกลายเปนเสน 3. รูปราง (Shape) เมื่อนําเสนมาบรรจบกันจะเปนภาพรูปรางมีลักษณะเปน 2 มิติ คือกวางและยาว ซึ่งมี ลักษณะเชนรูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม ฯลฯ 4. รูปทรง (Form) เปนลักษณะของรูป 3 มิติซึ่งนอกจากจะมีความกวางและความยาวแลวยังมีความหนาขึน้ อีกดวยทําใหเราทราบถึงรูปรางสัณฐานของวัตถุตาง ๆ ได 5. แสงและเงา (Light and Shade) เราสามารถเห็นวัตถุตาง ๆ ไดก็ตอเมื่อมีแสงไปกระทบวัตถุนั้น แลวแสง จากวัตถุสะทอนเขาตาเรา ทําใหเห็นภาพขึน้ สวนเงานัน้ ทําใหเราเห็นภาพที่เดนขึ้น เห็นรายละเอียดชัดเจน ขึ้น 6. สี(Color) สีมีอิทธิพลอยางมากตอมนุษยเรา สีที่ปรากฏอาจจะเกิดขึ้นจากการมองเห็นของสาย จากการที่ สองมากระทบวัตถุ เกิดจากสีที่มีอยูใ นตัวของวัตถุเองเราอาจจะแยกสีออกเปน 2 ประเภท คือสีที่เกิดจาก ธรรมชาติเชน สีของใบไม ดอกไม ฯลฯสีที่เกิดจากการผลิตขึ้นมาโดยมนุษย 7. ลักษณะพื้นผิว (Texture) ในการออกแบบกราฟกพื้นผิวมี 2 ลักษณะ คือพื้นผิวที่สามารถสัมผัสได อาจ เรียบ หรือขรุขระพื้นผิวที่สื่ออกมาดวยลายเสน 8. สัดสวน (Proportion) สัดสวนทั้งในสวนของวัตถุ และความเหมาะสมระหวางวัตถุและบริเวณภาพซึ่ง เรื่องนี้เกี่ยวของกับขนาด ปริมาณ และบริเวณวาง จะตองพิจารณาใหละเอียดไมควรละเลย ซึ่งจะมีผลตอการ สื่อความหมายของภาพได 9. ทิศทาง(Direction) เปนการนําสายตา จูงใจ และแสดงการเคลื่อนไหวอาจจะแสดงดวยเสน ลูกศร ฯลฯ 10. จังหวะลีลา (Rhythm) การจัดวางเสน รูปราง รูปทรง ที่มีความตอเนื่อง มีลีลาที่แสดงความถี่หรือใกลชิด ที่ลงตัว 11. บริเวณวาง (Space) ควรจะคํานึงถึงและใชใหถูกตอง มิเชนนั้นการสื่อความหมายอาจจะคลาดเคลื่อนได การใชบริเวณวางที่เหมาะสมจะทําใหภาพชัดเจนตอการรับรูและเขาใจ 12.ระยะของภาพ (perspective) สายตาของมนุษยเราจะมองเห็นภาพที่อยูใกลชัดเจนทีส่ ุด และมองเห็นภาพ ที่อยูไกลเรือนลางใหรายละเอียดที่ไมชัดเจน การรับรูของสายตาและการถายทอดเพื่อสื่อความหมายในเรื่อง ของระยะภาพนี้ ทําใหเกิดความถูกตอง สมจริง


16

การจัดองคประกอบภาพของงานกราฟก 1.จัดใหเปนเอกภาพ (Unity)ในทีน่ ี้หมายถึงสิ่งที่ชวยทําใหชิ้นงานเปนอันหนึ่งอันเดียว กันซึ่งตองขึ้นอยูก ับวัตถุประสงคนั้น ๆ ความเปนเอกภาพจะคลอบคลุมถึงเรื่องของความคิดและการ ออกแบบ 2. ความสมดุล (Balance) ความสมดุลในงานกราฟกเปนเรือ่ งของความงาม ความนาสนใจ เปนการจัดการ สมดุลกันทั้งในดานรูปแบบและสี มีอยู 2 ลักษณะที่สําคัญคือ ชความสมดุลในรูปทรงหรือความเหมือนกันทั้งสองขาง คือเมื่อมองดูภาพแลวเห็นไดทันทีวาภาพที่ปรากฏ นั้นเทากันความสมดุลในความรูสึก หรือความสมดุลที่ทั้งสองขางไมเหมือนกัน เปนความแตกตางใน รูปแบบของสี หรือพื้นผิว แตเมื่อมองดูโดนรวมแลวจะเห็นวาเทากัน ความสมดุลในลักษณะนี้จะทําใหเกิด การเคลื่อนไหว แปรเปลี่ยน ไมเปนทางการ ไมนาเบื่อ 3. การจัดใหมีจดุ สนใจ (Point of Interest) ภายในเนื้อหาทีจ่ ํากัดตองมีการเนน การเนนจะเปนจุดใดจุดหนึ่ง ที่เห็นวามีความสําคัญ อาจทําดวยภาพหรือขอความก็ได สําหรับวิธีการที่จะทําใหมีจดุ สนใจอาจเนนดวยสี ขนาด สัดสวนและรูปภาพที่แปลกไปกวาสวนอื่น ๆ ในภาพสวนตําแหนงที่เหมาะสมในการวางจุดสนใจใน ภาพนั้นสามารถทําไดดังนี้

นําภาพนัน้ มาแบงเปน 3 สวน บริเวณที่เสนตัดกันนั้นคือตําแหนงที่เหมาะสมจุดวางภาพที่เหมาะสม ที่สุด


17

วรรณะของสี (TONES) วรรณะของสีหมายถึง กลุมสีที่ปรากฎใหความรูสึกที่แตกตางกัน สังเกตจากวงลอสีปรากฏเปน 2 วรรณะ คือ 1. วรรณะสีรอน (Warm Tone)ลักษณะของสีจะใหความรูส ึกที่สดใส รอนแรง ฉูดฉาด หรือรื่นเริง สีในกลุม นี้ไดแก สีเหลือง สีแดง แสด และสีที่ใกลเคียง 2. วรรณะสีเย็น (Cool Tone) ความรูสึกที่ปรากฏในภาพจะแสดงความสงบ เยือกเย็นจนถึงเศรา ไดแก สีน้ํา เงิน สีมวง สีเขียว และสีที่ใกลเคียง

วรรณะสีรอน (Warm Tone)

วรรณะสีเย็น (Cool Tone

จิตวิทยาในการใชสี แมวาจะมีทฤษฎีเกีย่ วกับสีอยางมากมาย แตกตางกันไปตามลักษณะ แตคณ ุ คาเฉพาะของแตละสี ยอมจะเปนตัวแทนของอารมณตาง ๆ ในวัตถุที่มีสีปรากฏขึน้ ในตัว เมื่อสายตาไดสัมผัสจะเห็นความแตกตาง หลากหลายและสีในวัตถุ ยอมเกิดความรูสกึ ตาง ๆ ไดแก ตืน่ เตน ออนหวาน อบอุน ฯลฯ การมีความรู ประสบการณในการเลือกใชสขี องนักออกแบบจึงมีสวนสําคัญที่จะทําใหเอกสารเหลานั้นบรรลุเปาหมายที่ ตองการไดไมยากนัก การเรียนรูถึงอิทธิพลสีที่มีตอความรูสึกของการมองแตละสี จึงเปนสิ่งที่นาศึกษายิ่ง ดัง ตัวอยางตอไปนี้


18

สีแดง

เปนสีของไฟ การปฏิวัติ วามรูสึกทางกามรมความปรารถนา สีของความออนเยาว จึง เปนที่ชอบมากสําหรับเด็กเล็ก ๆ ไมเหมาะที่จะใชเปนสีของฉากหลังเพราะจะมี อิทธิพลบดบังสีอื่น

สี น้ําเงิน

เปนสีที่เก็บกด ชางฝน เปลาเปลี่ยว ถึงแมวาจะทําใหใสขึ้นโดยการผสมสีขาวลงไปก็ ตาม สีน้ําเงินเปนสีที่ใหความประทับใจเกีย่ วกับความสะอาดบริสุทธิ์ จึงมักใชในที่ ๆ ตองการแสดงสุขอนามัย

สีเขียว

เปนสีทางชีววิทยา ซึ่งใกลเคียงกับธรรมชาติ และชวยใหความคิดพลุงพลานสงบลง เปนสีกลาง ๆ ไมเย็นไมรอน แตถาเขมไปทางสีน้ําเงินจะดูเปนน้ํา สีเขียวอมฟา สีฟา พลอยเปนสัญลักษณของน้ําและอาการเคลื่อนไหว

สีมวง

แสดงถึงความรูสึกใครครวญ การทําสมาธิ ความลึกลับ ความเกาแกโบราณ สีมวง ครามซึ่งใกลเคียงกับสีน้ําเงินมากจะดูเกี่ยวของกับโลกมากกวาสีมวงแดง

สีทอง

มีตําแหนงใกลเคียงกับสีสม นับวาเปนสีอุนอีกประเภทหนึง่ ในขณะที่สีเงินจัดใหอยู ในสีเย็น และมีความคลายคลึงกับสีเทากลาง การใชสีเงินออกจะยากกวา เนื่องจากตอง มีสีอุนเขามาใชดวยหากวาตองการผลของความรูสึกในทางบวก

สีดํา

สีดําซึ่งเรียกวา "อรงค" คือถือวาสีดําไมใชเปนสัญลักษณของความมืด ความวาง ใน การตีพิมพสีดํามีคาทางบวกมาก เนื่องจากเมื่อเราใชสีอื่น ๆ ไมวาภาพหรือตัวอักษรลง ไปก็จะทําใหสีเหลานั้นเจิดจา สะดุดตา

หลักการพิจารณาเกี่ยวกับการใชสี การใชสใี นงานออกแบบกราฟก มีวตั ถุประสงคเพื่อที่จะทําใหงานนัน้ นาดู ความสวย งาม ความตืน่ ตาสงเสริมใหเนื้อหาสาระที่นําเสนอมีความสมบูรณยิ่งขึน้ คนแตละวัยมีความสนใจ ในกลุมสีที่แตกตางกัน เด็กเล็ก ๆ จะสนใจสีสด เขาสะดุดตา ไมชอบสีออน จะสังเกตไดวาเมื่ออายุ มาก ๆ ยิ่งไมชอบสีสดใสมาก ๆ กลับนิยมสีออนหวาน นุมนวล ดังนีก้ ารวางโครงสรางของสีในงาน ออกแบบกราฟกจึงตองเนนเรื่องวัยของกลุมเปาหมายเปนสําคัญเด็ก เล็ก ๆ ควรใชสีปฐมภูมิ (Primary)หรือสีทุติยภูมิ (Secondary)สวนผูใหญอาจจะใชสีแท(Hue)ผสมกับกลุมสีขาว หรือดํา หรือที่เรียกวา Tint and shade การใชสขี าวหรือสีดํามาผสมกับสีแท จะชวยลดความสดใสของสีเดิม ลงตามขนาดและสัดสวนมากนอยตามตองการ ดังนั้นกอนจะวางโครงสีในการทํางาน จึงควร


19

พิจารณาเกีย่ วกับการใชสีทางจิตวิทยาดวย ดังนี้ 1. ใชสีสดสําหรับกระตุน ใหเห็นเดนชัด เพื่อการมองเห็นในระยะเวลาสั้น ๆ เหมาะอยางยิ่งสําหรับ การทําสื่อโฆษณา 2. พึงระลึกไวเสมอวาการใชสีมีวตั ถุประสงคเพื่อตองการเนนใหเห็นเดนชัด มุงสงเสริมเนื้อหาสาระ ใหมีความชัดเจนมากขึน้ บางครั้งการใชสีของนักออกแบบ จะสามารถใชสีไดอยางอิสระ เพื่อความสวยงาม บางครั้งจําเปนตองนึกถึงหลักความเปนจริงและความเหมาะสมดวย 3. การออกแบบเชิงพาณิชยศิลป งานกราฟกตาง ๆ อาจจะไมจําเปนตองใชสีเสมอไป ผูออกแบบจึง จําเปนตองพิจารณาถึงความเหมาะสมดวยวาควรใชอยางไร เพียงไร 4. ควรใชสีใหเหมาะกับวัยของผูบริโภค 5. การใชสีมากเกินไปไมเกิดผลดีกับงานที่ออกแบบอยางแทจริง เพราะการใชสีหลาย ๆ สี อาจจะทํา ใหลดความเดนชัดของงานและเนื้อหาที่ตองการนําเสนอ 6. เมื่อใชสีสด เขมจัด คูก ับสีออนมาก ๆ จะทําใหดูชัดเจน นาสนใจ 7. การใชสีพนื้ ในงานออกแบบสิ่งพิมพที่มีพื้นที่วางมาก ๆ ไมกอใหเกิดผลในการเราใจเทาที่ควร จึง ควรหลีกเลี่ยง 8. ขอพิจารณาสําหรับการใชสีบนตัวอักษรขอความ คือ จะตองใหชัดเจน อานงาย ควรงดเวนสีตรง ขามในปริมาณเทา ๆ กัน บนพื้นที่เดียวกันหรือใกลเคียง เพราะจะทําใหผดู ูตองเพงมองอยางมาก ทํา ใหเกิดภาพซอนพรามัว

ประเภทของการออกแบบงานกราฟก การออกแบบงานกราฟกใด ๆ ยอมมีวัตถุประสงคและเปาหมายที่แตกตางกันไป ลักษณะเฉพาะของงานหรือเงื่อนไขตาง ๆของงานและวิธกี ารดําเนินงานตองสอดคลองกับปจจัยทุก ดานในการสรางงานออกแบบจึงควรศึกษาถึงองคประกอบสําคัญ ๆ หลาย ๆ ดาน แนวทางในการ คิดงานกราฟก จะแปรเปลี่ยนไปตามลักษณะของสื่อหรืองานแตละประเภท โดยสามารถจัด หมวดหมูไดดังนี้ งานกราฟกบนสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ แผนปายโฆษณาหรือโปสเตอร การออกแบบเครื่องหมายสัญลักษณ


20

1.งานกราฟกบนสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ สื่อโฆษณามีหลายประเภทโดยเฉพาะอยางยิ่งงานดานสิ่งพิมพ ปจจุบันในวงการธุรกิจนิยมใชเปนสื่อ ประเภทนี้คอนขางสูง เพื่อชวยในการสงเสริมการขาย เพิ่มการตลาด วิธีในการสรางสื่อสิ่งพิมพมีมากมาย และตัวสื่อสิ่งพิมพเองก็มีการพัฒนาตัวเองใหทันกับเทคโนโลยีใหม ๆ ที่เขามา จึงชวยสงเสริมแนวทางใน การออกแบบงานกราฟก และเทคนิคในการออกแบบไดเปนอยางดี สื่อโฆษณามีอยูหลายประเภทดวยกัน แตที่ใชกนั มากเปนเรื่องรูปแบบของการออกแบบสื่อที่นาสนใจ ไดแก แผนปายโฆษณาหรือโปสเตอร แผน พับ แผนปลิว และบัตรเชิญ

2.แผนปายโฆษณาหรือโปสเตอร แผนปายโฆษณา หรือ โปสเตอร (poster) เปนสื่อที่มีบทบาทอยางมากในการประชา สัมพันธเพราะสื่อประเภทนี้สามารถเผยแพรไดสะดวกและกวางขวาง สามาระเขาถึงกลุมบุคคลได ทุกเพศทุกวัย ทุกระดับการศึกษา มีความยืดหยุน ในตัวสื่อไดเปนอยางดี ในการออกแบบสามารถ สรางรูปภาพประกอบ ตลอดจนแนวทางการออกแบบกราฟกไดอยางอิสระและสวยงาม ลักษณะของแผนปายโฆษณาจะสามารถนําเสนอขอมูลรายละเอียดไดมากพอสมควร ผลิตงาย ใชสะดวก จึง เปนที่นิยมตลอดมา ในเบื้องตนมีการกําหนดลักษณะกวาง ๆ ของการออกแบบแผนปายโฆษณาวา จะตอง


21

ประกอบดวยองคประกอบ 4 สวนดวยกันคือ 1. ตองเปนแผนเดียวสามารถปะติดลงบนผิวใดก็ได 2. ตองมีขอความประกอบเสมอ 3. ตองปดไวในที่สาธารณะ 4. ตองผลิตขึ้นจํานวนมากได แผนปายโฆษณาหรือโปสเตอรทดี่ ีควรจะสนองแนวคิดหลัก 5 ประการไดแก 1. จะตองตอบสนองจุดประสงคในการสื่อความหมายไดอยางเต็มที่ 2. จะตองมีความชัดเจนในภาพลักษณ และขอความที่ใชในการสื่อความหมายและจะตองมีความกระจาง มี ขนาดที่พอเหมาะกัน 3. รูปภาพและขอความทีน่ ําเสนอควรมีความสอดคลองสัมพันธสงเสริมกัน 4. จะตองมีความเขาใจ ดึงดูดความสนใจกลุมเปาหมายไดดที ี่สุด 5. ตองมีความกะทัดรัดกลายเปนจุดสนใจ และจุดเดนที่ควรจดจํา

ขอดีของแผนปายโฆษณาหรือโปสเตอร 1. ใหความครอบคลุมพื้นที่สูง เลือกติดตั้งเฉพาะแหลงชุมชนได 2. ใหความถีใ่ นการเห็นบอย เพราะจุดติดตัง้ จะเปนเสนทางหรือชุมชน 3. สามารถดึงดูดความสนใจไดมาก 4. ไมมีความจํากัดในเรื่องของเวลาในการนําเสนอขอมูล 5. ขอความทีก่ ะทัดรัดกลายเปนจุดสนใจ จุดเดนทีค่ วรจดจํา


22

ขอดอยของแผนปายโฆษณาหรือโปสเตอร 1. การนําเสนอขอมูลมีความจํากัดสูง ทําใหขาดรายละเอียดเมื่อเทียบกับสื่ออื่น ๆ 2. กรณีที่มกี ารติดตั้งในตําแหนงที่ไมดี ยอมไดรับความสนใจนอย 3. ตองมีความประณีตในการจัดทําสูง เสียคาใชจายมาก 4. บางครั้งทําใหเสียบรรยากาศสภาพแวดลอม หรือเปนอันตรายในกรณีที่สภาพดินฟาอากาศ แปรปรวน

การออกแบบแผนปายโฆษณา การกําหนดขนาด ผูออกแบบมีแนวทางในการกําหนดเรื่องของขนาดไดหลายวิธี หลายขนาด เชนขนาด เล็ก ขนาดใหญ ขนาดกลาง แตโดยทัว่ ไปการกําหนดขนาดในบานเราจะมีอยู 2 ขนาดไดแก 1. ขนาด 31ม.x 43ม.และม.24ม.x 35ม. ซึ่งถาแบงเปนขนาดเล็กลงสําหรับทําแผนโปสเตอรก็จะได ขนาดเปน 15?ม.x 21?ม.และม.24ม.x 17?ม. 2. ขนาด 10ม.x 21ม. หรือ 24 ม.x 11 ? ม.หรือ 8 ม.x 17?ม.

การกําหนดรูปภาพประกอบ รูปภาพประกอบในสื่อ ไดแก รูปภาพจากการถายภาพ ภาพเขียน ฯลฯ ทีใ่ ชประกอบใน การออกแบบภาพก็คือ การกําหนดขนาดของภาพ กําหนดเรื่องราวของภาพ การกําหนดรูปแบบของ ภาพ เทคนิคในการสรางสรรคภาพ โครงสีในภาพ ความสวยงามความคมชัด การกําหนดขนาดของ ตําแหนงของภาพที่เหมาะสม นักออกแบบอาจจะกําหนดจุดสนใจภายในภาพไดหลายลักษณะ วิธีที่ งายที่สุดก็คือ ไวตรงกลางภาพ หรือที่เรียกวาจุดศูนยกลางความสนใจในการมอง (Optical Center) Herman F.Brandtไดศึกษาทดลองเกี่ยวกับจุดสนใจภายในภาพจากการมองในกรอบ สี่เหลี่ยมของขนาดกระดาษ ไดผลสรุปถึงจุดสนใจในการมองดังรูป


23

การกําหนดตัวอักษร 1. ขนาดตัวอักษร ตัวอักษรที่ปรากฏในงานออกแบบแผนปายโฆษณาโดยทั่วไปมีอยู 3 ขนาดดวยกันคือ ขนาดใหญสําหรับขอความพาดหัว(Heading) ขนาดกลางสําหรับขอความรองพาดหัว(Sub Heading) และ ขนาดเล็กสําหรับขอความรายละเอียด ตารางเปรียบเทียบขนาดตัวอักษรที่เหมาะสมกับวัยของผูอาน อายุ

ขนาดอักษรโรมัน(พอยต)

ขนาดอักษรไทย(พอยต)

5-7

18

20 - 30

7-8-9

12-14

18-30

10-12

11-12

16-18

12ขึ้นไป

11-12

16-18

ผูใหญปกติ

10-11-12

14-16

คนสูงอายุ 60ปขึ้นไป

11-12

16-18

2.รูปแบบตัวอักษร การสรางสรรคตวั อักษรใหสวยงามแปลกตา และสอดคลองกับลักษณะขอความ มีความชัดเจน ทําใหเกิดความนาสนใจมากขึน้ เทคนิคการออกแบบและตกแตงตัวอักษรใหสวยงาม และเปนแรงบันดาลใจใหอยากรู อยากดู อยากเห็น มากกวารูปแบบตัวอักษรแบบธรรมดา 3.สีของตัวอักษร การกําหนดเรื่องที่เกี่ยวกับสี เพื่อที่จะเนนขอความใหเดนชัดขึ้น สวยงามขึ้น


24

การกําหนดสีใหยึดหลัก 3 ประการ คือ 1. คาน้ําหนักของสี (Tone Of color) สีของตัวอักษรควรมีคาน้ําหนักทีต่ ัดกับสีพื้นและควรเปนสีที่ขัดแยงกับสีพนื้ มากที่สุด การตัดกันมากจะทํา ใหตัวอักษรดูเดนมาขึ้น 2. สีของตัวอักษรตองไมใชหลายสีจนเกินไป ภายใน 1 หนากระดาษขอความเดียวกันควรใชสีเดียวกันและไมควรใชสีตัดกันระหวางสีพนื้ กับสีของ ตัวอักษรเพราะจะทําใหลายตา 3. ควรใชสีที่เหมาะสมกับคําหรือขอความนัน้ ๆ เชนขอความที่เนนความเรารอน ตืน่ เตน อาจจะใชสีแดง สีสม ขอความที่กลาวถึงความสงบนิ่ง ความเย็น อาจจะใชขอความสีน้ําเงิน หรือสีฟา

3.การออกแบบเครื่องหมายสัญลักษณ สื่อที่เปนภาพสัญลักษณหรือเครื่องหมายภาพ เปนสื่อที่มีบทบาทอยางมากในชีวิตประจําวันถาเรา มองไปรอบ ๆ ตัวจะเห็นเครื่องหมายภาพที่ปรากฏอยูทั่วไป การนําหลักทฤษฎีมาประยุกตในการออกแบบสื่อสัญลักษณ การออกแบบสัญลักษณ นักออกแบบจะตองใชความรูค วามสามารถอยางยิ่งในการวิเคราะหเนื้อหาของสารที่ จะตองการสื่อความหมายและสังเคราะห ใหเปนรูปลักษณทใี่ ชเปนสิ่งแทนอันสามารถที่จะบอกไดถึงความหมายทั้งยังตองใชในการเขียนภาพ หรือ ผลิตภาพสัญลักษณไดอยางประณีต คมชัด เพื่อเปนสื่อความหมายไดอยางถูกตองชัดเจน ในการออกแบบสัญลักษณ ใหบรรลุเปาหมาย นักออกแบบควรคํานึงถึงหลักสําคัญ 3 ประการ 1. ความหมายของสัญลักษณจะตองเกี่ยวกับสุนทรียภาพ( Aesthetic Form) คือความงดงามของรูปแบบ สัญลักษณไมวาจะเปน Representation หรือ Abstract ก็ตาม 2. ตองเหมาะสมกับกาลเวลายุคสมัย ควรหลีกเลี่ยงสิ่งที่เปนความนิยมชั่วคราว 3. ตองนําไปใชประโยชนหลายประการ สามารถลอกเลียนดวยวิธีตาง ๆ เชนการยอหรือขยายได


25

ประเภทของสื่อสัญลักษณ โดยแบงตามลักษณะ 1. ภาพเครื่องหมายจราจร เปนกติกาสากลที่เขาใจรวมกันทั่วไป เพื่อความปลอดภัยในการใชยานพาหนะ เครื่องหมายจราจรจะเสดงถึงสัญลักษณการใชรถใชถนนในลักษณะตาง ๆ กัน การออกแบบจะเนนความ ชัดเจนของการสื่อความหมาย เขาใจงายและสีสันสะดุดตา

2. ภาพเครื่องหมายสถาบัน สมาคมและกลุมตาง ๆ ซึ่งกําหนดรูปแบบเพื่อแทนหรือเปนสัญลักษณของ หนวยงานนัน้ ๆ

3. ภาพเครื่องหมายบริษัท สินคา หรือผลิตภัณฑ เพื่อเปนการสรางความเชื่อมั่น กระตุนความนาสนใจใน บริษัทการคาหรือผลิตภัณฑตาง ๆ


26

4.ภาพเครื่องหมายสถานที่ เปนเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณสถานทีต่ าง ๆ ที่แสดงใหเขาใจรวมกันไดโดย ไมตองใชตัวหนังสือหรือขอความ

5.ภาพเครื่องหมายกิจกรรมตาง ๆ เชน การกีฬา การกอสราง

6. เครื่องหมายที่ใชในการออกแบบ เขียนแบบ เปนเครื่องหมายภาพที่ใชในการสื่อความหมายรวมกัน ระหวางผูออกแบบเขียนแบบแปลน และผูอานแบบหรือบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวของ


27

แนวคิดในการออกแบบ ในการออกแบบสัญลักษณ ควรยึดหลักกวาง ๆ เพื่อเปนแนวคิด ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับความงาม 2. แนวคิดเกี่ยวกับความหมาย 3. แนวคิดในการสรางความเดนนาสนใจ 4. ความเหมาะสมในการออกแบบและใชงาน

วิธีการออกแบบสัญลักษณ สัญลักษณในทุกลักษณะที่ทําการออกแบบ ควรพิจารณาใหชัดเจนกอนวางานออกแบบนัน้ มีจุดประสงค อยางไร ทั้งนี้เพื่อใหผลงานออกแบบสามารถสื่อความหมายใหผูอื่นเขาใจไดโดยงายมีความชัดเจน สามารถ ดึงดูดความสนใจไดดี ภาพเครื่องหมายสามารถนําไปใชงานไดหลายลักษณะมีรูปแบบที่นาเชื่อถือ เกิดความ เชื่อมั่นยอมรับและ ความเปนเอกลักษณ

ขั้นตอนในการออกแบบ 1. ศึกษารวบรวมขอมูลเบื้องตนเพื่อเปนแนวคิดในการออกแบบ 2. กําหนดแนวคิดหลักโดยใชขอมูลเบื้องตนเปนบรรทัดฐาน 3. เลือกหาสิ่งดลใจในการออกแบบ อาจจะเปนรูปทรงทางเรขาคณิต รูปทรงอิสระ หรืออื่น ๆ 4. กําหนดรูปรางภายนอก 5. รางภาพเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมโดยรางไวหลาย ๆ แบบ 6. ลดทอนรายละเอียด 7. รางแบบเขียนสี 8.เขียนแบบจริง http://pioneer.chula.ac.th/~schutcha/graphic/Gtext02.htm


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.